SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4
2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9
2. นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
sherlock holmes
ประเภทโครงงาน ให้ความรู้เชิงบันเทิง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4
2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จะมีเด็กชายสักกี่รายที่ไม่หลงรักการผจญภัย และจะสักกี่คนที่ไม่เคยใฝ่ใจไปกับการเป็นนักสืบ และหนึ่งในตัวละคร
ต้นแบบของนิยายทานองนี้คือ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ชอร์ล็อค โฮล์มส์ เป็นปรากฏการณ์ใหม่ของเกาะอังกฤษ ค.ศ. 1887
ก่อนข้ามน้าข้าทะเลสู่ภาคภาษาไทยในปี พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) และการปรากฏตัวของมันอีกครั้งที่แพรวสานักพิมพ์
นามาพิมพ์ใหม่ในปี 2552 ก็น่าสนใจในแง่ยอดขาย เพราะเพียงเจ็ดหรือแปดปีพิมพ์ซ้าไปหลายสิบยี่สิบครั้ง โดยเฉพาะ
เล่มแรก เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท พิมพ์ซ้าเป็นครั้งที่ 31 เข้าไปแล้ว ทั้งที่กินเวลาไม่ถึงสิบปี นี่ยังไม่นับ
สานวนอื่นๆ ของสานักพิมพ์อื่นๆ ที่มีการจัดพิมพ์นิยายนักสืบเจ้านี่เช่นกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาประวัติของเชอร์ล็อก โฮมส์ และผู้แต่ง
2.เพื่อศึกษาผลงานหนังสือของเชอร์ล็อก โฮมส์
3.เพื่อศึกษาคุณค่าผลงานของเชอร์ล็อก โฮมส์
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การศึกษาดังกล่าวเป็นเพียงการศึกษาเกี่ยวกับเชอร์ล็อก โฮมส์
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
นวนิยายชื่อดังจากฝั่งยุโรป ที่ได้การยอมรับไปทั่วโลก โดยทั่วไปอาจไม่มีใครรู้จักแต่หากพูดถึง "ยอดนักสืบรุ่นจิ๋ว
โคนัน" หลายคนคงจะนึกออกทันที เพราะ เชอร์ล็อก โฮลม์ เปรียบเสมือน ไอดอลของโคนันเลย ชื่อของ โคนัน เองก็
ได้มาจากผู้แต่ง ก็คือ เซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นั้นเอง อันแน่~~ เริ่มสนใจชายยอดนักสืบคนนี้แล้วรึยังละ วันนี้ทาง
เราก็มีประวัติ และสิ่งที่น่าสนใจของชายผู้นี้ด้วย เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ( Sherlock Holmes) เป็นนวนิยายสืบสวนหรือ
รหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสก็อต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19
ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮล์มส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้าน
ทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลาย
คดีต่าง ๆ
โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่องเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็น
การบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮล์มส์ คือ ดร. จอห์น เอช. วัตสัน หรือ หมอวัตสัน ในจานวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮล์มส์เป็น
ผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี
ค.ศ. 1887 และ Lippincott's Monthly Magazine ในปี ค.ศ. 1890 แต่หลังจากที่ชุดเรื่องสั้นลงพิมพ์เป็นคอลัมน์
ประจาใน นิตยสารสแตรนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1891 นิยายเรื่องนี้ก็โด่งดังเป็นพลุ เหตุการณ์ในนิยายอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1878
ถึง ค.ศ. 1903 และคดีสุดท้ายเกิดในปี ค.ศ. 1914
ความโด่งดังของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ทาให้ผู้อ่านจานวนมากเชื่อว่าเขามีตัวตนจริงและพากันเขียนจดหมายไปหา
มีพิพิธภัณฑ์เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตั้งขึ้นในตาแหน่งที่น่าจะเป็นบ้านในนวนิยายของเขาในกรุงลอนดอน นับเป็นพิพิธภัณฑ์
แห่งแรกที่สร้างขึ้นสาหรับตัวละครในนิยาย เรื่องราวของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ มีการนาไปดัดแปลงและแต่งเพิ่มเติมขึ้น
ใหม่อีกโดยนักเขียนคนอื่น ทั้งที่เขียนร่วมกับทายาทของโคนัน ดอยล์ และเขียนขึ้นใหม่เป็นเอกเทศ บทประพันธ์ของ
โคนัน ดอยล์ และนวนิยายที่แต่งขึ้นใหม่ ได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ และสื่ออื่นๆ อีก
มากมายนับไม่ถ้วน กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่า เชอร์ล็อก โฮล์มส์เป็น "ตัวละครที่มีผู้แสดงมากที่สุด"
ภาพลักษณ์ของโฮล์มส์กลายเป็นสัญลักษณ์ของนักสืบ และส่งอิทธิพลต่อวรรณกรรมและการแสดงในประเภทรหัสคดี
จานวนมาก
นิสัยและความสามารถ
โฮล์มส์มีอารมณ์แปลก ๆ บางครั้งก็เศร้าซึม พูดน้อย บางครั้งก็ร่าเริง หมอวัตสัน เพื่อนคู่หูของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ได้
บรรยายถึงลักษณะต่าง ๆ ของโฮล์มส์เอาไว้ในบันทึกคดีคราวต่าง ๆ กัน เช่น ในเวลาที่กาลังครุ่นคิดเรื่องคดี โฮล์มส์จะ
ไม่ทานข้าวเช้า โฮล์มส์ชอบทาการทดลองเคมี แล้วทิ้งข้าวของในห้องกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ โฮล์มส์สูบไปป์จัด
มาก มักกลั่นแกล้งตารวจโดยการให้ข้อมูลปลอมหรือปกปิดหลักฐานบางอย่าง แต่ก็มีความเป็นสุภาพบุรุษและให้
เกียรติแก่สตรีอย่างสูง แต่นิสัยที่หมอวัตสันเห็นว่าเลวร้ายและยอมรับไม่ได้เลย คือ การที่โฮล์มส์ชอบเสพโคเคนกับ
มอร์ฟีน ซึ่งวัตสันเห็นว่าเป็นความชั่วประการเดียวของโฮล์มส์
4
โฮล์มส์ยังเป็นนักแสดงที่เก่งกาจ ดังปรากฏในตอน ซ้อนกล (the Dying Detective) และ จดหมายนัดพบ (the
Reigate Squires) และตอนอื่น ๆ อีกหลายตอน เพื่อหันเหความสนใจของผู้ต้องสงสัย มิให้ตระหนักถึงความสาคัญ
ของหลักฐานบางอย่าง ในตอน สัญญานาวี (the Naval Treaty) โฮล์มส์ได้แสดงให้เห็นว่าเขาชื่นชมนักอาชญวิทยา
ชาวฝรั่งเศส อัลฟองเซ เบอทิลลอง ผู้คิดค้นทฤษฎีการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุเพื่อช่วยระบุตัวตนของอาชญา
กร นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า โฮล์มส์เป็นนักอ่าน นักศึกษา มีความรู้ด้านอาชญวิทยาอย่าง
กว้างขวาง และให้ความนิยมนับถือบรรดานักสืบผู้ชานาญเป็นอย่างมาก
แม้โฮล์มส์จะชอบกลั่นแกล้งตารวจ แต่เขาก็เป็นมิตรที่ดีของสก๊อตแลนด์ยาร์ดโดยเฉพาะสารวัตรเลสเตรด และมักยก
ความดีความชอบในคดีให้แก่ฝ่ายตารวจอยู่เสมอ ในตอน สัญญานาวี โฮล์มส์เคยบอกว่า ในบรรดาคดีที่เขาสะสาง 53
คดี เขายกความสาเร็จให้เพื่อนตารวจไปเสีย 49 คดี คงมีแต่เพียงหมอวัตสันที่บรรยายถึงความสามารถของเขาผ่าน
ทางบันทึกเท่านั้น
โฮล์มส์มีความสามารถในการวิเคราะห์หลักฐานทางกายภาพอย่างถูกต้องแม่นยา กระบวนการตรวจสอบหลักฐานของ
เขามีหลายกรรมวิธี เช่น การเก็บรอยรองเท้า รอยเท้าสัตว์ หรือรอยล้อรถจักรยาน เพื่อวิเคราะห์การกระทาใด ๆ ที่
อาจเกิดขึ้นในระหว่างการเกิดอาชญากรรม หรือการวิเคราะห์ประเภทของยาสูบเพื่อระบุตัวตนของอาชญากร โฮล์มส์
เคยตรวจสอบร่องรอยผงดินปืน และเปรียบเทียบกระสุนที่พบในที่เกิดเหตุ ทาให้แยกแยะได้ว่าฆาตกรมีสอง
คน นอกจากนี้ โฮล์มส์ยังเป็นคนแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการตรวจสอบลายนิ้วมืออีกด้วย
โฮล์มส์มีศัตรูตัวฉกาจ ชื่อ ศาสตราจารย์เจมส์ มอริอาร์ตี้ ผู้มีมันสมองปราดเปรื่องในด้านอาชญากรรม อีกทั้งยังเป็น
ตัวการเบื้องหลังในบางคดีที่เกิดขึ้นอีกด้วย คาพูดของโฮล์มส์ที่ติดปากกันดี คือ “ถ้าเราตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทั้งหมด
ออกไป สิ่งที่เหลืออยู่ ไม่ว่ามันจะดูเหลือเชื่อเพียงใด แต่มันก็เป็นความจริง”
ถิ่นที่อยู่อาศัย
ตามท้องเรื่อง โฮล์มส์และหมอวัตสันรู้จักกันครั้งแรก เนื่องจากต่างต้องการหาผู้ร่วมเช่าห้องพักอยู่ด้วยกันในกรุง
ลอนดอนเพื่อลดค่าใช้จ่าย ห้องพักที่ทั้งสองเช่าเป็นบ้านของมิสซิสฮัดสัน ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 221 บี ถนนเบเกอร์ โดย
พวกเขาเช่าพื้นที่ชั้นสองของบ้าน ส่วนมิสซิสฮัดสันอาศัยอยู่ชั้นล่าง และทาหน้าที่จัดเตรียมอาหารเช้าให้พวกเขาด้วย
หมอวัตสันเคยย้ายออกจากบ้านเช่านี้ไปเมื่อคราวแต่งงาน ทว่าหลังจากภรรยาเสียชีวิต หมอวัตสันก็ย้ายกลับมาอยู่กับ
เชอร์ล็อก โฮล์มส์อีก
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ข้อมูลเพื่อนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- แผ่นซีดี
- หล่องใส่แผ่นซีดี
งบประมาณ
- ค่าแผ่นซีดีและกล่องใส่แผ่นซีดีราคารวมกัน 20 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พันกรณ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พันกรณ์
พงศภัค
3 จัดทาโครงร่างงาน พงศภัค
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พงศภัค
พันกรณ์
5 ปรับปรุงทดสอบ พันกรณ์
6 การทาเอกสารรายงาน พงศภัค
7 ประเมินผลงาน พันกรณ์
8 นาเสนอโครงงาน พงศภัค
พันกรณ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ได้ทราบที่มาและประวัติของเชอร์ล็อกโฮมส์
- ได้ทราบวข้อมูลหนังสือของเชอร์ล็อกโฮมส์
- สาทารถเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่เริ่มจะเขียนหนังสือ
6
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
- ห้องคอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง
ttps://sites.google.com/site/heatheartsiteforyou/home/tanan-yxd-naksub

More Related Content

Similar to โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์

2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆice1818
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีBam Hattamanee
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษGankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Arpaporm Homnan
 

Similar to โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์ (9)

2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์นาจาจุ๊บๆ
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสี
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Paphatsara Rueancome

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Paphatsara Rueancome
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2Paphatsara Rueancome
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศPaphatsara Rueancome
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์Paphatsara Rueancome
 

More from Paphatsara Rueancome (13)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Tb ม6 60
Tb ม6 60Tb ม6 60
Tb ม6 60
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
ฉบับเต็ม
ฉบับเต็มฉบับเต็ม
ฉบับเต็ม
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1
 

โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4 2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 2. นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) sherlock holmes ประเภทโครงงาน ให้ความรู้เชิงบันเทิง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4 2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จะมีเด็กชายสักกี่รายที่ไม่หลงรักการผจญภัย และจะสักกี่คนที่ไม่เคยใฝ่ใจไปกับการเป็นนักสืบ และหนึ่งในตัวละคร ต้นแบบของนิยายทานองนี้คือ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ชอร์ล็อค โฮล์มส์ เป็นปรากฏการณ์ใหม่ของเกาะอังกฤษ ค.ศ. 1887 ก่อนข้ามน้าข้าทะเลสู่ภาคภาษาไทยในปี พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) และการปรากฏตัวของมันอีกครั้งที่แพรวสานักพิมพ์ นามาพิมพ์ใหม่ในปี 2552 ก็น่าสนใจในแง่ยอดขาย เพราะเพียงเจ็ดหรือแปดปีพิมพ์ซ้าไปหลายสิบยี่สิบครั้ง โดยเฉพาะ เล่มแรก เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท พิมพ์ซ้าเป็นครั้งที่ 31 เข้าไปแล้ว ทั้งที่กินเวลาไม่ถึงสิบปี นี่ยังไม่นับ สานวนอื่นๆ ของสานักพิมพ์อื่นๆ ที่มีการจัดพิมพ์นิยายนักสืบเจ้านี่เช่นกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาประวัติของเชอร์ล็อก โฮมส์ และผู้แต่ง 2.เพื่อศึกษาผลงานหนังสือของเชอร์ล็อก โฮมส์ 3.เพื่อศึกษาคุณค่าผลงานของเชอร์ล็อก โฮมส์
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การศึกษาดังกล่าวเป็นเพียงการศึกษาเกี่ยวกับเชอร์ล็อก โฮมส์ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) นวนิยายชื่อดังจากฝั่งยุโรป ที่ได้การยอมรับไปทั่วโลก โดยทั่วไปอาจไม่มีใครรู้จักแต่หากพูดถึง "ยอดนักสืบรุ่นจิ๋ว โคนัน" หลายคนคงจะนึกออกทันที เพราะ เชอร์ล็อก โฮลม์ เปรียบเสมือน ไอดอลของโคนันเลย ชื่อของ โคนัน เองก็ ได้มาจากผู้แต่ง ก็คือ เซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นั้นเอง อันแน่~~ เริ่มสนใจชายยอดนักสืบคนนี้แล้วรึยังละ วันนี้ทาง เราก็มีประวัติ และสิ่งที่น่าสนใจของชายผู้นี้ด้วย เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ( Sherlock Holmes) เป็นนวนิยายสืบสวนหรือ รหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสก็อต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮล์มส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้าน ทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลาย คดีต่าง ๆ โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่องเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็น การบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮล์มส์ คือ ดร. จอห์น เอช. วัตสัน หรือ หมอวัตสัน ในจานวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮล์มส์เป็น ผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี ค.ศ. 1887 และ Lippincott's Monthly Magazine ในปี ค.ศ. 1890 แต่หลังจากที่ชุดเรื่องสั้นลงพิมพ์เป็นคอลัมน์ ประจาใน นิตยสารสแตรนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1891 นิยายเรื่องนี้ก็โด่งดังเป็นพลุ เหตุการณ์ในนิยายอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1878 ถึง ค.ศ. 1903 และคดีสุดท้ายเกิดในปี ค.ศ. 1914 ความโด่งดังของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ทาให้ผู้อ่านจานวนมากเชื่อว่าเขามีตัวตนจริงและพากันเขียนจดหมายไปหา มีพิพิธภัณฑ์เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตั้งขึ้นในตาแหน่งที่น่าจะเป็นบ้านในนวนิยายของเขาในกรุงลอนดอน นับเป็นพิพิธภัณฑ์ แห่งแรกที่สร้างขึ้นสาหรับตัวละครในนิยาย เรื่องราวของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ มีการนาไปดัดแปลงและแต่งเพิ่มเติมขึ้น ใหม่อีกโดยนักเขียนคนอื่น ทั้งที่เขียนร่วมกับทายาทของโคนัน ดอยล์ และเขียนขึ้นใหม่เป็นเอกเทศ บทประพันธ์ของ โคนัน ดอยล์ และนวนิยายที่แต่งขึ้นใหม่ ได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ และสื่ออื่นๆ อีก มากมายนับไม่ถ้วน กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่า เชอร์ล็อก โฮล์มส์เป็น "ตัวละครที่มีผู้แสดงมากที่สุด" ภาพลักษณ์ของโฮล์มส์กลายเป็นสัญลักษณ์ของนักสืบ และส่งอิทธิพลต่อวรรณกรรมและการแสดงในประเภทรหัสคดี จานวนมาก นิสัยและความสามารถ โฮล์มส์มีอารมณ์แปลก ๆ บางครั้งก็เศร้าซึม พูดน้อย บางครั้งก็ร่าเริง หมอวัตสัน เพื่อนคู่หูของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ได้ บรรยายถึงลักษณะต่าง ๆ ของโฮล์มส์เอาไว้ในบันทึกคดีคราวต่าง ๆ กัน เช่น ในเวลาที่กาลังครุ่นคิดเรื่องคดี โฮล์มส์จะ ไม่ทานข้าวเช้า โฮล์มส์ชอบทาการทดลองเคมี แล้วทิ้งข้าวของในห้องกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ โฮล์มส์สูบไปป์จัด มาก มักกลั่นแกล้งตารวจโดยการให้ข้อมูลปลอมหรือปกปิดหลักฐานบางอย่าง แต่ก็มีความเป็นสุภาพบุรุษและให้ เกียรติแก่สตรีอย่างสูง แต่นิสัยที่หมอวัตสันเห็นว่าเลวร้ายและยอมรับไม่ได้เลย คือ การที่โฮล์มส์ชอบเสพโคเคนกับ มอร์ฟีน ซึ่งวัตสันเห็นว่าเป็นความชั่วประการเดียวของโฮล์มส์
  • 4. 4 โฮล์มส์ยังเป็นนักแสดงที่เก่งกาจ ดังปรากฏในตอน ซ้อนกล (the Dying Detective) และ จดหมายนัดพบ (the Reigate Squires) และตอนอื่น ๆ อีกหลายตอน เพื่อหันเหความสนใจของผู้ต้องสงสัย มิให้ตระหนักถึงความสาคัญ ของหลักฐานบางอย่าง ในตอน สัญญานาวี (the Naval Treaty) โฮล์มส์ได้แสดงให้เห็นว่าเขาชื่นชมนักอาชญวิทยา ชาวฝรั่งเศส อัลฟองเซ เบอทิลลอง ผู้คิดค้นทฤษฎีการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุเพื่อช่วยระบุตัวตนของอาชญา กร นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า โฮล์มส์เป็นนักอ่าน นักศึกษา มีความรู้ด้านอาชญวิทยาอย่าง กว้างขวาง และให้ความนิยมนับถือบรรดานักสืบผู้ชานาญเป็นอย่างมาก แม้โฮล์มส์จะชอบกลั่นแกล้งตารวจ แต่เขาก็เป็นมิตรที่ดีของสก๊อตแลนด์ยาร์ดโดยเฉพาะสารวัตรเลสเตรด และมักยก ความดีความชอบในคดีให้แก่ฝ่ายตารวจอยู่เสมอ ในตอน สัญญานาวี โฮล์มส์เคยบอกว่า ในบรรดาคดีที่เขาสะสาง 53 คดี เขายกความสาเร็จให้เพื่อนตารวจไปเสีย 49 คดี คงมีแต่เพียงหมอวัตสันที่บรรยายถึงความสามารถของเขาผ่าน ทางบันทึกเท่านั้น โฮล์มส์มีความสามารถในการวิเคราะห์หลักฐานทางกายภาพอย่างถูกต้องแม่นยา กระบวนการตรวจสอบหลักฐานของ เขามีหลายกรรมวิธี เช่น การเก็บรอยรองเท้า รอยเท้าสัตว์ หรือรอยล้อรถจักรยาน เพื่อวิเคราะห์การกระทาใด ๆ ที่ อาจเกิดขึ้นในระหว่างการเกิดอาชญากรรม หรือการวิเคราะห์ประเภทของยาสูบเพื่อระบุตัวตนของอาชญากร โฮล์มส์ เคยตรวจสอบร่องรอยผงดินปืน และเปรียบเทียบกระสุนที่พบในที่เกิดเหตุ ทาให้แยกแยะได้ว่าฆาตกรมีสอง คน นอกจากนี้ โฮล์มส์ยังเป็นคนแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการตรวจสอบลายนิ้วมืออีกด้วย โฮล์มส์มีศัตรูตัวฉกาจ ชื่อ ศาสตราจารย์เจมส์ มอริอาร์ตี้ ผู้มีมันสมองปราดเปรื่องในด้านอาชญากรรม อีกทั้งยังเป็น ตัวการเบื้องหลังในบางคดีที่เกิดขึ้นอีกด้วย คาพูดของโฮล์มส์ที่ติดปากกันดี คือ “ถ้าเราตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทั้งหมด ออกไป สิ่งที่เหลืออยู่ ไม่ว่ามันจะดูเหลือเชื่อเพียงใด แต่มันก็เป็นความจริง” ถิ่นที่อยู่อาศัย ตามท้องเรื่อง โฮล์มส์และหมอวัตสันรู้จักกันครั้งแรก เนื่องจากต่างต้องการหาผู้ร่วมเช่าห้องพักอยู่ด้วยกันในกรุง ลอนดอนเพื่อลดค่าใช้จ่าย ห้องพักที่ทั้งสองเช่าเป็นบ้านของมิสซิสฮัดสัน ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 221 บี ถนนเบเกอร์ โดย พวกเขาเช่าพื้นที่ชั้นสองของบ้าน ส่วนมิสซิสฮัดสันอาศัยอยู่ชั้นล่าง และทาหน้าที่จัดเตรียมอาหารเช้าให้พวกเขาด้วย หมอวัตสันเคยย้ายออกจากบ้านเช่านี้ไปเมื่อคราวแต่งงาน ทว่าหลังจากภรรยาเสียชีวิต หมอวัตสันก็ย้ายกลับมาอยู่กับ เชอร์ล็อก โฮล์มส์อีก
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ข้อมูลเพื่อนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - แผ่นซีดี - หล่องใส่แผ่นซีดี งบประมาณ - ค่าแผ่นซีดีและกล่องใส่แผ่นซีดีราคารวมกัน 20 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พันกรณ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พันกรณ์ พงศภัค 3 จัดทาโครงร่างงาน พงศภัค 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พงศภัค พันกรณ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ พันกรณ์ 6 การทาเอกสารรายงาน พงศภัค 7 ประเมินผลงาน พันกรณ์ 8 นาเสนอโครงงาน พงศภัค พันกรณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ได้ทราบที่มาและประวัติของเชอร์ล็อกโฮมส์ - ได้ทราบวข้อมูลหนังสือของเชอร์ล็อกโฮมส์ - สาทารถเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่เริ่มจะเขียนหนังสือ