SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การปล่อยดาวเทียมเพื่อขยายสัญญาณ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ เลขที่ 20ชั้น ม.6/7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ เลขที่ 20
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การปล่อยดาวเทียมเพื่อขยายใช้ประโยขน์ด้านต่างๆ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Satellite launch to take advantage
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรายุทธ พรหมรัตน์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันโลกของเราก้าวหน้าเป็นอย่างมาก เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เราสามารถพบได้ทั่วไปในชีวิตประจาวัน ซึ่ง
เทคโนโลยีในด้านการติดต่อสื่อสารนั้นได้พัฒนาขึ้นเป็นอย่างมากและกลายเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างมากในชีวิตของเรา
โดยปัจจุบันการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศนั้นสามารถทาได้ง่ายขึ้นโดยเกิดจากการที่มีดาวเทียมที่โคจรบนอวกาศ
มากขึ้น ซึ่งเกิดจากการพัฒนาระบบการโทรคมนาคมของบริษัทชั้นนาระดับโลกเพื่อขยายพื้นที่การใช้งานได้ครอบคลุม
มากขึ้นในประเทศต่างๆทั่วโลก เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้คนที่ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก การพัฒนาดาวเทียมเพื่อใช้
ประโยชน์นั้นมีความสาคัญต่อมนุษย์เราเป็นอย่างมาก ทาให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆของมนุษย์มากขึ้น ช่วยในการ
ติดต่อสารต่างๆ ทั้งทางบก ทางน้า ทางอากาศการให้ความบันเทิงต่างๆ ด้านวิทยุสื่อสาร วิทยุโทรทัศน์การส่งข่าวสาร
ถึงกันและกันเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว ด้านชีวิตประจาวันในการพยากรณ์สภาพอากาศในแต่ละวัน ด้านการ
ปฏิบัติงานในอวกาศ ดาวเทียมมีบทบาทในการสื่อสารระหว่างดาวเทียม และยานอวกาศเพื่อให้การบริการด้านการ
ปฏิบัติงานในอวกาศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ทางผู้จัดทาจึงศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการปล่อยดาวเทียมเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เพื่อเป็นการสร้าง
ความรู้แก่ผู้ที่ศึกษาและสนใจในดาวเทียมได้เข้าใจและเล็งเห็นถึงประโยชน์ของดาวเทียมมากขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปล่อยดาวเทียมเพื่อใช้ประโยชน์
2. เพื่อนาความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ที่อื่นได้
3. เพื่อให้ผู้อื่นทราบถึงความสาคัญของดาวเทียม
4. เพื่อทราบถึงประเภทของดาวเทียมและประโยชน์ของดาวเทียมในด้านต่างๆ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษษปีที่ 1-6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การส่งดาวเทียมออกนอกโลก อาศัยกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มนุษย์ได้ศึกษาจนพบความจริง เช่น กฎของนิวตัน เช่น
กฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ (Law of motion) และกฎแห่งความโน้มถ่วง (Low of gravitational)
การที่จะส่งดาวเทียมขึ้นไปได้จะต้องมีความเร็วที่พอเหมาะ คือ ความเร็ว 5 ไมล์ต่อวินาที หรือ
18,000 ไมล์ต่อชั่วโมง วัตถุก็จะเคลื่อนที่เป็นวงกลม และวัตถุจะไม่มีโอกาสตกถึงพื้นดินอีกเลย และจะเคลื่อนที่
อยู่ในความสูงประมาณ 200-300 กิโลเมตร หรือ 124-186 ไมล์ จากพื้นผิวโลก ถ้าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่มี
ความเร็วมากกว่า 5 ไมล์ต่อวินาที จะได้วงโคจรแบบวงรีซึ่งใช้สาหรับส่งยานอวกาศไปสารวจดวงจันทร์ ถ้าหากมี
ความเร็วต้นเพิ่มขึ้นถึง7ไมล์ต่อวินาทีจะได้วงโคจรที่เรียกว่า พาราโบลา ถ้ามีความเร็วมากกว่า 7 ไมล์ต่อวินาที
วงโคจรจะเป็นแบบ ไฮเพอร์โบลา ความเร็ว 7 ไมล์ต่อวินาทีที่ทาให้วัตถุหลุดออกไปจากโลก เรียกว่า ความเร็ว
หลุดพ้น (Escape velocity)
ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้เพราะมีแรง 2 แรงที่สมดุลกันพอดี คือ ในขณะที่ดาวเทียมเคลื่อนที่เป็น
ทางโค้ง จะมีแรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) และ แรงหนีศูนย์กลาง (Centrifugal force) เกิดขึ้น
1. แรงสู่ศูนย์กลาง เป็นแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นระหว่างโลกกับดาวเทียมตามกฎแห่งความโน้มถ่วงของ
กฎนิวตัน ที่กล่าวไว้ว่า “แรงดึงดูดระหว่างวัตถุที่มีมวลสาร 2 ชิ้นจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้ง
สอง และเป็นปฏิภาคกลับกับกาลังสองของระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง”
2. แรงหนีศูนย์กลาง เกิดจากวัตถุเคลื่อนที่เป็นทางโค้งหรือเป็นวงกลม ถ้าหากดาวเทียมโคจรอยู่
ห่างจากโลกมากๆความเร็วของดาวเทียมก็จะลดลงด้วย ความเร็วที่ต้องการเพื่อให้ดาวเทียมขึ้นไปโคจรตาม
ระยะห่างที่ต้องการนั้นเรียกว่าความเร็วตามวงทางโคจร (Orbital velocity)
ดาวเทียมที่โคจรอยู่ห่างจากโลกมากเท่าไรก็จะเสียเวลาในการโคจรรอบโลกมากขึ้น เพราะความเร็ว
ของดาวเทียมลดลง และระยะทางในการโคจรเพิ่มมากขึ้น
ในการนาดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกนั้น มีหลักอยู่ 2 ประการ คือ
1.จรวดที่ใช้ดันขึ้นจะต้องนาเอาดาวเทียมไปถึงความสูงที่ต้องการ ถ้าจะส่งดาวเทียมให้มีวงทางโคจรเกือบจะเป็น
วงกลม จรวดจะต้องนอนราบขนานกับพื้นโลกถ้าจะให้วงทางโคจรเป็นรูปวงรีมากๆ จรวดจะต้องตั้งฉากกับผิว
โลก
2. ความเร็วของดาวเทียมในขณะที่ถูกปล่อยออกจากจรวดท่อนสุดท้ายต้องพอเหมาะกับระดับความสูงนั้น
ความเร็วของดาวเทียมจะต้องถูกต้องตามที่ต้องการพอดีหากมากหรือน้อยไปเพียง 2-3 ฟุตวิถีโคจรก็จะเปลี่ยนไป
ในการออกแบบวงโคจรของดาวเทียม นอกจากความสูงของวงโคจรแล้ว ยังต้องคานึงถึงทิศทางของวงโคจร
เนื่องโลกหมุนรอบตัวเอง นักวิทยาศาสตร์จะต้องคานึงถึงพื้นที่บนพื้นผิวโลกที่ต้องการให้ดาวเทียมเคลื่อนที่ผ่าน
เราสามารถจาแนกประเภทของวงโคจร ตามระยะสูงของวงโคจรได้ดังนี้
วงโคจรระยะต่า (Low Earth Orbit "LEO") อยู่สูงจากพื้นโลกไม่เกิน 1,000 กม. เหมาะสาหรับการถ่ายภาพ
รายละเอียดสูง ติดตามสังเกตการณ์อย่างใกล้ชิด แต่เนื่องจากวงโคจรประเภทนี้อยู่ใกล้พื้นผิวโลกมาก ภาพถ่ายที่
ได้จึงครอบคลุมพื้นที่เป็นบริเวณแคบ และไม่สามารถครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้นาน เนื่องจากดาวเทียม
ต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก ดาวเทียมวงโคจรต่าจึงนิยมใช้วงโคจรขั้วโลก (Polar Orbit) หรือใกล้ขั้วโลก
4
(Near Polar Orbit) ดาวเทียมจะโคจรในแนวเหนือ-ใต้ ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ดาวเทียมจึงเคลื่อนที่ผ่าน
เกือบทุกส่วนของพื้นผิวโลก
วงโคจรระยะปานกลาง (Medium Earth Orbit "MEO") อยู่ที่ระยะความสูงตั้งแต่ 1,000 กิโลเมตร จนถึง
35,000 กิโลเมตร สามารถถ่ายภาพและส่งสัญญาณวิทยุได้ครอบคลุมพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างกว่าดาวเทียมวง
โคจรต่า แต่หากต้องการสัญญาณให้ครอบคลุมทั้งโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย
และมีทิศทางของวงโคจรรอบโลกทามุมเฉียงหลายๆ ทิศทาง ดาวเทียมที่มีวงโคจรระยะปานกลางส่วนมากเป็น
ดาวเทียมนาร่อง เช่น เครือข่ายดาวเทียม GPS ประกอบด้วยดาวเทียมจานวน 24 ดวง ทางานร่วมกันดังภาพที่
3 โดยส่งสัญญาณวิทยุออกมาพร้อมๆ กัน ให้เครื่องรับที่อยู่บนพื้นผิวโลกเปรียบเทียบสัญญาณจากดาวเทียมแต่
ละดวง เพื่อคานวณหาตาแหน่งพิกัดที่ตั้งของเครื่องรับ
วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit "GEO") อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,786 กม. มีเส้นทาง
โคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลก
หมุนรอบตัวเองทาให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือพื้นผิวโลกตาแหน่งเดิมอยู่ตลอดเวลา จึงถูกเรียกว่า "ดาวเทียมวง
โคจรสถิต หรือ วงโคจรค้างฟ้า" เนื่องจากดาวเทียมวงโคจรชนิดนี้อยู่ห่างไกลจากโลกและสามารถลอยอยู่เหนือ
พื้นโลกตลอดเวลา จึงนิยมใช้สาหรับการถ่ายภาพโลกทั้งดวง เฝ้าสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ และ
ใช้ในการโทรคมนาคมข้ามทวีป อย่างไรก็ตามดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้าจะต้องลอยอยู่ที่ระดับสูง 35,786
กิโลเมตรเท่านั้น วงโคจรแบบนี้จึงมีดาวเทียมอยู่หนาแน่น และกาลังจะมีปัญหาการแย่งพื้่นที่ในอวกาศ
วงโคจรูปวงรี (Highly Elliptical Orbit "HEO") เป็นวงโคจรออกแบบสาหรับดาวเทียมที่ปฏิบัติภารกิจพิเศษ
เฉพาะกิจ เนื่องจากดาวเทียมความเร็วในวงโคจรไม่คงที่ เมื่ออยู่ใกล้โลกดาวเทียมจะเคลื่อนที่ใกล้โลกมาก และ
เคลื่อนที่ช้าลงเมื่อออกห่างจากโลกตามกฎข้อที่ 2 ของเคปเลอร์ ดาวเทียมวงโคจรรูปวงรี ส่วนมากเป็นดาวเทียม
ที่ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ศึกษาสนามแม่เหล็กโลก เนื่องจากสามารถมีระยะห่างจากโลกได้หลายระยะ
ดังภาพที่ 5 หรือเป็นดาวเทียมจารกรรมซึ่งสามารถบินโฉบเข้ามาถ่ายภาพพื้นผิวโลกด้วยระยะต่ามากและปรับ
วงโคจรได้
ช่องจังหวะการปล่อยและประเภทของดาวเทียม
ในการส่งดาวเทียม หรือคน หรือภารกิจอื่นขึ้นสู่อวกาศ นอกจากความพร้อมของยานอวกาศแล้ว วันเวลา
สถานที่ในการปล่อยยานอวกาศ หรือจรวดก็มีความสาคัญมาก จะต้องมีการคานวณเวลาสถานที่ที่จะปล่อย
รวมทั้งการพยากรณ์สภาพอากาศให้พร้อมสมบูรณ์ 100% เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เพราะ
ผิดพลาดเพียงนิดเดียวก็อาจจะเกิดหายนะใหญ่หลวงได้ ช่วงเวลาที่เหมาะสม เราเรียกว่า ช่องจังหวะการปล่อย
(Launch window) นอกจากจะปล่อยยานแล้ว รวมถึงเวลานายานกลับสู่พื้นโลกด้วย
ช่องจังหวะการปล่อยเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งยวด เพื่อความปลอดภัยในการเดินทางออกสู่อวกาศ และใน
การลงสู่พื้นโลกถ้าเกิดปัญหาทีมช่วยเหลืออาจเข้าช่วยเหลือได้ทัน ถ้าสภาพในการปล่อยยาน สภาวะแวดล้อมต่าง
ๆ ไม่สมบูรณ์ หอปฏิบัติการจาเป็นต้องสั่งยกเลิก หรือเลื่อนการปล่อยยานออกไปก่อน แล้วรอ หรือทาการแก้ไข
ส่วนที่ผิดพลาด และหาช่องจังหวะการปล่อยในโอกาสต่อไป
ในการส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรก็เช่นกัน จะต้องหาช่องจังหวะการปล่อย ให้ถูกต้องในการส่งดาวเทียมไปสู่
วงโคจร ถูกผิดพลาด การส่งไปสู่วงโคจรอาจไม่สมบูรณ์ เช่น หลุดจากวงโคจรออกสู่อวกาศ หรือตกลงสู่พื้นโลก
5
ประเภทของดาวเทียม
ดาวเทียมมีรูปร่าง และขนาดมากมายซึ่งจะเปลี่ยนไปตามการใช้งาน และความต้องการในการออกแบบ
· ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศ (Weather satellites) ช่วยในงานอุตุนิยมวิทยา (Meteorologists)
พยากรณ์อากาศ หรือคอยตรวจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบโลก ประเภทของดาวเทียมตรวจสภาพอากาศ
ประกอบด้วยดาวเทียม TIROS, COSMOS และ GOES ภายในดาวเทียมจะมีกล้องเป็นส่วนประกอบหลัก
สามารถถ่ายรูปสภาพอากาศของโลก ที่ควบคุมจากตาแหน่งสถานีภาคพื้นดิน หรือจากดาวเทียมที่วิ่งอยู่บนวิถี
โคจร
· ดาวเทียมสื่อสาร (Communications satellites) ใช้ในการสนทนาทางโทรศัพท์ และส่งข้อมูลการ
สนทนากันผ่านดาวเทียม ตัวอย่างของดาวเทียมคือ Telstar และ Intelsat ส่วนประกอบที่สาคัญของดาวเทียม
สื่อสารคือ มีเครื่องรับส่งเรดาร์หรือทรานสปอนเดอร์ (Transponder) รับสัญญาณเป็นคลื่นวิทยุ จากการสนทนา
ที่ความถี่ค่าหนึ่ง และผ่านภาคขยายสัญญาณ และส่งต่อกับไปที่โลก อีกครั้ง ในโครงข่ายความถี่อื่น ๆ ภาครับส่งท
รานสปอนเดอร์ในดาวเทียมปกติมีประมาณ 100 หรือ 1000 ที่สามารถสื่อสารในเวลาเดียวกันกับภาคพื้นดิน
· ดาวเทียมแพร่ภาพ (Broadcast satellites) แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ จากจุดหนึ่งไปสู่จุดอื่น ๆ (มี
ความคล้ายคลึงกันกับดาวเทียมสื่อสาร)
· ดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์ (Scientific satellites) ปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์ ในการทดลอง วิจัย
ตรวจจับความเป็นไปทั้งใน และนอกโลก ตัวอย่าง กล้องโทรทัศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble space telescope)
เป็นดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ทาหน้าที่ศึกษาความเป็นไป, ถ่ายภาพ อาทิเช่น การเกิดจุดดับบนดวง
อาทิตย์ (Sun spots) ถ่ายภาพกาแล็กซี่ที่อยู่ไกลโพ้น และส่งมายังสถานีภาคพื้นดินเพื่อศึกษาวิจัยต่อไป
· ดาวเทียมนาทาง (Navigational satellites) ช่วยในการนาทางเดินเรือ และเครื่องบิน
· ดาวเทียมกู้ภัย (Rescue satellites) คอยทาหน้าที่รับส่งสัญญาณวิทยุ ที่ขอความช่วยเหลือ จากเรือ
อับปาง เครื่องบินตก และอุบัติเหตุอื่น ๆ ที่ติดตั้งสัญญาณรับส่งเพื่อที่ติดต่อกับดาวเทียมกู้ภัย
· ดาวเทียมสังเกตการณ์ของโลก (Earth observation satellites) เพื่อคอยสังเกตดาวโลก ที่เราอาศัย เพื่อ
คอยตรวจการ เฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่โลก รวมไปถึงคอยสารวจจานวนของพื้นที่ป่า เฝ้าสังเกต
ธารน้าแข็งที่ขั้วโลก ดาวที่ที่รู้จักกันได้แก่ ดาวเทียมตระกูล LANDSAT
· ดาวเทียมทางทหาร (Military satellites) ใช้สังเกตสอดส่อง และเก็บข้อมูลทางฝ่ายตรงข้ามทางทหารที่
เป็นความลับ ภายในดาวเทียมได้รวบรวมความเป็นไฮเทคโนโลยี มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยที่สุดบรรจุอยู่ มีกล้อง
ถ่ายภาพคอยสอดแนม จารกรรม ในการใช้งานประกอบด้วย
- ถอดรหัสการสื่อสาร
- เฝ้าสังเกตการณ์ด้านนิวเคลียร์
- สังเกตการณ์ การเคลื่อนไหวของศัตรู
6
- เตือนถึงขีปนาวุธที่ศัตรูปล่อยออกมา
- ดักฟังการสื่อสาร
- ภาพสะท้อนเรดาร์
- ถ่ายภาพ (ใช้ซึ่งต้องมีกล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ในการถ่ายภาพพื้นที่แนวข้าศึก หรือที่น่าสนใจ
ในทางทหาร)
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1Prachyanun Nilsook
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project insecgo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 

What's hot (19)

77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
KM PULINET Nayika-150654
KM PULINET Nayika-150654KM PULINET Nayika-150654
KM PULINET Nayika-150654
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project 605-40
2562 final-project 605-402562 final-project 605-40
2562 final-project 605-40
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 

Similar to 2560 project

แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์Thanthup Zied
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์cardphone
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2793233922
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 projectmidfill69
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project folkgi
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Mook Sunita
 

Similar to 2560 project (20)

แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
 
TRAPPIST-1
TRAPPIST-1TRAPPIST-1
TRAPPIST-1
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Work1 608_11
Work1 608_11Work1 608_11
Work1 608_11
 
Start
StartStart
Start
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tamn
TamnTamn
Tamn
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Kkk
KkkKkk
Kkk
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การปล่อยดาวเทียมเพื่อขยายสัญญาณ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ เลขที่ 20ชั้น ม.6/7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ เลขที่ 20 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การปล่อยดาวเทียมเพื่อขยายใช้ประโยขน์ด้านต่างๆ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Satellite launch to take advantage ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันโลกของเราก้าวหน้าเป็นอย่างมาก เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เราสามารถพบได้ทั่วไปในชีวิตประจาวัน ซึ่ง เทคโนโลยีในด้านการติดต่อสื่อสารนั้นได้พัฒนาขึ้นเป็นอย่างมากและกลายเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างมากในชีวิตของเรา โดยปัจจุบันการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศนั้นสามารถทาได้ง่ายขึ้นโดยเกิดจากการที่มีดาวเทียมที่โคจรบนอวกาศ มากขึ้น ซึ่งเกิดจากการพัฒนาระบบการโทรคมนาคมของบริษัทชั้นนาระดับโลกเพื่อขยายพื้นที่การใช้งานได้ครอบคลุม มากขึ้นในประเทศต่างๆทั่วโลก เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้คนที่ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก การพัฒนาดาวเทียมเพื่อใช้ ประโยชน์นั้นมีความสาคัญต่อมนุษย์เราเป็นอย่างมาก ทาให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆของมนุษย์มากขึ้น ช่วยในการ ติดต่อสารต่างๆ ทั้งทางบก ทางน้า ทางอากาศการให้ความบันเทิงต่างๆ ด้านวิทยุสื่อสาร วิทยุโทรทัศน์การส่งข่าวสาร ถึงกันและกันเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว ด้านชีวิตประจาวันในการพยากรณ์สภาพอากาศในแต่ละวัน ด้านการ ปฏิบัติงานในอวกาศ ดาวเทียมมีบทบาทในการสื่อสารระหว่างดาวเทียม และยานอวกาศเพื่อให้การบริการด้านการ ปฏิบัติงานในอวกาศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทางผู้จัดทาจึงศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการปล่อยดาวเทียมเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เพื่อเป็นการสร้าง ความรู้แก่ผู้ที่ศึกษาและสนใจในดาวเทียมได้เข้าใจและเล็งเห็นถึงประโยชน์ของดาวเทียมมากขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปล่อยดาวเทียมเพื่อใช้ประโยชน์ 2. เพื่อนาความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ที่อื่นได้ 3. เพื่อให้ผู้อื่นทราบถึงความสาคัญของดาวเทียม 4. เพื่อทราบถึงประเภทของดาวเทียมและประโยชน์ของดาวเทียมในด้านต่างๆ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษษปีที่ 1-6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การส่งดาวเทียมออกนอกโลก อาศัยกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มนุษย์ได้ศึกษาจนพบความจริง เช่น กฎของนิวตัน เช่น กฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ (Law of motion) และกฎแห่งความโน้มถ่วง (Low of gravitational) การที่จะส่งดาวเทียมขึ้นไปได้จะต้องมีความเร็วที่พอเหมาะ คือ ความเร็ว 5 ไมล์ต่อวินาที หรือ 18,000 ไมล์ต่อชั่วโมง วัตถุก็จะเคลื่อนที่เป็นวงกลม และวัตถุจะไม่มีโอกาสตกถึงพื้นดินอีกเลย และจะเคลื่อนที่ อยู่ในความสูงประมาณ 200-300 กิโลเมตร หรือ 124-186 ไมล์ จากพื้นผิวโลก ถ้าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่มี ความเร็วมากกว่า 5 ไมล์ต่อวินาที จะได้วงโคจรแบบวงรีซึ่งใช้สาหรับส่งยานอวกาศไปสารวจดวงจันทร์ ถ้าหากมี ความเร็วต้นเพิ่มขึ้นถึง7ไมล์ต่อวินาทีจะได้วงโคจรที่เรียกว่า พาราโบลา ถ้ามีความเร็วมากกว่า 7 ไมล์ต่อวินาที วงโคจรจะเป็นแบบ ไฮเพอร์โบลา ความเร็ว 7 ไมล์ต่อวินาทีที่ทาให้วัตถุหลุดออกไปจากโลก เรียกว่า ความเร็ว หลุดพ้น (Escape velocity) ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้เพราะมีแรง 2 แรงที่สมดุลกันพอดี คือ ในขณะที่ดาวเทียมเคลื่อนที่เป็น ทางโค้ง จะมีแรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) และ แรงหนีศูนย์กลาง (Centrifugal force) เกิดขึ้น 1. แรงสู่ศูนย์กลาง เป็นแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นระหว่างโลกกับดาวเทียมตามกฎแห่งความโน้มถ่วงของ กฎนิวตัน ที่กล่าวไว้ว่า “แรงดึงดูดระหว่างวัตถุที่มีมวลสาร 2 ชิ้นจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้ง สอง และเป็นปฏิภาคกลับกับกาลังสองของระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง” 2. แรงหนีศูนย์กลาง เกิดจากวัตถุเคลื่อนที่เป็นทางโค้งหรือเป็นวงกลม ถ้าหากดาวเทียมโคจรอยู่ ห่างจากโลกมากๆความเร็วของดาวเทียมก็จะลดลงด้วย ความเร็วที่ต้องการเพื่อให้ดาวเทียมขึ้นไปโคจรตาม ระยะห่างที่ต้องการนั้นเรียกว่าความเร็วตามวงทางโคจร (Orbital velocity) ดาวเทียมที่โคจรอยู่ห่างจากโลกมากเท่าไรก็จะเสียเวลาในการโคจรรอบโลกมากขึ้น เพราะความเร็ว ของดาวเทียมลดลง และระยะทางในการโคจรเพิ่มมากขึ้น ในการนาดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกนั้น มีหลักอยู่ 2 ประการ คือ 1.จรวดที่ใช้ดันขึ้นจะต้องนาเอาดาวเทียมไปถึงความสูงที่ต้องการ ถ้าจะส่งดาวเทียมให้มีวงทางโคจรเกือบจะเป็น วงกลม จรวดจะต้องนอนราบขนานกับพื้นโลกถ้าจะให้วงทางโคจรเป็นรูปวงรีมากๆ จรวดจะต้องตั้งฉากกับผิว โลก 2. ความเร็วของดาวเทียมในขณะที่ถูกปล่อยออกจากจรวดท่อนสุดท้ายต้องพอเหมาะกับระดับความสูงนั้น ความเร็วของดาวเทียมจะต้องถูกต้องตามที่ต้องการพอดีหากมากหรือน้อยไปเพียง 2-3 ฟุตวิถีโคจรก็จะเปลี่ยนไป ในการออกแบบวงโคจรของดาวเทียม นอกจากความสูงของวงโคจรแล้ว ยังต้องคานึงถึงทิศทางของวงโคจร เนื่องโลกหมุนรอบตัวเอง นักวิทยาศาสตร์จะต้องคานึงถึงพื้นที่บนพื้นผิวโลกที่ต้องการให้ดาวเทียมเคลื่อนที่ผ่าน เราสามารถจาแนกประเภทของวงโคจร ตามระยะสูงของวงโคจรได้ดังนี้ วงโคจรระยะต่า (Low Earth Orbit "LEO") อยู่สูงจากพื้นโลกไม่เกิน 1,000 กม. เหมาะสาหรับการถ่ายภาพ รายละเอียดสูง ติดตามสังเกตการณ์อย่างใกล้ชิด แต่เนื่องจากวงโคจรประเภทนี้อยู่ใกล้พื้นผิวโลกมาก ภาพถ่ายที่ ได้จึงครอบคลุมพื้นที่เป็นบริเวณแคบ และไม่สามารถครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้นาน เนื่องจากดาวเทียม ต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก ดาวเทียมวงโคจรต่าจึงนิยมใช้วงโคจรขั้วโลก (Polar Orbit) หรือใกล้ขั้วโลก
  • 4. 4 (Near Polar Orbit) ดาวเทียมจะโคจรในแนวเหนือ-ใต้ ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ดาวเทียมจึงเคลื่อนที่ผ่าน เกือบทุกส่วนของพื้นผิวโลก วงโคจรระยะปานกลาง (Medium Earth Orbit "MEO") อยู่ที่ระยะความสูงตั้งแต่ 1,000 กิโลเมตร จนถึง 35,000 กิโลเมตร สามารถถ่ายภาพและส่งสัญญาณวิทยุได้ครอบคลุมพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างกว่าดาวเทียมวง โคจรต่า แต่หากต้องการสัญญาณให้ครอบคลุมทั้งโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย และมีทิศทางของวงโคจรรอบโลกทามุมเฉียงหลายๆ ทิศทาง ดาวเทียมที่มีวงโคจรระยะปานกลางส่วนมากเป็น ดาวเทียมนาร่อง เช่น เครือข่ายดาวเทียม GPS ประกอบด้วยดาวเทียมจานวน 24 ดวง ทางานร่วมกันดังภาพที่ 3 โดยส่งสัญญาณวิทยุออกมาพร้อมๆ กัน ให้เครื่องรับที่อยู่บนพื้นผิวโลกเปรียบเทียบสัญญาณจากดาวเทียมแต่ ละดวง เพื่อคานวณหาตาแหน่งพิกัดที่ตั้งของเครื่องรับ วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit "GEO") อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,786 กม. มีเส้นทาง โคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลก หมุนรอบตัวเองทาให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือพื้นผิวโลกตาแหน่งเดิมอยู่ตลอดเวลา จึงถูกเรียกว่า "ดาวเทียมวง โคจรสถิต หรือ วงโคจรค้างฟ้า" เนื่องจากดาวเทียมวงโคจรชนิดนี้อยู่ห่างไกลจากโลกและสามารถลอยอยู่เหนือ พื้นโลกตลอดเวลา จึงนิยมใช้สาหรับการถ่ายภาพโลกทั้งดวง เฝ้าสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ และ ใช้ในการโทรคมนาคมข้ามทวีป อย่างไรก็ตามดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้าจะต้องลอยอยู่ที่ระดับสูง 35,786 กิโลเมตรเท่านั้น วงโคจรแบบนี้จึงมีดาวเทียมอยู่หนาแน่น และกาลังจะมีปัญหาการแย่งพื้่นที่ในอวกาศ วงโคจรูปวงรี (Highly Elliptical Orbit "HEO") เป็นวงโคจรออกแบบสาหรับดาวเทียมที่ปฏิบัติภารกิจพิเศษ เฉพาะกิจ เนื่องจากดาวเทียมความเร็วในวงโคจรไม่คงที่ เมื่ออยู่ใกล้โลกดาวเทียมจะเคลื่อนที่ใกล้โลกมาก และ เคลื่อนที่ช้าลงเมื่อออกห่างจากโลกตามกฎข้อที่ 2 ของเคปเลอร์ ดาวเทียมวงโคจรรูปวงรี ส่วนมากเป็นดาวเทียม ที่ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ศึกษาสนามแม่เหล็กโลก เนื่องจากสามารถมีระยะห่างจากโลกได้หลายระยะ ดังภาพที่ 5 หรือเป็นดาวเทียมจารกรรมซึ่งสามารถบินโฉบเข้ามาถ่ายภาพพื้นผิวโลกด้วยระยะต่ามากและปรับ วงโคจรได้ ช่องจังหวะการปล่อยและประเภทของดาวเทียม ในการส่งดาวเทียม หรือคน หรือภารกิจอื่นขึ้นสู่อวกาศ นอกจากความพร้อมของยานอวกาศแล้ว วันเวลา สถานที่ในการปล่อยยานอวกาศ หรือจรวดก็มีความสาคัญมาก จะต้องมีการคานวณเวลาสถานที่ที่จะปล่อย รวมทั้งการพยากรณ์สภาพอากาศให้พร้อมสมบูรณ์ 100% เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เพราะ ผิดพลาดเพียงนิดเดียวก็อาจจะเกิดหายนะใหญ่หลวงได้ ช่วงเวลาที่เหมาะสม เราเรียกว่า ช่องจังหวะการปล่อย (Launch window) นอกจากจะปล่อยยานแล้ว รวมถึงเวลานายานกลับสู่พื้นโลกด้วย ช่องจังหวะการปล่อยเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งยวด เพื่อความปลอดภัยในการเดินทางออกสู่อวกาศ และใน การลงสู่พื้นโลกถ้าเกิดปัญหาทีมช่วยเหลืออาจเข้าช่วยเหลือได้ทัน ถ้าสภาพในการปล่อยยาน สภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ไม่สมบูรณ์ หอปฏิบัติการจาเป็นต้องสั่งยกเลิก หรือเลื่อนการปล่อยยานออกไปก่อน แล้วรอ หรือทาการแก้ไข ส่วนที่ผิดพลาด และหาช่องจังหวะการปล่อยในโอกาสต่อไป ในการส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรก็เช่นกัน จะต้องหาช่องจังหวะการปล่อย ให้ถูกต้องในการส่งดาวเทียมไปสู่ วงโคจร ถูกผิดพลาด การส่งไปสู่วงโคจรอาจไม่สมบูรณ์ เช่น หลุดจากวงโคจรออกสู่อวกาศ หรือตกลงสู่พื้นโลก
  • 5. 5 ประเภทของดาวเทียม ดาวเทียมมีรูปร่าง และขนาดมากมายซึ่งจะเปลี่ยนไปตามการใช้งาน และความต้องการในการออกแบบ · ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศ (Weather satellites) ช่วยในงานอุตุนิยมวิทยา (Meteorologists) พยากรณ์อากาศ หรือคอยตรวจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบโลก ประเภทของดาวเทียมตรวจสภาพอากาศ ประกอบด้วยดาวเทียม TIROS, COSMOS และ GOES ภายในดาวเทียมจะมีกล้องเป็นส่วนประกอบหลัก สามารถถ่ายรูปสภาพอากาศของโลก ที่ควบคุมจากตาแหน่งสถานีภาคพื้นดิน หรือจากดาวเทียมที่วิ่งอยู่บนวิถี โคจร · ดาวเทียมสื่อสาร (Communications satellites) ใช้ในการสนทนาทางโทรศัพท์ และส่งข้อมูลการ สนทนากันผ่านดาวเทียม ตัวอย่างของดาวเทียมคือ Telstar และ Intelsat ส่วนประกอบที่สาคัญของดาวเทียม สื่อสารคือ มีเครื่องรับส่งเรดาร์หรือทรานสปอนเดอร์ (Transponder) รับสัญญาณเป็นคลื่นวิทยุ จากการสนทนา ที่ความถี่ค่าหนึ่ง และผ่านภาคขยายสัญญาณ และส่งต่อกับไปที่โลก อีกครั้ง ในโครงข่ายความถี่อื่น ๆ ภาครับส่งท รานสปอนเดอร์ในดาวเทียมปกติมีประมาณ 100 หรือ 1000 ที่สามารถสื่อสารในเวลาเดียวกันกับภาคพื้นดิน · ดาวเทียมแพร่ภาพ (Broadcast satellites) แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ จากจุดหนึ่งไปสู่จุดอื่น ๆ (มี ความคล้ายคลึงกันกับดาวเทียมสื่อสาร) · ดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์ (Scientific satellites) ปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์ ในการทดลอง วิจัย ตรวจจับความเป็นไปทั้งใน และนอกโลก ตัวอย่าง กล้องโทรทัศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble space telescope) เป็นดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ทาหน้าที่ศึกษาความเป็นไป, ถ่ายภาพ อาทิเช่น การเกิดจุดดับบนดวง อาทิตย์ (Sun spots) ถ่ายภาพกาแล็กซี่ที่อยู่ไกลโพ้น และส่งมายังสถานีภาคพื้นดินเพื่อศึกษาวิจัยต่อไป · ดาวเทียมนาทาง (Navigational satellites) ช่วยในการนาทางเดินเรือ และเครื่องบิน · ดาวเทียมกู้ภัย (Rescue satellites) คอยทาหน้าที่รับส่งสัญญาณวิทยุ ที่ขอความช่วยเหลือ จากเรือ อับปาง เครื่องบินตก และอุบัติเหตุอื่น ๆ ที่ติดตั้งสัญญาณรับส่งเพื่อที่ติดต่อกับดาวเทียมกู้ภัย · ดาวเทียมสังเกตการณ์ของโลก (Earth observation satellites) เพื่อคอยสังเกตดาวโลก ที่เราอาศัย เพื่อ คอยตรวจการ เฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่โลก รวมไปถึงคอยสารวจจานวนของพื้นที่ป่า เฝ้าสังเกต ธารน้าแข็งที่ขั้วโลก ดาวที่ที่รู้จักกันได้แก่ ดาวเทียมตระกูล LANDSAT · ดาวเทียมทางทหาร (Military satellites) ใช้สังเกตสอดส่อง และเก็บข้อมูลทางฝ่ายตรงข้ามทางทหารที่ เป็นความลับ ภายในดาวเทียมได้รวบรวมความเป็นไฮเทคโนโลยี มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยที่สุดบรรจุอยู่ มีกล้อง ถ่ายภาพคอยสอดแนม จารกรรม ในการใช้งานประกอบด้วย - ถอดรหัสการสื่อสาร - เฝ้าสังเกตการณ์ด้านนิวเคลียร์ - สังเกตการณ์ การเคลื่อนไหวของศัตรู
  • 6. 6 - เตือนถึงขีปนาวุธที่ศัตรูปล่อยออกมา - ดักฟังการสื่อสาร - ภาพสะท้อนเรดาร์ - ถ่ายภาพ (ใช้ซึ่งต้องมีกล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ในการถ่ายภาพพื้นที่แนวข้าศึก หรือที่น่าสนใจ ในทางทหาร) วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________