SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
นิทานเวตาล 
ผู้แต่ง กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ (น.ม.ส) 
ลักษณะคาประพันธ์ ร้อยแก้ว 
วัตถุประสงค์ เพื่อเล่านิทาน 
ที่มาของเรื่อง 
นิทานเวตาล (สันสกฤต: वेतालपञ्चवविंशतत เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล ๒๕ เรื่อง) เป็นวรรณคดีอินเดียโบราณที่แต่งเป็นภาษาสันสกฤต ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกัน ต่อมากว่า ๒,๕๐๐ ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่าง พระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนาเข้าไปสู่นิทาน ย่อยต่างๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม ๒๕ เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง 
เนื้อเรื่องย่อ 
พระวิกรมาทิตย์หรือพระวิกรมเสน กษัตริย์ในตานานของอินเดียโบราณ ได้รับปากกับโยคีชื่อ "ศานติศีล" จะไปนาตัวเวตาล อมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายศพมนุษย์ผสมค้างคาว ซึ่งห้อยหัวอยู่กับต้นอโศก มาให้แก่ฤๅษี เพื่อใช้ในพิธีบูชาเจ้าแม่กาลี โดยมีพระธรรมธวัชผู้เป็นโอรสติดตามไปด้วย เมื่อพระองค์จับตัวเวตาลได้แล้ว เวตาลก็จะพยายามยั่วให้พระวิกรมาทิตย์ตรัสออกมาอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่เสมอ โดยการการเล่านิทานอุทาหรณ์ ต่างๆ แล้วให้พระวิกรมาทิตย์ตัดสินเรื่องราวในนิทานเหล่านั้น ด้วยขัตติยะมานะของกษัตริย์ทาให้ พระวิกรมาทิตย์อดไม่ได้ที่จะตรัสพระราชวิจารณ์เกี่ยวเรื่องราวในนิทานอยู่เสมอ ผลก็คือเวตาลได้ลอยกลับไป อยู่ที่ต้นอโศกอันเป็นที่อยู่ของตน ทาให้พระวิกรมาทิตย์จาต้องกลับไปจับเอาเวตาลกลับมาใหม่ทุกครั้ง เป็นเช่นนี้อยู่ถึง ๒๔ ครั้ง ในครั้งที่ ๒๕ พระธรรมธวัชได้สะกิดเตือนมิให้พระวิกรมาทิตย์ตรัสคาใดๆ ออกมา พระวิกรมาทิตย์ก็ระงับใจไม่เอื้อนพระโอษฐ์ตรัสพระกระแสใดๆ ออกมา เวตาลจึงยอมให้พระองค์พาตนไปให้ โยคีศานติศีลนั้นได้ 
ท้ายเรื่องของนิทานเวตาลมีอยู่ว่า ระหว่างทางที่พระวิกรมาทิตย์พาเวตาลไปหาโยคีนั้นเอง เวตาลก็ได้ เปิดเผยว่าแท้จริงแล้วโยคีศานติศีลมีความแค้นกับพระวิกรมาทิตย์อยู่ ซึ่งเป็นความแค้นที่ก่อโดยพระบิดาของ พระวิกรมาทิตย์ จึงหวังที่จะปลงชนม์ของพระองค์เสีย พร้อมกันนี้เวตาลก็แนะนาให้พระองค์ทาเป็นเชื่อฟัง
คาของโยคีนั้นแล้วหาทางฆ่าเสีย พระวิกรมาทิตย์ก็ได้ทาตามคาแนะนาดังกล่าว และรอดพ้นจากการทาร้ายของ โยคีนั้นได้ 
ในหนังสือนิทานเวตาล พระนิพนธ์ กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ นี้มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง ดังนี้ 
เรื่องที่ ๑ เรื่องของเจ้าชายวัชรมกุฏ กับพระสหายชื่อ พุทธิศรีระ 
เรื่องที่ ๒ เรื่องของนางมันทารวดี กับ พราหมณ์หนุ่ม ๓ คน 
เรื่องที่ ๓ เรื่องของนกแก้วชื่อ วิทัคธจูฑามณี ของพระเจ้าวิกรมเกศริน กับนกขุนทองชื่อ โสมิกา ของเจ้าหญิง จันทรประภา 
เรื่องที่ ๔ เรื่องของพระเจ้าศูทรกะ กับพราหมณ์ผู้ซื่อสัตย์ชื่อ วีรวร 
เรื่องที่ ๕ เรื่องของนางโสมประภา กับการเลือกคู่ครอง 
เรื่องที่ ๖ เรื่องของวันฉลองพระแม่เคารี 
เรื่องที่ ๗ เรื่องของพระเจ้าจัณฑสิงห์ กับสัตตวศีล ผู้ซื่อสัตย์ 
เรื่องที่ ๘ เรื่องของบุตรทั้ง ๓ ของพราหมณ์วิษณุสวามิน 
เรื่องที่ ๙ เรื่องของการเลือกคู่ของเจ้าหญิงอนงครตี 
เรื่องที่ ๑๐ เรื่องของนางมัทนเสนา ผู้ซื่อสัตย์ 
การวิเคราะห์คุณค่าจากเรื่องนิทานเวตาล 
นิทานเวตาลมีคุณค่า ๓ ประการ ได้แก่ คุณค่าด้านข้อคิด คุณค่าด้านภาษา และคุณค่าด้านวัฒนธรรม 
๑. คุณค่าด้านข้อคิด นิทานเวตาลมีคุณค่าด้านข้อคิด ๒ ประการ ได้แก่ ผลเสียของสงครามและการด่วน ตัดสินโดยไม่ไตร่ตรองให้รอบคอบ 
๑.๑ ผลเสียของสงคราม สงครามทาให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตดังจะเห็นได้จาก การที่นายทหารและไพร่พลของท้าวมหาพลเห็นแก่อามิสสินบนฝ่ายศัตรูจึงทาให้เสียบ้านเมือง ไพร่พลของ ท้าวมหาพลต้องตายในการศึกสงคราม จนในที่สุดรี้พลของท้าวมหาพลร่อยหรอย่อยยับไป แม้กระทั่ง ท้าวมหาพลเองก็ต้องพาพระมเหสีและพระราชธิดาหนีออกจากกรุง ทาให้พระองค์ถูกโจรฆ่าชิงทรัพย์
๑.๒ การด่วนตัดสินโดยไม่ไตร่ตรองให้รอบคอบ การด่วนตัดสินใจ โดยไม่ได้ไตร่ตรองให้รอบคอบ ทาให้เกิดปัญหา ผู้ปกครองจึงควรมีสติและวิจารณญาณ ดังที่พระราชาจันทเสนและพระราชโอรสเห็นรอยเท้า ของนางทั้งสอง และสรุปว่ารอยเท้าเล็กต้องเป็นของนางผู้มีอายุน้อย ส่วนรอยเท้าใหญ่ต้องเป็นของผู้มีอายุ มากกว่า นับว่าเป็นการคาดคะเนที่ผิด อันนาไปสู่ปัญหาในภายหลัง ดังปรากฏในเรื่องว่า “แลเพราะเหตุที่คาด ขนาดเท้าผิด ลูกกลับเป็นเมียพ่อ แม่กลับเป็นเมียลูก ลูกกลับเป็นแม่เลี้ยงของผัวแม่ตัวเอง แลแม่กลับเป็นลูกสะใภ้ ของผัวแห่งลูกตน แลต่อมาบุตรแลธิดาก็เกิดจากนางทั้งสอง แลบุตรแลธิดาแห่งนางทั้งสองก็มีบุตรและธิดาต่อๆ กันไป” 
๒. คุณค่าด้านภาษา น.ม.ส. ทรงแปลนิทานเวตาลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษโดยใช้สานวนภาษาของตนเอง ซึ่งมีลักษณะดังนี้ 
๒.๑ การใช้ภาษาที่อ่านง่าย กระชับ เป็นการเลือกใช้ถ้อยคาที่มีความหมายชัดเจน โดยไม่มีคาศัพท์ ที่ต้องแบ่งหรือตีความ เช่น 
“สองนางพระองค์สั่นพากันหนีห่างออกไปจากหมู่บ้านโจร ทางจะไปทางไหนหาทราบไม่ ความมุ่งมาดมีอยู่แต่ว่าจะหนีให้พ้นมือพวกภิลล์ซึ่งเป็นคนชาติต่าช้าเท่านั้น” 
“ครั้นกษัตริย์ทั้งสองพระองค์ทรงกระทาสัญญาแบ่งนางกันดังนี้แล้ว ก็ทรงชักม้าตามรอยเท้านาง เข้าไปในป่า สักครู่หนึ่งเห็นสองนางนั่งพักอยู่ใต้ร่มไม้ กษัตริย์สององค์ก็เสด็จลงจากม้าเข้าไปถามนางทั้งสอง องค์ก็เล่าเรื่องให้ทรงทราบทุกประการ” 
๒.๒ การสร้างอารมณ์ขัน เป็นลักษณะเด่นของนิทานเวตาล ซึ่งทาให้น่าสนใจและชวนอ่าน ส่วนใหญ่เป็นคาพูดของเวตาลที่ต้องการยั่วพระวิกรมาทิตย์ เช่น 
“ครั้งนี้ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้ายหัวใจเต้นแรง แลตาก็มืดมัวเป็นลางไม่ดีเสียแล้ว แต่ข้าพเจ้า ก็จะเล่าเรื่องจริงถวายอีกเรื่องหนึ่งแลเพราะเหตุข้าพเจ้าเบื่อหน่ายการถูกแบกสะพายไปมาเป็นหลายเที่ยวแล้ว แม้พระองค์ไม่ทรงเบื่อเป็นผู้แบกก็จริง ข้าพเจ้าจะตั้งปัญหาที่อยากทูลถามสักที ถ้าทรงตอบได้พระปัญญาก็มาก ยิ่งกว่าที่ข้าพเจ้าคิดว่าจะมีในพระราชาพระองค์ใด 
“ครั้งนี้แม้แต่กระแอม พระวิกรมาทิตย์ก็ไม่ทรงกระแอม เวตาลจึงกล่าวอีกครั้งหนึ่งว่า “เมื่อพระองค์ทรงจนปัญญาถึงเพียงนี้แล้ว บางทีพระราชบุตรซึ่งทรงปัญญาเฉลียวฉลาดจะทรงแก้ปัญหาได้บ้าง กระมัง” แต่พระธรรมธวัชพระราชบุตรนิ่งสนิททีเดียว” 
๒.๓ การใช้ประโยคสมดุลกัน คือวางข้อความซ้าและขนานความกันไป เช่น
“ท้าวมหาพลเห็นจะรักษาชีวิตพระองค์ไว้ไม่ได้ด้วยวิธีรบ ก็คิดจะรักษาด้วยวิธีหนี” 
“ข้าศึกมีกาลังมากแลชานาญการศึกใช้ทั้งทองคาแลเหล็กเป็นอาวุธ คือ ใช้ทองคาซื้อน้าใจนายทหาร และไพร่พลของพระราชาให้เอาใจออกห่างจากพระองค์ แลใช้เหล็กเป็นอาวุธฆ่าฟันคนที่ซื้อน้าใจไม่ได้” 
๒.๔ การใช้คาซ้อน มีดังนี้ 
“จนในที่สุดรี้พลของท้าวมหาพลหรอร่อย ย่อยยับไป” 
“พวกโจรเข้ากลุ้มรุมรบพระราชา” 
“ความมุ่งมาดมีอยู่แต่ว่าจะหนีให้พ้นมือพวกภิลล์ซึ่งเป็นคนชาติต่าช้าเท่าน 
๓. คุณค่าด้านวัฒนธรรม นิทานเรื่องนี้แสดงให้เห็นวัฒนธรรมเรื่องการนับญาติซึ่งเป็นปมปัญหาที่เวตาล นามาถามพระวิกรมาทิตย์ แต่การนับญาติในนิทานเรื่องนี้เกิดจากการสลับคู่ผิดไปจากระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติ กันในสังคม อย่างไรก็ดี การนับญาติที่เป็นปัญหานี้กลับเป็นปริศนาที่ชวนให้ขบคิด และไม่น่าจะมีคาตอบที่ แน่ชัด ดังจะเห็นได้ว่าการที่พระวิกรมาทิตย์ไม่ทรงตอบเวตาลเพราะทรงตีปัญหาไม่ได้ อีกทั้งเวตาลเองก็ดู เหมือน จะตั้งใจถามคาถามที่ไม่มีคาตอบนี้ดังปรากฏตั้งแต่ตอนต้นเรื่องว่า “ครั้งนี้ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตา ซ้ายหัวใจเต้นแรงแลตาก็มืดมัวเป็นลางไม่ดีเสียแล้ว แต่ข้าพเจ้าก็จะเล่าเรื่องจริงถวายอีกเรื่องหนึ่ง แลเพราะเหตุ ข้าพเจ้าเบื่อหน่ายการถูกแบกสะพายไปมา เป็นหลายเที่ยวแล้ว แม้พระองค์ไม่ทรงเบื่อเป็นผู้แบกก็จริง ข้าพเจ้าจะ ตั้งปัญหาที่ยาก ทูลถามสักที ถ้าทรงตอบได้ พระปัญญาก็มากยิ่งกว่าที่ข้าพเจ้าคิดว่าจะมีในพระราชาพระองค์ใด” 
คาถาม 
๑. นิทานเวตาลเป็นวรรณคดีประเภทใด 
ก. วรรณคดีคาสอน ข. วรรณคดีศาสนา 
ค. วรรณคดีนิทาน ง. วรรณคดีคาฉันท์ 
จ. วรรณคดีบทละคร 
๒. นิทานเวตาลใครเป็นผู้แต่ง 
ก. รัชกาลที่ ๖ ข. พระยาศรีสุนทรโวหาร
ค. พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ง..สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ 
จ. กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ 
๓. นิทานเวตาลพระนิพนธ์กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์มีทั้งหมดกี่เรื่อง 
ก. ๒๐ เรื่อง ข. ๑๕ เรื่อง 
ค. ๓ เรื่อง ง. ๑๐ เรื่อง 
จ. ๑๒ เรื่อง 
๔. ลักษณะเด่นของภาษาที่ใช้ในนิทานเวตาลเป็นอย่างไร 
ก. โวหารคมคายและไพเราะ ข. เป็นร้อยกรองที่แต่งถูกต้องตามฉันทลักษณ์ 
ค. เป็นวรรณคดีนิราศที่พรรณนาความงามได้ไพเราะ ง. มีสัมผัสนอกและสัมผัสในที่ไพเราะ 
จ. เป็นพระราชหัถเลขาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย 
๕. เวตาลห้วยหัวอยู่กับต้นอะไร 
ก. ต้นไทร ข. ต้นอโศก 
ค. ต้นโพธิ์ ง. ต้นงิ้ว 
จ. ต้นประดู่ 
๖. นิทานเวตาลแปลมาจากภาษาอะไร 
ก. อังกฤษ ข. จีน 
ค. บาลี ง. สันสกฤต 
จ.เขมร
๗. ใครเป็นคนจับเวตาล 
ก. พระวิกรมาทิตย์ ข. กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ 
ค. โยคีศานติศีล ง. พระวัชรมกุฏ 
จ. ศิวทาส 
๘. ในตอนสุดท้ายพระวิกรมาทิตย์ทตามคาแนะนาของใคร 
ก. เวตาล ข. ศิวทาส 
ค. กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ ง. นางมัทนเสนา 
จ. พุทธิศรีระ 
๙. นิทานเวตาลคล้ายกับนิทานอะไร 
ก. นิทานอาหรับราตรี ข. นิทานอังกฤษ 
ค. นิทานไทย ง. นิทานลาว 
จ. นิทานเขมร 
๑๐. เวตาลมีลักษณะเป็นอย่างไร 
ก. รูปร่างคล้ายลิง ข. รูปร่างเป็นสัตว์สี่เท้าคล้ายสุนัข 
ค. รูปร่างเป็นนก ง. รูปร่างมีงวงคล้ายช้าง 
จ. ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว
๑๑. นิทานเวตาลมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร 
ก. เพื่อเห่เรือ ข.เพื่อขับเสภา 
ค.เพื่อขับร้องเล่นกัน ง. เพื่อเล่านิทาน 
จ. เพื่อยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ 
๑๒. พระวิกรมาทิตย์หรือพระวิกรมเสนได้รับปากกับโยคีที่มีชื่อว่าอะไร 
ก. ศิวทาส ข. วิทัคธจูฑามณี 
ค. ศานติศีล ง. นางโสมประภา 
จ. พระเจ้าจัณฑสิงห์

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
KruBowbaro
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
nunrutchadaphun
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
Rodchana Pattha
 

What's hot (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 

นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด

  • 1. นิทานเวตาล ผู้แต่ง กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ (น.ม.ส) ลักษณะคาประพันธ์ ร้อยแก้ว วัตถุประสงค์ เพื่อเล่านิทาน ที่มาของเรื่อง นิทานเวตาล (สันสกฤต: वेतालपञ्चवविंशतत เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล ๒๕ เรื่อง) เป็นวรรณคดีอินเดียโบราณที่แต่งเป็นภาษาสันสกฤต ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกัน ต่อมากว่า ๒,๕๐๐ ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่าง พระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนาเข้าไปสู่นิทาน ย่อยต่างๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม ๒๕ เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง เนื้อเรื่องย่อ พระวิกรมาทิตย์หรือพระวิกรมเสน กษัตริย์ในตานานของอินเดียโบราณ ได้รับปากกับโยคีชื่อ "ศานติศีล" จะไปนาตัวเวตาล อมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายศพมนุษย์ผสมค้างคาว ซึ่งห้อยหัวอยู่กับต้นอโศก มาให้แก่ฤๅษี เพื่อใช้ในพิธีบูชาเจ้าแม่กาลี โดยมีพระธรรมธวัชผู้เป็นโอรสติดตามไปด้วย เมื่อพระองค์จับตัวเวตาลได้แล้ว เวตาลก็จะพยายามยั่วให้พระวิกรมาทิตย์ตรัสออกมาอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่เสมอ โดยการการเล่านิทานอุทาหรณ์ ต่างๆ แล้วให้พระวิกรมาทิตย์ตัดสินเรื่องราวในนิทานเหล่านั้น ด้วยขัตติยะมานะของกษัตริย์ทาให้ พระวิกรมาทิตย์อดไม่ได้ที่จะตรัสพระราชวิจารณ์เกี่ยวเรื่องราวในนิทานอยู่เสมอ ผลก็คือเวตาลได้ลอยกลับไป อยู่ที่ต้นอโศกอันเป็นที่อยู่ของตน ทาให้พระวิกรมาทิตย์จาต้องกลับไปจับเอาเวตาลกลับมาใหม่ทุกครั้ง เป็นเช่นนี้อยู่ถึง ๒๔ ครั้ง ในครั้งที่ ๒๕ พระธรรมธวัชได้สะกิดเตือนมิให้พระวิกรมาทิตย์ตรัสคาใดๆ ออกมา พระวิกรมาทิตย์ก็ระงับใจไม่เอื้อนพระโอษฐ์ตรัสพระกระแสใดๆ ออกมา เวตาลจึงยอมให้พระองค์พาตนไปให้ โยคีศานติศีลนั้นได้ ท้ายเรื่องของนิทานเวตาลมีอยู่ว่า ระหว่างทางที่พระวิกรมาทิตย์พาเวตาลไปหาโยคีนั้นเอง เวตาลก็ได้ เปิดเผยว่าแท้จริงแล้วโยคีศานติศีลมีความแค้นกับพระวิกรมาทิตย์อยู่ ซึ่งเป็นความแค้นที่ก่อโดยพระบิดาของ พระวิกรมาทิตย์ จึงหวังที่จะปลงชนม์ของพระองค์เสีย พร้อมกันนี้เวตาลก็แนะนาให้พระองค์ทาเป็นเชื่อฟัง
  • 2. คาของโยคีนั้นแล้วหาทางฆ่าเสีย พระวิกรมาทิตย์ก็ได้ทาตามคาแนะนาดังกล่าว และรอดพ้นจากการทาร้ายของ โยคีนั้นได้ ในหนังสือนิทานเวตาล พระนิพนธ์ กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ นี้มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง ดังนี้ เรื่องที่ ๑ เรื่องของเจ้าชายวัชรมกุฏ กับพระสหายชื่อ พุทธิศรีระ เรื่องที่ ๒ เรื่องของนางมันทารวดี กับ พราหมณ์หนุ่ม ๓ คน เรื่องที่ ๓ เรื่องของนกแก้วชื่อ วิทัคธจูฑามณี ของพระเจ้าวิกรมเกศริน กับนกขุนทองชื่อ โสมิกา ของเจ้าหญิง จันทรประภา เรื่องที่ ๔ เรื่องของพระเจ้าศูทรกะ กับพราหมณ์ผู้ซื่อสัตย์ชื่อ วีรวร เรื่องที่ ๕ เรื่องของนางโสมประภา กับการเลือกคู่ครอง เรื่องที่ ๖ เรื่องของวันฉลองพระแม่เคารี เรื่องที่ ๗ เรื่องของพระเจ้าจัณฑสิงห์ กับสัตตวศีล ผู้ซื่อสัตย์ เรื่องที่ ๘ เรื่องของบุตรทั้ง ๓ ของพราหมณ์วิษณุสวามิน เรื่องที่ ๙ เรื่องของการเลือกคู่ของเจ้าหญิงอนงครตี เรื่องที่ ๑๐ เรื่องของนางมัทนเสนา ผู้ซื่อสัตย์ การวิเคราะห์คุณค่าจากเรื่องนิทานเวตาล นิทานเวตาลมีคุณค่า ๓ ประการ ได้แก่ คุณค่าด้านข้อคิด คุณค่าด้านภาษา และคุณค่าด้านวัฒนธรรม ๑. คุณค่าด้านข้อคิด นิทานเวตาลมีคุณค่าด้านข้อคิด ๒ ประการ ได้แก่ ผลเสียของสงครามและการด่วน ตัดสินโดยไม่ไตร่ตรองให้รอบคอบ ๑.๑ ผลเสียของสงคราม สงครามทาให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตดังจะเห็นได้จาก การที่นายทหารและไพร่พลของท้าวมหาพลเห็นแก่อามิสสินบนฝ่ายศัตรูจึงทาให้เสียบ้านเมือง ไพร่พลของ ท้าวมหาพลต้องตายในการศึกสงคราม จนในที่สุดรี้พลของท้าวมหาพลร่อยหรอย่อยยับไป แม้กระทั่ง ท้าวมหาพลเองก็ต้องพาพระมเหสีและพระราชธิดาหนีออกจากกรุง ทาให้พระองค์ถูกโจรฆ่าชิงทรัพย์
  • 3. ๑.๒ การด่วนตัดสินโดยไม่ไตร่ตรองให้รอบคอบ การด่วนตัดสินใจ โดยไม่ได้ไตร่ตรองให้รอบคอบ ทาให้เกิดปัญหา ผู้ปกครองจึงควรมีสติและวิจารณญาณ ดังที่พระราชาจันทเสนและพระราชโอรสเห็นรอยเท้า ของนางทั้งสอง และสรุปว่ารอยเท้าเล็กต้องเป็นของนางผู้มีอายุน้อย ส่วนรอยเท้าใหญ่ต้องเป็นของผู้มีอายุ มากกว่า นับว่าเป็นการคาดคะเนที่ผิด อันนาไปสู่ปัญหาในภายหลัง ดังปรากฏในเรื่องว่า “แลเพราะเหตุที่คาด ขนาดเท้าผิด ลูกกลับเป็นเมียพ่อ แม่กลับเป็นเมียลูก ลูกกลับเป็นแม่เลี้ยงของผัวแม่ตัวเอง แลแม่กลับเป็นลูกสะใภ้ ของผัวแห่งลูกตน แลต่อมาบุตรแลธิดาก็เกิดจากนางทั้งสอง แลบุตรแลธิดาแห่งนางทั้งสองก็มีบุตรและธิดาต่อๆ กันไป” ๒. คุณค่าด้านภาษา น.ม.ส. ทรงแปลนิทานเวตาลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษโดยใช้สานวนภาษาของตนเอง ซึ่งมีลักษณะดังนี้ ๒.๑ การใช้ภาษาที่อ่านง่าย กระชับ เป็นการเลือกใช้ถ้อยคาที่มีความหมายชัดเจน โดยไม่มีคาศัพท์ ที่ต้องแบ่งหรือตีความ เช่น “สองนางพระองค์สั่นพากันหนีห่างออกไปจากหมู่บ้านโจร ทางจะไปทางไหนหาทราบไม่ ความมุ่งมาดมีอยู่แต่ว่าจะหนีให้พ้นมือพวกภิลล์ซึ่งเป็นคนชาติต่าช้าเท่านั้น” “ครั้นกษัตริย์ทั้งสองพระองค์ทรงกระทาสัญญาแบ่งนางกันดังนี้แล้ว ก็ทรงชักม้าตามรอยเท้านาง เข้าไปในป่า สักครู่หนึ่งเห็นสองนางนั่งพักอยู่ใต้ร่มไม้ กษัตริย์สององค์ก็เสด็จลงจากม้าเข้าไปถามนางทั้งสอง องค์ก็เล่าเรื่องให้ทรงทราบทุกประการ” ๒.๒ การสร้างอารมณ์ขัน เป็นลักษณะเด่นของนิทานเวตาล ซึ่งทาให้น่าสนใจและชวนอ่าน ส่วนใหญ่เป็นคาพูดของเวตาลที่ต้องการยั่วพระวิกรมาทิตย์ เช่น “ครั้งนี้ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้ายหัวใจเต้นแรง แลตาก็มืดมัวเป็นลางไม่ดีเสียแล้ว แต่ข้าพเจ้า ก็จะเล่าเรื่องจริงถวายอีกเรื่องหนึ่งแลเพราะเหตุข้าพเจ้าเบื่อหน่ายการถูกแบกสะพายไปมาเป็นหลายเที่ยวแล้ว แม้พระองค์ไม่ทรงเบื่อเป็นผู้แบกก็จริง ข้าพเจ้าจะตั้งปัญหาที่อยากทูลถามสักที ถ้าทรงตอบได้พระปัญญาก็มาก ยิ่งกว่าที่ข้าพเจ้าคิดว่าจะมีในพระราชาพระองค์ใด “ครั้งนี้แม้แต่กระแอม พระวิกรมาทิตย์ก็ไม่ทรงกระแอม เวตาลจึงกล่าวอีกครั้งหนึ่งว่า “เมื่อพระองค์ทรงจนปัญญาถึงเพียงนี้แล้ว บางทีพระราชบุตรซึ่งทรงปัญญาเฉลียวฉลาดจะทรงแก้ปัญหาได้บ้าง กระมัง” แต่พระธรรมธวัชพระราชบุตรนิ่งสนิททีเดียว” ๒.๓ การใช้ประโยคสมดุลกัน คือวางข้อความซ้าและขนานความกันไป เช่น
  • 4. “ท้าวมหาพลเห็นจะรักษาชีวิตพระองค์ไว้ไม่ได้ด้วยวิธีรบ ก็คิดจะรักษาด้วยวิธีหนี” “ข้าศึกมีกาลังมากแลชานาญการศึกใช้ทั้งทองคาแลเหล็กเป็นอาวุธ คือ ใช้ทองคาซื้อน้าใจนายทหาร และไพร่พลของพระราชาให้เอาใจออกห่างจากพระองค์ แลใช้เหล็กเป็นอาวุธฆ่าฟันคนที่ซื้อน้าใจไม่ได้” ๒.๔ การใช้คาซ้อน มีดังนี้ “จนในที่สุดรี้พลของท้าวมหาพลหรอร่อย ย่อยยับไป” “พวกโจรเข้ากลุ้มรุมรบพระราชา” “ความมุ่งมาดมีอยู่แต่ว่าจะหนีให้พ้นมือพวกภิลล์ซึ่งเป็นคนชาติต่าช้าเท่าน ๓. คุณค่าด้านวัฒนธรรม นิทานเรื่องนี้แสดงให้เห็นวัฒนธรรมเรื่องการนับญาติซึ่งเป็นปมปัญหาที่เวตาล นามาถามพระวิกรมาทิตย์ แต่การนับญาติในนิทานเรื่องนี้เกิดจากการสลับคู่ผิดไปจากระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติ กันในสังคม อย่างไรก็ดี การนับญาติที่เป็นปัญหานี้กลับเป็นปริศนาที่ชวนให้ขบคิด และไม่น่าจะมีคาตอบที่ แน่ชัด ดังจะเห็นได้ว่าการที่พระวิกรมาทิตย์ไม่ทรงตอบเวตาลเพราะทรงตีปัญหาไม่ได้ อีกทั้งเวตาลเองก็ดู เหมือน จะตั้งใจถามคาถามที่ไม่มีคาตอบนี้ดังปรากฏตั้งแต่ตอนต้นเรื่องว่า “ครั้งนี้ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตา ซ้ายหัวใจเต้นแรงแลตาก็มืดมัวเป็นลางไม่ดีเสียแล้ว แต่ข้าพเจ้าก็จะเล่าเรื่องจริงถวายอีกเรื่องหนึ่ง แลเพราะเหตุ ข้าพเจ้าเบื่อหน่ายการถูกแบกสะพายไปมา เป็นหลายเที่ยวแล้ว แม้พระองค์ไม่ทรงเบื่อเป็นผู้แบกก็จริง ข้าพเจ้าจะ ตั้งปัญหาที่ยาก ทูลถามสักที ถ้าทรงตอบได้ พระปัญญาก็มากยิ่งกว่าที่ข้าพเจ้าคิดว่าจะมีในพระราชาพระองค์ใด” คาถาม ๑. นิทานเวตาลเป็นวรรณคดีประเภทใด ก. วรรณคดีคาสอน ข. วรรณคดีศาสนา ค. วรรณคดีนิทาน ง. วรรณคดีคาฉันท์ จ. วรรณคดีบทละคร ๒. นิทานเวตาลใครเป็นผู้แต่ง ก. รัชกาลที่ ๖ ข. พระยาศรีสุนทรโวหาร
  • 5. ค. พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ง..สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ จ. กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ ๓. นิทานเวตาลพระนิพนธ์กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์มีทั้งหมดกี่เรื่อง ก. ๒๐ เรื่อง ข. ๑๕ เรื่อง ค. ๓ เรื่อง ง. ๑๐ เรื่อง จ. ๑๒ เรื่อง ๔. ลักษณะเด่นของภาษาที่ใช้ในนิทานเวตาลเป็นอย่างไร ก. โวหารคมคายและไพเราะ ข. เป็นร้อยกรองที่แต่งถูกต้องตามฉันทลักษณ์ ค. เป็นวรรณคดีนิราศที่พรรณนาความงามได้ไพเราะ ง. มีสัมผัสนอกและสัมผัสในที่ไพเราะ จ. เป็นพระราชหัถเลขาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ๕. เวตาลห้วยหัวอยู่กับต้นอะไร ก. ต้นไทร ข. ต้นอโศก ค. ต้นโพธิ์ ง. ต้นงิ้ว จ. ต้นประดู่ ๖. นิทานเวตาลแปลมาจากภาษาอะไร ก. อังกฤษ ข. จีน ค. บาลี ง. สันสกฤต จ.เขมร
  • 6. ๗. ใครเป็นคนจับเวตาล ก. พระวิกรมาทิตย์ ข. กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ ค. โยคีศานติศีล ง. พระวัชรมกุฏ จ. ศิวทาส ๘. ในตอนสุดท้ายพระวิกรมาทิตย์ทตามคาแนะนาของใคร ก. เวตาล ข. ศิวทาส ค. กรมหมื่นพิทยาอลงกรณ์ ง. นางมัทนเสนา จ. พุทธิศรีระ ๙. นิทานเวตาลคล้ายกับนิทานอะไร ก. นิทานอาหรับราตรี ข. นิทานอังกฤษ ค. นิทานไทย ง. นิทานลาว จ. นิทานเขมร ๑๐. เวตาลมีลักษณะเป็นอย่างไร ก. รูปร่างคล้ายลิง ข. รูปร่างเป็นสัตว์สี่เท้าคล้ายสุนัข ค. รูปร่างเป็นนก ง. รูปร่างมีงวงคล้ายช้าง จ. ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว
  • 7. ๑๑. นิทานเวตาลมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร ก. เพื่อเห่เรือ ข.เพื่อขับเสภา ค.เพื่อขับร้องเล่นกัน ง. เพื่อเล่านิทาน จ. เพื่อยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ ๑๒. พระวิกรมาทิตย์หรือพระวิกรมเสนได้รับปากกับโยคีที่มีชื่อว่าอะไร ก. ศิวทาส ข. วิทัคธจูฑามณี ค. ศานติศีล ง. นางโสมประภา จ. พระเจ้าจัณฑสิงห์