SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน...การใช้ชีวิตบนอวกาศ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว อาภาพร เตชะตา เลขที่ 35 ม.6/3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม … นางสาว อาภาพร เตชะตา เลขที่ 35 ม.6/3
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การใช้ชีวิตในอวกาศ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
live in space
ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อาภาพร เตชะตา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน26 มกราคม – 31 มกราคม 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
หลายคนคงเคยจินตนาการถึงการท่องเที่ยวไปในอวกาศ แต่จากการอยู่ในสภาพที่ไร้น้าหนัก
ของมนุษย์กับการโคจรรอบโลก ทาให้การใช้ชีวิตมีความแตกต่างกับการอยู่บนโลกซึ่งอยู่ในสภาพที่มี
น้าหนักอย่างมาก ผู้จัดทาจึงเกิดความสนใจในการใช้ชีวิตในอวกาศ และได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
ตั้งแต่การเกิดสุริยะของเราไปจนถึงการใช้ชีวิตในอวกาศ จากการได้ศึกษาค้นคว้านั้นผู้จัดทาจึงอยาก
เผยแพร่ข้อมูลการใช้ชีวิตในอวกาศที่ได้ศึกษาเพื่อผู้ที่สนใจ หรือพเมพูนความรู้ต่างๆ
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาการใช้ชีวิตบนอวกาศ
2.เพื่อให้ผู้ศึกษานาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้
3.เพื่อสามารถนาสื่อนี้ไปใช้เป็นการเรียนการสอนหรือไปเป็นองค์ความรู้ให้กับผู้ที่สนใจ
ขอบเขตโครงงาน
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอวกาศ
2.โลกและอวกาศ
3.การใช้ชีวิตบนอวกาศ
4.นอกอวกาศ
5.จรวด
6.ยานอวกาศ
หลักการและทฤษฎี
กาเนิดระบบสุริยะ
ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและก๊าซในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar Nebula) รวมตัว
กันเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว (นักวิทยาศาสตร์คานวณจากอัตราการหลอมรวมไฮโดรเจนเป็น
ฮีเลียมภายในดวงอาทิตย์) เมื่อสสารมากขึ้น แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลสารมากขึ้นตามไปด้วย กลุ่มฝุ่น
ก๊าซยุบตัวหมุนเป็นรูปจานตามหลักอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ดังภาพที่ 1 แรงโน้มถ่วงที่ใจกลางสร้าง
แรงกดดันมากทาให้ก๊าซมีอุณหภูมิสูงพอที่จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมอะตอมของ
ไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดวงอาทิตย์จึงถือกาเนิดเป็นดาวฤกษ์
4
ภาพที่ 1 กาเนิดระบบสุริยะ
วัสดุชั้นรอบนอกของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่ากว่า ยังโคจรไปตามโมเมนตัมที่มีอยู่เดิม รอบดวง
อาทิตย์เป็นชั้นๆ มวลสารของแต่ละชั้นพยายามรวมตัวกันด้วยแรงโน้มถ่วง ด้วยเหตุนี้ดาวเคราะห์จึง
ถือกาเนิดขึ้นเป็นรูปทรงกลม เนื่องจากมวลสารพุ่งใส่กันจากทุกทิศทาง
อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงทาให้วัสดุที่อยู่รอบๆ พยายามพุ่งเข้าหาดาวเคราะห์ ถ้าทิศทางของการ
เคลื่อนที่มีมุมลึกพอ ก็จะพุ่งชนดาวเคราะห์ทาให้ดาวเคราะห์นั้นมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมวล
รวมกัน แต่ถ้ามุมของการพุ่งชนตื้นเกินไป ก็จะทาให้แฉลบเข้าสู่วงโคจร และเกิดการรวมตัวต่างหาก
กลายเป็นดวงจันทร์บริวาร ดังเราจะเห็นได้ว่า ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี จะมีดวง
จันทร์บริวารหลายดวงและมีวงโคจรหลายชั้น เนื่องจากมีมวลสารมากและแรงโน้มถ่วงมหาศาล ต่าง
กับดาวพุธซึ่งมี
ขนาดเล็กมีแรงโน้มถ่วงน้อย ไม่มีดวงจันทร์บริวารเลย วัสดุที่อยู่โดยรอบจะพุ่งเข้าหาดวงอาทิตย์
เพราะ
มีแรงโน้มถ่วงมากกว่าเยอะ
องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์(The Sun) เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ตรงตาแหน่งศูนย์กลางของระบบสุริยะและเป็นศูนย์กลาง
ของแรงโน้มถ่วง ทาให้ดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ
5
ภาพที่ 2 ระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก มีความหนาแน่นสูงและพื้นผิวเป็น
ของแข็ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธาตุหนัก มีบรรยากาศอยู่เบาบาง ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลจากความร้อนของ
ดวงอาทิตย์และลมสุริยะ ทาให้ธาตุเบาเสียประจุ ไม่สามารถดารงสถานะอยู่ได้ ดาวเคราะห์ชั้นใน
บางครั้งเรียกว่า ดาวเคราะห์พื้นแข็ง “Terrestrial Planets"เนื่องจากมีพื้นผิวเป็นของแข็งคล้ายคลึง
กับโลก ดาวเคราะห์ชั้นในมี 4 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
และดาวอังคาร
ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ แต่มีความหนาแน่นต่า เกิดจาก
การสะสมตัวของธาตุเบาอย่างช้าๆ ทานองเดียวกับการก่อตัวของก้อนหิมะ เนื่องจากได้รับอิทธิพล
ของ
ความร้อนและลมสุริยะจากดวงอาทิตย์เพียงเล็กน้อย ดาวเคราะห์พวกนี้จึงมีแก่นขนาดเล็กห่อหุ้มด้วย
ก๊าซจานวนมหาสาร บางครั้งเราเรียกดาวเคราะห์ประเภทนี้ว่า ดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์(Gas Giants)
หรือ Jovian Planets ซึ่งหมายถึงดาวเคราะห์ที่มีคุณสมบัติคล้ายดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์ชั้นนอกมี
4 ดวง
คือ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
ดวงจันทร์บริวาร (Satellites) โลกมิใช่ดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่มีดวงจันทร์บริวาร โลกมีบริวาร
ชื่อว่า “ดวงจันทร์” (The Moon) ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีบริวารเช่นกัน เช่น ดาวพฤหัสบดีมี
ดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวงชื่อ ไอโอ (Io), ยูโรปา (Europa), กันนีมีด (ganymede) และคัลลิสโต
(Callisto) ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ถือกาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน เพียงแต่ดวงจันทร์มิได้รวมตัวกับ
ดาวเคราะห์โดยตรง แต่ก่อตัวขึ้นภายในวงโคจรของดาวเคราะห์ เราจะสังเกตได้ว่า หากมองจาก
ด้านบน
6
ของระบบสุริยะ จะเห็นได้ว่า ทั้งดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ส่วนใหญ่ จะหมุนรอบ
ตัวเองในทิศทวนเข็มนาฬิกา และโคจรรอบดวงทิตย์ในทิศทวนเข็มนาฬิกาเช่นกันหากมองจาก
ด้านข้างของ
ระบบสุริยะก็จะพบว่า ทั้งดวงอาทิตย์ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์บริวาร จะอยู่ในระนาบที่ใกล้เคียง
กับ
สุริยะวิถีมาก ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากระบบสุริยะทั้งระบบ ก็กาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน โดยการยุบและหมุนตัว
ของจานฝุ่น
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) เป็นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล
(International Astronomical Union) ที่กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม แต่มีวงโคจร
เป็นรูปรี ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยะวิถี ซึ่งได้แก่ ซีรีส พัลลาส
พลูโต และดาวที่เพิ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วารูนา เป็นต้น (ดูภาพที่ 3 ประกอบ)
ภาพที่ 3 ขนาดของดาวเคราะห์แคระเปรียบเทียบกับโลก (ที่มา: NASA, JPL)
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) เกิดจากวัสดุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากแรง
รบกวนจากดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดังเราจะพบว่า ประชากรของ
ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่อยู่ที่ “แถบดาวเคราะห์น้อย” (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ระหว่างวงโคจรของดาว
อังคารและดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แคระเช่น เซเรส ก็เคยจัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่
ที่สุด (เส้นผ่านศูนย์กลาง 900 กิโลเมตร) ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่จะมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็น
รูปรีมาก และไม่อยู่ในระนาบสุริยะวิถี ขณะนี้มีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยแล้วประมาณ 3 แสนดวง
7
ภาพที่ 4 แถบดาวเคราะห์น้อย (ที่มา: Pearson Prentice Hall, Inc)
ดาวหาง (Comets) เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็น
วงยาวรีมาก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซในสถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวง
อาทิตย์ความร้อนจะให้มวลของมันระเหิดกลายเป็นก๊าซ ลมสุริยะเป่าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่งออกไปในทิศ
ทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์กลายเป็นหาง
วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) เป็นวัตถุที่หนาวเย็นเช่นเดียวกับดาวหาง แต่มีวงโคจร
อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครั้งจึงเรียกว่า Trans Neptune Objects ทั้งนี้แถบคุยเปอร์จะอยู่ใน
ระนาบของสุริยะวิถี โดยมีระยะห่างออกไปตั้งแต่ 40 – 500 AU (AU ย่อมาจาก Astronomical Unit
หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับระยะทางระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์หรือ 150 ล้านกิโลเมตร) ดาว
พลูโตเองก็จัดว่าเป็นวัตถุในแถบคุยเปอร์ รวมทั้งดาวเคราะห์แคระซึ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วา
รูนา เป็นต้น ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุในแถบไคเปอร์แล้วมากกว่า 35,000 ดวง
8
ภาพที่ 5 แถบไคเปอร์ และวงโคจรของดาวพลูโต (ที่มา: NASA, JPL)
เมฆออร์ท (Oort Cloud) เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ท
(Jan Oort) ซึ่งเชื่อว่า ณ สุดขอบของระบบสุริยะ รัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์ ระบบ
สุริยะ
ของเราห่อหุ้มด้วยวัสดุก๊าซแข็ง ซึ่งหากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมากระทบกระเทือน ก๊าซแข็ง
เหล่านี้ก็จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-
period comets)
9
ภาพที่ 6 ตาแหน่งของแถบไคเปอร์และเมฆออร์ท (ที่มา: NASA, JPL)
กาเนิดโลก
เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe)อุบัติขึ้นเมื่อประมาณ 13,000 ล้านปีมาแล้ว
ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตาม
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง ธาตุแรกที่เกิดขึ้นคือ
ไฮโดรเจน ซึ่งประกอบขึ้นอย่างเรียบง่ายด้วยโปรตอนและอิเล็คตรอนอย่างละตัว ไฮโดรเจน
จึงเป็นธาตุที่มีอยู่มากที่สุดในจักรวาล เมื่อไฮโดรเจนเกาะกลุ่มกันจนเป็นกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่
เรียกว่า เนบิวลา (Nebula) แรงโน้มถ่วงที่ศูนย์กลางทาให้กลุ่มแก๊สยุบตัวกันจนเกิดปฏิกริยา
นิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดาวฤกษ์จึงกาเนิดขึ้น เมื่อดาวฤกษ์เผา
ผลาญไฮโดรเจนจนหมด ก็จะเกิดฟิวชันฮีเลียม เกิดธาตุลาดับต่อไป ได้แก่ คาร์บอน ออกซิเจน
ซิลิกอน และเหล็ก (เรียงลาดับในตารางธาตุ) ธาตุเหล่านี้จึงเป็นธาตุสามัญและพบอยู่มากมาย
บนโลก ในท้ายที่สุดเมื่อดาวฤกษ์ขนาดใหญ่สิ้นอายุขัย ก็จะระเบิดเป็นซูเปอร์โนวา เกิดธาตุ
หนักที่หายากในลาดับต่อมา เช่น เงิน ทอง เป็นต้น ธาตุเหล่านี้จึงเป็นธาตุที่หายากบนโลก
การเวียนว่ายตายเกิดของดาวฤกษ์เกิดขึ้นหลายรอบ และครั้งสุดท้ายเมื่อ
ประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มแก๊สในเอกภพบริเวณนี้ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงชื่อ
ว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่าหมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่ม
10
แก๊สยุบตัวและหมุนรอบตัวเอง ใจกลางมีความร้อนสูงมากจนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิว
ชัน กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ชื่อว่าดวงอาทิตย์ส่วนวัสดุที่อยู่รอบๆ มีอุณหภูมิต่ากว่า รวมตัว
ตามลาดับชั้นกลายเป็นดาวเคราะห์ทั้งหลาย โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ภาพที่ 1) และเศษวัสดุที่
โคจรรอบดาวเคราะห์ก็รวมตัวเป็นดวงจันทร์บริวาร
ภาพที่ 1 กาเนิดระบบสุริยะ
โลกในยุคแรกเป็นหินหนืดร้อน ถูกกระหน่าชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบ
ซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่นเหล็กและนิเกิลจมตัวลงสู่แก่นกลางของโลก ขณะที่องค์ประกอบที่เบา
กว่า เช่น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือกนอกธาตุและสารประกอบที่เบามาก เช่น ไฮโดรเจน
คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้า พยายามแทรกตัวออกจากพื้นผิวกลายเป็นบรรยากาศ เมื่อโลก
เย็นลงเปลือกนอกตกผลึกเป็นแร่และหิน ไอน้าในอากาศควบแน่นเกิดฝน น้าฝนได้ละลาย
คาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพื้นผิว ไหลลงทะเลและมหาสมุทร สองพันล้านปีต่อมา
การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ได้ตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาสังเคราะห์ด้วย
แสง สร้างอาหารและพลังงาน แล้วปล่อยผลผลิตเป็นแก๊สออกซิเจนออกมา แก๊สออกซิเจนที่
ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศชั้นบน แล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว และรวมตัวกับ
ออกซิเจนอะตอมคู่ที่มีอยู่เดิมกลายเป็นแก๊สโอโซน ซึ่งช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีอุลตราไว
โอเล็ต นับตั้งแต่นั้นมาทาให้สิ่งมีชีวิตบนบกก็ทวีจานวนมากขึ้น ออกซิเจนจึงมีบทบาทสาคัญ
ต่อการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลกในเวลาต่อมา (ภาพที่ 2) สัดส่วนของสิ่งมีชีวิตเช่นพืชและ
11
สัตว์เป็นปัจจัยควบคุมปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจนในบรรยากาศ และควบคุม
ภาวะเรือนกระจกให้อยู่ในสภาวะสมดุล ท่านสามารถติดตามวิวัฒนาการของโลกได้โดยดูจาก
ธรณีประวัติ
ภาพที่ 2 วิวัฒนาการของโลก
ระบบโลก (Earth System)
โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Dynamic Planet) ในอดีต
นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโลกแบบแยกส่วน นักธรณีวิทยาศึกษาเปลือกโลกที่เป็นของแข็ง นัก
สมุทรศาสตร์ศึกษาทะเลและมหาสมุทร นักอุตุนิยมวิทยาศึกษาบรรยากาศ นักชีววิทยาศึกษา
สิ่งมีชีวิต ขณะที่นักดาราศาสตร์ศึกษาดาวบนท้องฟ้ า แต่เมื่อเกิดปรากฏการณ์เช่น เอลนีโญ ซึ่ง
เป็นปรากการณ์ที่เกี่ยวเนื่องทั้งแผ่นดิน มหาสมุทร บรรยากาศ สิ่งมีชีวิต และพลังงานจากดวง
อาทิตย์ก็ไม่มีใครหาคาตอบได้ จนกระทั่งไม่กี่ทศวรรษมานี้เอง นักวิทยาศาสตร์ตระหนักได้
ว่า การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโลกจะต้องมองโลกให้เป็นระบบ (ภาพที่ 1) อย่างไรก็ตาม
ในการเขียนตาราเรียนจาต้องเรียงแบบอนุกรม นาเสนอโลกทีละภาคส่วน ดังนี้
ธรณีภาค (Lithosphere) เปลือกโลกในส่วนที่เป็นของแข็ง
อุทกภาค (Hydrosphere) น้าที่ห่อหุ้มโลก
อากาศภาค (Atmoshere) บรรยากาศที่ห้อหุ้มโลก
ชีวภาค (Biosphere) สิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลกทั้งบนบกและในมหาสมุทร
การเปลี่ยนแปลงสภาวะของโลก (Global Change) การปรับสมดุลพลังงานของโลก
12
ภาพที่ 1 ระบบโลก
เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีทั้งเปลี่ยนแปลงเป็นคาบเวลาระยะสั้นและ
ระยะยาว การทาความเข้าใจโลก จึงเป็นต้องศึกษากาเนิดโลก
ยานอวกาศ
ยานอวกาศ (Spacecraft) หมายถึง ยานพาหนะที่นามนุษย์หรืออุปกรณ์อัตโนมัติขึ้นไปสู่
อวกาศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจโลกหรือเดินทางไปยังดาวดวงอื่น ยานอวกาศ
มี 2 ประเภท คือ ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม และยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม
ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม (Manned Spacecraft) มีขนาดใหญ่ เพราะต้องมีปริมาตร
พอที่มนุษย์อยู่อาศัยได้และยังต้องบรรทุกปัจจััยต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ เช่น อากาศ อาหาร
และเครื่องอานวยความสะดวกในการยังชีพ เช่น เตียงนอน ห้องน้า ดังนั้นยานอวกาศที่มี
มนุษย์ควบคุมจึงมีมวลมาก การขับดันยานอวกาศที่มีมวลมากให้มีอัตราเร่งสูงจาเป็นต้องใช้
จรวดที่บรรทุกเชื้อเพลิงจานวนมาก ซึ่งทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงมาก ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม
ได้แก่ ยานอะพอลโล (Apollo) ซึ่งนามนุษย์ไปยังดวงจันทร์
13
ภาพที่ 1 ยานอะพอลโล
(ที่มา: NASA)
ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม (Unmanned Spacecraft) มีขนาดเล็กมากเมื่อเปรียบเทียบ
กับยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม ยานอวกาศชนิดนี้มีมวลน้อยไม่จาเป็นต้องใช้จรวดนาส่ง
ขนาดใหญ่ จึงมีความประหยัดเชื้อเพลิงมาก อย่างไรก็ตามในการควบคุมยานในระยะไกลไม่
สามารถใช้วิทยุควบคุมได้เนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต้องใช้เวลาในการเดินทาง ยกตัวอย่าง
เช่น ดาวเสาร์อยู่ไกลจากโลกประมาณ 1 พันล้านกิโลเมตร หรือ 1 ชั่วโมงแสง หากส่ง
คลื่นวิทยุไปยังดาวเสาร์ คลื่นวิทยุต้องใช้เวลานานถึง 1 ชั่วโมง ดังนั้นการควบคุมให้ยานเลี้ยว
หลบหลีกก้อนน้าแข็งบริเวณวงแหวนจะไม่ทัน ยานอวกาศประเภทนี้จึงต้องมีสมองกล
คอมพิวเตอร์และระบบซอฟต์แวร์ซึ่งฉลาดมาก เพื่อให้ยานอวกาศสามารถต้องปฏิบัติภารกิจ
ได้เองทุกประการและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ทันท่วงที เหตุผลอีกส่วนหนึ่งที่
นักวิทยาศาสตร์นิยมใช้ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุมในงานสารวจระยะบุกเบิกและการ
เดินทางระยะไกล เนื่องจากการออกแบบยานไม่ต้องคานึงถึงปัจจัยในการดารงชีวิต ทาให้ยาน
สามารถเดินทางระยะไกลได้เป็นระยะเวลานานนอกเหนือขีดจากัดของมนุษย์ ยานอวกาศที่
ไม่มีมนุษย์ควบคุมได้แก่ ยานแคสินี (Cassini spacecraft) ซึ่งใช้สารวจดาวเสาร์ เป็นต้น
ภาพที่ 2 ยานแคสสีนี
(ที่มา: NASA)
ยุคอวกาศเริ่มขึ้นเมื่อสหภาพส่งดาวเทียมสปุตนิก 1 (Sputnik 1) ขึ้นสู่อวกาศในปี พ.ศ.
14
2500 หลังจากนั้นการแข่งขันทางอวกาศในยุคสมัยของสงครามเย็นก็เริ่มขึ้น ดาวเทียมที่ถูกส่ง
ขึ้นสู่อวกาศเป็นลาดับที่ 2 ไม่ใช่ของสหรัฐอเมริกา แต่เป็นดาวเทียมสปุตนิก 2 (Sputnik
2) และสุนัขชื่อ ไลก้า (Laika) ของสหภาพโซเวียต และนักบินอวกาศคนแรกของโลกเป็นเป็น
ชาวรัสเซียชื่อ ยูริ กาการิน (Yuri Gagarin) ขึ้นสู่วงโคจรโลกด้วยยานอวกาศวอสต็อก (Vostok)
ในปี พ.ศ.2504 ด้วยเหตุนี้ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ เคเนดี้ จึงสนับสนุนโครงการอะพอลโล
ขององค์การ NASA จนนักบินอวกาศคนแรกที่เหยียบพื้นผิวดวงจันทร์คือ นีล อาร์มสตรอง
(Neil Armstrong) โดยยานอะพอลโล 11 (Apollo 11) เมื่อปี พ.ศ.2512 จนกระทั่งสงครามเย็น
สิ้นสุดลง ประเทศมหาอานาจต่างๆ ได้ร่วมมือกันก่อสร้างสถานีอวกาศนานาชาติ
(International Space Station) หรือ ISS ขึ้นไปโคจรรอบโลกตั้งแต่ปี พ.ศ.2541 เป็นต้นมา
ภาพที่ 3 สถานีอวกาศนานาชาติ
(ที่มา: NASA)
15
การใช้ชีวิตบนอวกาศ
เวลาที่เห็นภาพของนักบินอวกาศลอยตัวเบาเหินอยู่บนสถานีอวกาศ เชื่อว่าคงมีคนจานวนไม่
น้อยที่รู้สึกไม่ต่างกันว่า อยากจะลองขึ้นไปสัมผัสประสบการณ์ไร้น้าหนักแบบนั้นบ้างจังเลย คงสนุก
น่าดู แต่หากลองมาศึกษากันดูจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการใช้ชีวิตอยู่บนยานอวกาศ หรือสถานีอวกาศนั้น
ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ เลยนะครับ เพราะนอกจากเราจะต้องปรับรูปแบบการใช้ชีวิตทุกอย่างแล้ว ร่างกาย
ของเรายังมีการปรับเปลี่ยนอย่างไม่รู้ตัวด้วย แต่จะมีอะไรบ้างนั้น วันนี้กระปุกดอทคอมขอนาเรื่องราว
เกี่ยวกับชีวิตบนอวกาศมาให้ได้ดูกัน
1. ความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ร่างกายของคนเราจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเข้าสู่สภาวะไร้น้าหนัก โดยเริ่มจากส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น
ประมาณ 5.72 เซนติเมตร (2.25 นิ้ว) ส่วนเหลวต่าง ๆ ในร่างกายก็จะเคลื่อนตัวสู่ศีรษะมากกว่าตอนที่
อยู่บนพื้นดิน ดังนั้นคุณอาจจะเห็นได้ว่ารูปร่างกับหน้าตาของนักบินอวกาศบิดเบี้ยว ผิดรูปไปจากเดิม
เล็กน้อย จากผิวหนังที่เคยเหี่ยวย่นก็กลับเต่งตึง กล้ามเนื้อแขนขาเล็กลงอย่างเห็นได้ชัด
16
2. อาการเมาอวกาศ (Space Adaptation Syndrome)
สภาวะไร้น้าหนักในห้วงอวกาศไม่ได้ทาให้ร่างกายทางกายภาพของเราเปลี่ยนไปเท่านั้น แต่ยัง
ส่งผลกับระบบประสาททางานผิดเพี้ยนด้วย ไม่ว่าจะเป็นระบบสมอง ประสาทการมองเห็น และการ
รับเสียง ทาให้นักบินอวกาศเกิดความสับสน เสียการทรงตัว คลื่นไส้อาเจียน ไม่อยากกินอาหาร โดย
ส่วนใหญ่จะเกิดอาการดังกล่าวในช่วง 2-3 วันแรก ดังนั้นทางองค์การนาซาจึงต้องติดยาไว้กับผิวหนัง
ของนักบินอวกาศในระหว่างนี้ และถอดออกเมื่อร่างกายของพวกเขาสามารถปรับตัวได้แล้ว
ทั้งนี้ ก่อนหน้านี้วุฒิสมาชิกแจ็ค การ์น อดีตนักบินอวกาศ เกิดอาการเมาอวกาศรุนแรงที่สุด
ดังนั้นเพื่อนนักบินอวกาศจึงนาชื่อของเขามาใช้ในการวัดระดับความรุนแรงของอาการ โดยใช้ชื่อว่า
การ์น สเกล (Garn Scale) แต่จากวันนั้นจนกระทั่งตอนนี้ยังไม่มีใครที่มีอาการรุนแรงถึงขั้น 0.1 การ์น
เลยสักราย
17
3. การนอนหลับ
หลาย ๆ คนอาจจะคิดว่า การนอนหลับในห้วงอวกาศเป็นเรื่องง่าย เพราะบรรยากาศรอบตัวราย
ล้อมไปด้วยความมืดมิด แต่ในความเป็นจริงยากเกินกว่าใครจะจินตนาการได้เพราะอย่าลืมว่าพวกเขา
ตกอยู่ในสภาวะไร้น้าหนัก ดังนั้นสิ่งของทุกสิ่งทุกอย่างไม่เว้นแม้กระทั่งที่นอนก็ต้องมีสายระโยง
ระยางสาหรับผูกติดกับผนังของสถานีอวกาศด้วย โดยห้องนอนบนสถานีอวกาศนั้น แยกเป็น 2 ส่วน
คือ ห้องนอนสาหรับนักบินอวกาศที่มาประจาการ กับแบบถุงนอนของนักบินอวกาศที่ขึ้นมาปฏิบัติ
ภารกิจในช่วงสั้น ๆ
นอกจากนี้ นักบินอวกาศยังต้องกะเวลาสาหรับการพักผ่อนของตัวเองด้วย เนื่องจากในหนึ่งวัน
บนห้วงอวกาศนั้นมีจานวนพระอาทิตย์ขึ้น-พระอาทิตย์ตกถึง 16 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะนอนพัก
หลังจากปฏิบัติภารกิจในแต่ละครั้งเสร็จสิ้น และพักเป็นเวลานาน 8 ชั่วโมง โดยในระหว่างที่พวกเขา
นอนก็จะมีเครื่องดูดอากาศ เอาไว้กาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการหายใจด้วย
18
4. การทาความสะอาดร่างกาย
ในสภาวะที่ทุกอย่างลอยตัวอยู่เหนือพื้นดินทาให้ชีวิตประจาวันของนักบินอวกาศยากขึ้นเป็น
เท่าตัว โดยเฉพาะในเวลาที่พวกเขาทาความสะอาดร่างกาย เนื่องจากน้าจะกระจายตัวออกทันทีที่หลุด
จากท่อส่ง และจะไปติดตามส่วนต่าง ๆ ภายในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง ประตู หรืออุปกรณ์ ดังนั้นทาง
องค์การนาซาจึงได้คิดค้นอุปกรณ์ใหม่ขึ้นมา เพื่อให้เข้ากับสภาพไร้น้าหนักมากขึ้น ตัวอย่างเช่น แชมพู
ชนิดที่ไม่ต้องล้างออก แบบเดียวกับที่โรงพยาบาลนามาใช้กับคนไข้ฟองน้าสาหรับขัดตัว มีเพียงแปรง
สีฟันกับที่โกนหนวดเท่านั้นที่ยังคงเหมือนเดิม
19
5. ห้องน้า
ห้องน้าในสถานีอวกาศก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับห้องน้าบนโลกทั่วไป เพียงแต่อาจจะมีความ
แตกต่างกันเล็กน้อยในเรื่องของระบบกาจัดของเสีย โดยห้องน้าของเหล่านักบินอวกาศจะมีท่อดูดของ
เสียไปกักเก็บไว้ในถังเก็บ โดยแยกออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นอุจจาระก็จะส่งไปตาท่ออากาศก่อน
จะปล่อยสู่ห้วงอวกาศทั้งนี้ภายในท่อก็จะมีฟิลเตอร์กรองอากาศ เพื่อกาจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์แต่
สาหรับปัสสาวะจะถูกแยกเอาไว้อีกส่วน ก่อนที่จะส่งไปยังถังเก็บ เพื่อกรองเป็นน้าใช้ทั่วไปอีกครั้ง
20
6. เสื้อผ้า
ชิ้นส่วนของเสื้อผ้าที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเห็นที่คงเป็นชุดของใครไปไม่ได้นอกจากชุดสูทนักบิน
อวกาศ SK-1 ของยูริ กาการิน นักบินอวกาศคนแรกของโลก ผลิตโดย เอ็นพีพี สเวียซด้า ของรัสเซีย ซึ่ง
ชุดดังกล่าวมีน้าหนักประมาณ 122.5 กิโลกรัมเมื่ออยู่บนพื้นโลก และใช้เวลาในการสวมใส่ 45 นาที
แถมยังเป็นสีส้มสด เพื่อให้ง่ายต่อการตามหาตัวเมื่อถึงพื้นดินด้วย ซึ่งแตกต่างกับชุดฟอร์มของนักบิน
ในรุ่นหลัง ๆ ที่มักจะเป็นชุดสีขาวเสียมากกว่า อีกทั้งในสถานีอวกาศยังมีตู้เสื้อผ้าสารองให้ด้วย โดย
ส่วนมากลูกเรือจะเปลี่ยนชุดกันทุก ๆ 3 วัน
อย่างไรก็ดี ตอนนี้ทางนาซามีแผนที่จะสร้างชุดนกบินโดยใช้เศษขยะเหลือทิ้ง จากแผนเดิมที่เคย
วางเอาไว้ว่า จะสร้างชุดนักบินที่มีท่อระบายของเสียไปยังห้องน้าได้โดยตรง
21
7. การออกกาลังกาย
เนื่องจากสภาวะไร้น้าหนักในห้วงอวกาศมีผลให้กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ในร่างกายลีบเล็กลง
เพราะไม่ต้องรับน้าหนักกับสิ่งใดเลย ดังนั้นเหล่านักบินอวกาศจึง "จาเป็น" ต้องออกกาลังกาย เพื่อ
รักษามวลกล้ามเนื้อเอาไว้อยู่เสมอ อย่างน้อยวันละ 2 ชั่วโมงครึ่ง โดยจะเน้นกล้ามเนื้อแขนกับขาเป็น
หลัก นอกจากนี้แล้วยังเป็นการกระตุ้นการสร้างมวลกระดูกพร้อมกับเรียกความแข็งแรงกลับมาด้วย
22
8. อาการท้องอืด
อาการท้องอืดนอกจากจะทาให้เรารู้สึกอึดอัดไม่สบายตัวแล้ว ยังทาให้การทากิจกรรมต่าง ๆ
ยากลาบากมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในห้วงอวกาศ ดังนั้นในปีค.ศ. 1969 นาซาจึงได้คิดค้น
ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อว่า "Intestinal hydrogen and methane of men fed space diet" เพื่อลดกลิ่นไม่พึง
ประสงค์ที่เกิดจากการย่อยอาหารในลาไส้
โดยในปัจจุบันการรักษาอาการดังกล่าวไม่ได้ยุ่งยากเหมือนแต่ก่อน และลดความเสี่ยงต่าง ๆ ลง
แต่ยังคงให้ความสาคัญกับสารอาหารที่ร่างกายของนักบินอวกาศต้องการอยู่เช่นเดิม
23
9. อวกาศเป็นอันตรายต่อสมอง
สภาวะไร้น้าหนักในอวกาศไม่ได้ทาลายแค่กล้ามเนื้อเท่านั้น แต่ยังส่งผลร้ายต่อสมองด้วย
โดยเฉพาะนักบินอวกาศที่ออกสารวจบนดาวต่าง ๆ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากรังสีคอสมิกที่
แพร่กระจายอยู่ในห้วงอวกาศโดยตรง เพราะไม่มีสิ่งใดปกป้อง แตกต่างจากบนโลกที่มีชั้นบรรยากาศ
คอยปกป้องผู้คนให้ปลอดภัยจากรังสีดังกล่าว ฉะนั้นนักบินอวกาศส่วนใหญ่จึงเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัล
ไซเมอร์สูงกว่าคนปกติทั่วไป
24
10. เชื้อโรคตัวอันตราย
ทั้งจุลินทรีย์ แบคทีเรีย และเชื้อโรคต่าง ๆ ถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ในห้วงอวกาศเลยทีเดียว เพราะ
ถ้าหากพวกมันอยู่ในช่วงที่มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ก็จะสร้างความเสียหายให้กับเครื่องมือ อุปกรณ์
ที่อยู่ในยานอวกาศและสถานีอวกาศเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังอันตรายกับร่างกายของนักบินด้วย
แม้ว่าจะผ่านการฆ่าเชื้อก่อนทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศแล้วก็ตาม
อย่างไรก็ดี เชื้อโรคเหล่านี้จะไม่เจริญเติบโตในสภาวะไร้น้าหนัก ยกเว้นบริเวณที่มีความชื้น เชื้อ
โรคก็จะอาศัยจุดนี้พัฒนาตัวเองขึ้นมา ก่อนจะแพร่พันธุ์ไปยังส่วนอื่น ๆ ของยานหรือสถานีอวกาศ ทั้ง
อุปกรณ์ภายในและนักบินทั้งหมด
ใช้ชีวิตบนโลกว่ายากแล้ว แต่การใช้ชีวิตบนห้วงอวกาศแบบนักบินอวกาศที่ถูกส่งขึ้นไปปฏิบัติ
ในห้วงอวกาศเป็นเรื่องที่ยากยิ่งกว่า เพราะไม่เพียงแต่จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาวะไร้น้าหนักเท่านั้น
แต่ยังต้องต่อสู้และฝึกตัวเองให้สมบูรณ์พร้อมเสมอ ทั้งร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังต้องปกป้องตัวเอง
จากโรคภัยต่าง ๆ ที่มีความรุนแรงมากกว่าด้วย
25
วิธีดาเนินงาน
1. แนวทางการดาเนินงาน
2. กาหนดหัวข้อโครงงาน
3. เลือกหัวข้อโครงงาน
4. รวบรวมรายละเอียดและหัวข้อโครงงาน
5. ค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆเพิ่มเติม
6. สรุปและจัดทาโครงงาน
7. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด
8. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ท/หนังสือ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน / มธุรดา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / มธุรดา
3 จัดทาโครงร่างงาน / มธุรดา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
/ มธุรดา
5 ปรับปรุงทดสอบ / มธุรดา
6 การทาเอกสารรายงาน / มธุรดา
7 ประเมินผลงาน / มธุรดา
8 นาเสนอโครงงาน / มธุรดา
26
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพิ่มความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตบนอวกาศแก่ผู้ศึกษา
2.สามารถให้ผู้ศึกษานาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านที่ตนเองสนใจได้
3.สามารถนาสื่อนี้ไปใช้เป็นการสื่อเรียนได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
โลกและอวกาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.lesa.biz/space-technology/spacecraft
(วันที่ค้นข้อมูล: 25 มกราคม 2559)
การใช้ชีวิตบนอวกาศ.เข้าถึงได้จาก : http://men.kapook.com/view69828.html
(วันที่ค้นข้อมูล: 25 มกราคม 2559)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)Pongpan Pairojana
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานKanin Thejasa
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5Porshe Hope
 

What's hot (20)

ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นม.5
 

Similar to การใช้ชีวิตในอวกาศ

แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์Thanthup Zied
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)pimnarayrc
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)jinoom
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯpimnarayrc
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Rapol
 
แบบร างนำเสนอโครงงาน
แบบร างนำเสนอโครงงานแบบร างนำเสนอโครงงาน
แบบร างนำเสนอโครงงานpuisunisa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานMu PPu
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์Chayaporn Jongjumnien
 
The butterfly-effect
The butterfly-effectThe butterfly-effect
The butterfly-effectKPainapa
 

Similar to การใช้ชีวิตในอวกาศ (20)

My project1
My project1My project1
My project1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
TRAPPIST-1
TRAPPIST-1TRAPPIST-1
TRAPPIST-1
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
Kkk
KkkKkk
Kkk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร างนำเสนอโครงงาน
แบบร างนำเสนอโครงงานแบบร างนำเสนอโครงงาน
แบบร างนำเสนอโครงงาน
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project
ProjectProject
Project
 
Solarstystempp
SolarstystemppSolarstystempp
Solarstystempp
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
 
The butterfly-effect
The butterfly-effectThe butterfly-effect
The butterfly-effect
 

การใช้ชีวิตในอวกาศ

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน...การใช้ชีวิตบนอวกาศ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อาภาพร เตชะตา เลขที่ 35 ม.6/3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม … นางสาว อาภาพร เตชะตา เลขที่ 35 ม.6/3 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การใช้ชีวิตในอวกาศ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) live in space ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อาภาพร เตชะตา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน26 มกราคม – 31 มกราคม 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน หลายคนคงเคยจินตนาการถึงการท่องเที่ยวไปในอวกาศ แต่จากการอยู่ในสภาพที่ไร้น้าหนัก ของมนุษย์กับการโคจรรอบโลก ทาให้การใช้ชีวิตมีความแตกต่างกับการอยู่บนโลกซึ่งอยู่ในสภาพที่มี น้าหนักอย่างมาก ผู้จัดทาจึงเกิดความสนใจในการใช้ชีวิตในอวกาศ และได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล ตั้งแต่การเกิดสุริยะของเราไปจนถึงการใช้ชีวิตในอวกาศ จากการได้ศึกษาค้นคว้านั้นผู้จัดทาจึงอยาก เผยแพร่ข้อมูลการใช้ชีวิตในอวกาศที่ได้ศึกษาเพื่อผู้ที่สนใจ หรือพเมพูนความรู้ต่างๆ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการใช้ชีวิตบนอวกาศ 2.เพื่อให้ผู้ศึกษานาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 3.เพื่อสามารถนาสื่อนี้ไปใช้เป็นการเรียนการสอนหรือไปเป็นองค์ความรู้ให้กับผู้ที่สนใจ ขอบเขตโครงงาน 1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอวกาศ 2.โลกและอวกาศ 3.การใช้ชีวิตบนอวกาศ 4.นอกอวกาศ 5.จรวด 6.ยานอวกาศ หลักการและทฤษฎี กาเนิดระบบสุริยะ ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและก๊าซในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar Nebula) รวมตัว กันเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว (นักวิทยาศาสตร์คานวณจากอัตราการหลอมรวมไฮโดรเจนเป็น ฮีเลียมภายในดวงอาทิตย์) เมื่อสสารมากขึ้น แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลสารมากขึ้นตามไปด้วย กลุ่มฝุ่น ก๊าซยุบตัวหมุนเป็นรูปจานตามหลักอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ดังภาพที่ 1 แรงโน้มถ่วงที่ใจกลางสร้าง แรงกดดันมากทาให้ก๊าซมีอุณหภูมิสูงพอที่จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมอะตอมของ ไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดวงอาทิตย์จึงถือกาเนิดเป็นดาวฤกษ์
  • 4. 4 ภาพที่ 1 กาเนิดระบบสุริยะ วัสดุชั้นรอบนอกของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่ากว่า ยังโคจรไปตามโมเมนตัมที่มีอยู่เดิม รอบดวง อาทิตย์เป็นชั้นๆ มวลสารของแต่ละชั้นพยายามรวมตัวกันด้วยแรงโน้มถ่วง ด้วยเหตุนี้ดาวเคราะห์จึง ถือกาเนิดขึ้นเป็นรูปทรงกลม เนื่องจากมวลสารพุ่งใส่กันจากทุกทิศทาง อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงทาให้วัสดุที่อยู่รอบๆ พยายามพุ่งเข้าหาดาวเคราะห์ ถ้าทิศทางของการ เคลื่อนที่มีมุมลึกพอ ก็จะพุ่งชนดาวเคราะห์ทาให้ดาวเคราะห์นั้นมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมวล รวมกัน แต่ถ้ามุมของการพุ่งชนตื้นเกินไป ก็จะทาให้แฉลบเข้าสู่วงโคจร และเกิดการรวมตัวต่างหาก กลายเป็นดวงจันทร์บริวาร ดังเราจะเห็นได้ว่า ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี จะมีดวง จันทร์บริวารหลายดวงและมีวงโคจรหลายชั้น เนื่องจากมีมวลสารมากและแรงโน้มถ่วงมหาศาล ต่าง กับดาวพุธซึ่งมี ขนาดเล็กมีแรงโน้มถ่วงน้อย ไม่มีดวงจันทร์บริวารเลย วัสดุที่อยู่โดยรอบจะพุ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ เพราะ มีแรงโน้มถ่วงมากกว่าเยอะ องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์(The Sun) เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ตรงตาแหน่งศูนย์กลางของระบบสุริยะและเป็นศูนย์กลาง ของแรงโน้มถ่วง ทาให้ดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ
  • 5. 5 ภาพที่ 2 ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก มีความหนาแน่นสูงและพื้นผิวเป็น ของแข็ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธาตุหนัก มีบรรยากาศอยู่เบาบาง ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลจากความร้อนของ ดวงอาทิตย์และลมสุริยะ ทาให้ธาตุเบาเสียประจุ ไม่สามารถดารงสถานะอยู่ได้ ดาวเคราะห์ชั้นใน บางครั้งเรียกว่า ดาวเคราะห์พื้นแข็ง “Terrestrial Planets"เนื่องจากมีพื้นผิวเป็นของแข็งคล้ายคลึง กับโลก ดาวเคราะห์ชั้นในมี 4 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ แต่มีความหนาแน่นต่า เกิดจาก การสะสมตัวของธาตุเบาอย่างช้าๆ ทานองเดียวกับการก่อตัวของก้อนหิมะ เนื่องจากได้รับอิทธิพล ของ ความร้อนและลมสุริยะจากดวงอาทิตย์เพียงเล็กน้อย ดาวเคราะห์พวกนี้จึงมีแก่นขนาดเล็กห่อหุ้มด้วย ก๊าซจานวนมหาสาร บางครั้งเราเรียกดาวเคราะห์ประเภทนี้ว่า ดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์(Gas Giants) หรือ Jovian Planets ซึ่งหมายถึงดาวเคราะห์ที่มีคุณสมบัติคล้ายดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์ชั้นนอกมี 4 ดวง คือ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ดวงจันทร์บริวาร (Satellites) โลกมิใช่ดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่มีดวงจันทร์บริวาร โลกมีบริวาร ชื่อว่า “ดวงจันทร์” (The Moon) ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีบริวารเช่นกัน เช่น ดาวพฤหัสบดีมี ดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวงชื่อ ไอโอ (Io), ยูโรปา (Europa), กันนีมีด (ganymede) และคัลลิสโต (Callisto) ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ถือกาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน เพียงแต่ดวงจันทร์มิได้รวมตัวกับ ดาวเคราะห์โดยตรง แต่ก่อตัวขึ้นภายในวงโคจรของดาวเคราะห์ เราจะสังเกตได้ว่า หากมองจาก ด้านบน
  • 6. 6 ของระบบสุริยะ จะเห็นได้ว่า ทั้งดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ส่วนใหญ่ จะหมุนรอบ ตัวเองในทิศทวนเข็มนาฬิกา และโคจรรอบดวงทิตย์ในทิศทวนเข็มนาฬิกาเช่นกันหากมองจาก ด้านข้างของ ระบบสุริยะก็จะพบว่า ทั้งดวงอาทิตย์ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์บริวาร จะอยู่ในระนาบที่ใกล้เคียง กับ สุริยะวิถีมาก ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากระบบสุริยะทั้งระบบ ก็กาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน โดยการยุบและหมุนตัว ของจานฝุ่น ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) เป็นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) ที่กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม แต่มีวงโคจร เป็นรูปรี ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยะวิถี ซึ่งได้แก่ ซีรีส พัลลาส พลูโต และดาวที่เพิ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วารูนา เป็นต้น (ดูภาพที่ 3 ประกอบ) ภาพที่ 3 ขนาดของดาวเคราะห์แคระเปรียบเทียบกับโลก (ที่มา: NASA, JPL) ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) เกิดจากวัสดุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากแรง รบกวนจากดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดังเราจะพบว่า ประชากรของ ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่อยู่ที่ “แถบดาวเคราะห์น้อย” (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ระหว่างวงโคจรของดาว อังคารและดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แคระเช่น เซเรส ก็เคยจัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ ที่สุด (เส้นผ่านศูนย์กลาง 900 กิโลเมตร) ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่จะมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็น รูปรีมาก และไม่อยู่ในระนาบสุริยะวิถี ขณะนี้มีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยแล้วประมาณ 3 แสนดวง
  • 7. 7 ภาพที่ 4 แถบดาวเคราะห์น้อย (ที่มา: Pearson Prentice Hall, Inc) ดาวหาง (Comets) เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็น วงยาวรีมาก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซในสถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวง อาทิตย์ความร้อนจะให้มวลของมันระเหิดกลายเป็นก๊าซ ลมสุริยะเป่าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่งออกไปในทิศ ทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์กลายเป็นหาง วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) เป็นวัตถุที่หนาวเย็นเช่นเดียวกับดาวหาง แต่มีวงโคจร อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครั้งจึงเรียกว่า Trans Neptune Objects ทั้งนี้แถบคุยเปอร์จะอยู่ใน ระนาบของสุริยะวิถี โดยมีระยะห่างออกไปตั้งแต่ 40 – 500 AU (AU ย่อมาจาก Astronomical Unit หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับระยะทางระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์หรือ 150 ล้านกิโลเมตร) ดาว พลูโตเองก็จัดว่าเป็นวัตถุในแถบคุยเปอร์ รวมทั้งดาวเคราะห์แคระซึ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วา รูนา เป็นต้น ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุในแถบไคเปอร์แล้วมากกว่า 35,000 ดวง
  • 8. 8 ภาพที่ 5 แถบไคเปอร์ และวงโคจรของดาวพลูโต (ที่มา: NASA, JPL) เมฆออร์ท (Oort Cloud) เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ท (Jan Oort) ซึ่งเชื่อว่า ณ สุดขอบของระบบสุริยะ รัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์ ระบบ สุริยะ ของเราห่อหุ้มด้วยวัสดุก๊าซแข็ง ซึ่งหากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมากระทบกระเทือน ก๊าซแข็ง เหล่านี้ก็จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long- period comets)
  • 9. 9 ภาพที่ 6 ตาแหน่งของแถบไคเปอร์และเมฆออร์ท (ที่มา: NASA, JPL) กาเนิดโลก เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe)อุบัติขึ้นเมื่อประมาณ 13,000 ล้านปีมาแล้ว ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง ธาตุแรกที่เกิดขึ้นคือ ไฮโดรเจน ซึ่งประกอบขึ้นอย่างเรียบง่ายด้วยโปรตอนและอิเล็คตรอนอย่างละตัว ไฮโดรเจน จึงเป็นธาตุที่มีอยู่มากที่สุดในจักรวาล เมื่อไฮโดรเจนเกาะกลุ่มกันจนเป็นกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่ เรียกว่า เนบิวลา (Nebula) แรงโน้มถ่วงที่ศูนย์กลางทาให้กลุ่มแก๊สยุบตัวกันจนเกิดปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดาวฤกษ์จึงกาเนิดขึ้น เมื่อดาวฤกษ์เผา ผลาญไฮโดรเจนจนหมด ก็จะเกิดฟิวชันฮีเลียม เกิดธาตุลาดับต่อไป ได้แก่ คาร์บอน ออกซิเจน ซิลิกอน และเหล็ก (เรียงลาดับในตารางธาตุ) ธาตุเหล่านี้จึงเป็นธาตุสามัญและพบอยู่มากมาย บนโลก ในท้ายที่สุดเมื่อดาวฤกษ์ขนาดใหญ่สิ้นอายุขัย ก็จะระเบิดเป็นซูเปอร์โนวา เกิดธาตุ หนักที่หายากในลาดับต่อมา เช่น เงิน ทอง เป็นต้น ธาตุเหล่านี้จึงเป็นธาตุที่หายากบนโลก การเวียนว่ายตายเกิดของดาวฤกษ์เกิดขึ้นหลายรอบ และครั้งสุดท้ายเมื่อ ประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มแก๊สในเอกภพบริเวณนี้ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงชื่อ ว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่าหมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่ม
  • 10. 10 แก๊สยุบตัวและหมุนรอบตัวเอง ใจกลางมีความร้อนสูงมากจนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิว ชัน กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ชื่อว่าดวงอาทิตย์ส่วนวัสดุที่อยู่รอบๆ มีอุณหภูมิต่ากว่า รวมตัว ตามลาดับชั้นกลายเป็นดาวเคราะห์ทั้งหลาย โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ภาพที่ 1) และเศษวัสดุที่ โคจรรอบดาวเคราะห์ก็รวมตัวเป็นดวงจันทร์บริวาร ภาพที่ 1 กาเนิดระบบสุริยะ โลกในยุคแรกเป็นหินหนืดร้อน ถูกกระหน่าชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบ ซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่นเหล็กและนิเกิลจมตัวลงสู่แก่นกลางของโลก ขณะที่องค์ประกอบที่เบา กว่า เช่น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือกนอกธาตุและสารประกอบที่เบามาก เช่น ไฮโดรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้า พยายามแทรกตัวออกจากพื้นผิวกลายเป็นบรรยากาศ เมื่อโลก เย็นลงเปลือกนอกตกผลึกเป็นแร่และหิน ไอน้าในอากาศควบแน่นเกิดฝน น้าฝนได้ละลาย คาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพื้นผิว ไหลลงทะเลและมหาสมุทร สองพันล้านปีต่อมา การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ได้ตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาสังเคราะห์ด้วย แสง สร้างอาหารและพลังงาน แล้วปล่อยผลผลิตเป็นแก๊สออกซิเจนออกมา แก๊สออกซิเจนที่ ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศชั้นบน แล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว และรวมตัวกับ ออกซิเจนอะตอมคู่ที่มีอยู่เดิมกลายเป็นแก๊สโอโซน ซึ่งช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีอุลตราไว โอเล็ต นับตั้งแต่นั้นมาทาให้สิ่งมีชีวิตบนบกก็ทวีจานวนมากขึ้น ออกซิเจนจึงมีบทบาทสาคัญ ต่อการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลกในเวลาต่อมา (ภาพที่ 2) สัดส่วนของสิ่งมีชีวิตเช่นพืชและ
  • 11. 11 สัตว์เป็นปัจจัยควบคุมปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจนในบรรยากาศ และควบคุม ภาวะเรือนกระจกให้อยู่ในสภาวะสมดุล ท่านสามารถติดตามวิวัฒนาการของโลกได้โดยดูจาก ธรณีประวัติ ภาพที่ 2 วิวัฒนาการของโลก ระบบโลก (Earth System) โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Dynamic Planet) ในอดีต นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโลกแบบแยกส่วน นักธรณีวิทยาศึกษาเปลือกโลกที่เป็นของแข็ง นัก สมุทรศาสตร์ศึกษาทะเลและมหาสมุทร นักอุตุนิยมวิทยาศึกษาบรรยากาศ นักชีววิทยาศึกษา สิ่งมีชีวิต ขณะที่นักดาราศาสตร์ศึกษาดาวบนท้องฟ้ า แต่เมื่อเกิดปรากฏการณ์เช่น เอลนีโญ ซึ่ง เป็นปรากการณ์ที่เกี่ยวเนื่องทั้งแผ่นดิน มหาสมุทร บรรยากาศ สิ่งมีชีวิต และพลังงานจากดวง อาทิตย์ก็ไม่มีใครหาคาตอบได้ จนกระทั่งไม่กี่ทศวรรษมานี้เอง นักวิทยาศาสตร์ตระหนักได้ ว่า การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโลกจะต้องมองโลกให้เป็นระบบ (ภาพที่ 1) อย่างไรก็ตาม ในการเขียนตาราเรียนจาต้องเรียงแบบอนุกรม นาเสนอโลกทีละภาคส่วน ดังนี้ ธรณีภาค (Lithosphere) เปลือกโลกในส่วนที่เป็นของแข็ง อุทกภาค (Hydrosphere) น้าที่ห่อหุ้มโลก อากาศภาค (Atmoshere) บรรยากาศที่ห้อหุ้มโลก ชีวภาค (Biosphere) สิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลกทั้งบนบกและในมหาสมุทร การเปลี่ยนแปลงสภาวะของโลก (Global Change) การปรับสมดุลพลังงานของโลก
  • 12. 12 ภาพที่ 1 ระบบโลก เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีทั้งเปลี่ยนแปลงเป็นคาบเวลาระยะสั้นและ ระยะยาว การทาความเข้าใจโลก จึงเป็นต้องศึกษากาเนิดโลก ยานอวกาศ ยานอวกาศ (Spacecraft) หมายถึง ยานพาหนะที่นามนุษย์หรืออุปกรณ์อัตโนมัติขึ้นไปสู่ อวกาศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจโลกหรือเดินทางไปยังดาวดวงอื่น ยานอวกาศ มี 2 ประเภท คือ ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม และยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม (Manned Spacecraft) มีขนาดใหญ่ เพราะต้องมีปริมาตร พอที่มนุษย์อยู่อาศัยได้และยังต้องบรรทุกปัจจััยต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ เช่น อากาศ อาหาร และเครื่องอานวยความสะดวกในการยังชีพ เช่น เตียงนอน ห้องน้า ดังนั้นยานอวกาศที่มี มนุษย์ควบคุมจึงมีมวลมาก การขับดันยานอวกาศที่มีมวลมากให้มีอัตราเร่งสูงจาเป็นต้องใช้ จรวดที่บรรทุกเชื้อเพลิงจานวนมาก ซึ่งทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงมาก ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม ได้แก่ ยานอะพอลโล (Apollo) ซึ่งนามนุษย์ไปยังดวงจันทร์
  • 13. 13 ภาพที่ 1 ยานอะพอลโล (ที่มา: NASA) ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม (Unmanned Spacecraft) มีขนาดเล็กมากเมื่อเปรียบเทียบ กับยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม ยานอวกาศชนิดนี้มีมวลน้อยไม่จาเป็นต้องใช้จรวดนาส่ง ขนาดใหญ่ จึงมีความประหยัดเชื้อเพลิงมาก อย่างไรก็ตามในการควบคุมยานในระยะไกลไม่ สามารถใช้วิทยุควบคุมได้เนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต้องใช้เวลาในการเดินทาง ยกตัวอย่าง เช่น ดาวเสาร์อยู่ไกลจากโลกประมาณ 1 พันล้านกิโลเมตร หรือ 1 ชั่วโมงแสง หากส่ง คลื่นวิทยุไปยังดาวเสาร์ คลื่นวิทยุต้องใช้เวลานานถึง 1 ชั่วโมง ดังนั้นการควบคุมให้ยานเลี้ยว หลบหลีกก้อนน้าแข็งบริเวณวงแหวนจะไม่ทัน ยานอวกาศประเภทนี้จึงต้องมีสมองกล คอมพิวเตอร์และระบบซอฟต์แวร์ซึ่งฉลาดมาก เพื่อให้ยานอวกาศสามารถต้องปฏิบัติภารกิจ ได้เองทุกประการและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ทันท่วงที เหตุผลอีกส่วนหนึ่งที่ นักวิทยาศาสตร์นิยมใช้ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุมในงานสารวจระยะบุกเบิกและการ เดินทางระยะไกล เนื่องจากการออกแบบยานไม่ต้องคานึงถึงปัจจัยในการดารงชีวิต ทาให้ยาน สามารถเดินทางระยะไกลได้เป็นระยะเวลานานนอกเหนือขีดจากัดของมนุษย์ ยานอวกาศที่ ไม่มีมนุษย์ควบคุมได้แก่ ยานแคสินี (Cassini spacecraft) ซึ่งใช้สารวจดาวเสาร์ เป็นต้น ภาพที่ 2 ยานแคสสีนี (ที่มา: NASA) ยุคอวกาศเริ่มขึ้นเมื่อสหภาพส่งดาวเทียมสปุตนิก 1 (Sputnik 1) ขึ้นสู่อวกาศในปี พ.ศ.
  • 14. 14 2500 หลังจากนั้นการแข่งขันทางอวกาศในยุคสมัยของสงครามเย็นก็เริ่มขึ้น ดาวเทียมที่ถูกส่ง ขึ้นสู่อวกาศเป็นลาดับที่ 2 ไม่ใช่ของสหรัฐอเมริกา แต่เป็นดาวเทียมสปุตนิก 2 (Sputnik 2) และสุนัขชื่อ ไลก้า (Laika) ของสหภาพโซเวียต และนักบินอวกาศคนแรกของโลกเป็นเป็น ชาวรัสเซียชื่อ ยูริ กาการิน (Yuri Gagarin) ขึ้นสู่วงโคจรโลกด้วยยานอวกาศวอสต็อก (Vostok) ในปี พ.ศ.2504 ด้วยเหตุนี้ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ เคเนดี้ จึงสนับสนุนโครงการอะพอลโล ขององค์การ NASA จนนักบินอวกาศคนแรกที่เหยียบพื้นผิวดวงจันทร์คือ นีล อาร์มสตรอง (Neil Armstrong) โดยยานอะพอลโล 11 (Apollo 11) เมื่อปี พ.ศ.2512 จนกระทั่งสงครามเย็น สิ้นสุดลง ประเทศมหาอานาจต่างๆ ได้ร่วมมือกันก่อสร้างสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station) หรือ ISS ขึ้นไปโคจรรอบโลกตั้งแต่ปี พ.ศ.2541 เป็นต้นมา ภาพที่ 3 สถานีอวกาศนานาชาติ (ที่มา: NASA)
  • 15. 15 การใช้ชีวิตบนอวกาศ เวลาที่เห็นภาพของนักบินอวกาศลอยตัวเบาเหินอยู่บนสถานีอวกาศ เชื่อว่าคงมีคนจานวนไม่ น้อยที่รู้สึกไม่ต่างกันว่า อยากจะลองขึ้นไปสัมผัสประสบการณ์ไร้น้าหนักแบบนั้นบ้างจังเลย คงสนุก น่าดู แต่หากลองมาศึกษากันดูจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการใช้ชีวิตอยู่บนยานอวกาศ หรือสถานีอวกาศนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ เลยนะครับ เพราะนอกจากเราจะต้องปรับรูปแบบการใช้ชีวิตทุกอย่างแล้ว ร่างกาย ของเรายังมีการปรับเปลี่ยนอย่างไม่รู้ตัวด้วย แต่จะมีอะไรบ้างนั้น วันนี้กระปุกดอทคอมขอนาเรื่องราว เกี่ยวกับชีวิตบนอวกาศมาให้ได้ดูกัน 1. ความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ร่างกายของคนเราจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเข้าสู่สภาวะไร้น้าหนัก โดยเริ่มจากส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น ประมาณ 5.72 เซนติเมตร (2.25 นิ้ว) ส่วนเหลวต่าง ๆ ในร่างกายก็จะเคลื่อนตัวสู่ศีรษะมากกว่าตอนที่ อยู่บนพื้นดิน ดังนั้นคุณอาจจะเห็นได้ว่ารูปร่างกับหน้าตาของนักบินอวกาศบิดเบี้ยว ผิดรูปไปจากเดิม เล็กน้อย จากผิวหนังที่เคยเหี่ยวย่นก็กลับเต่งตึง กล้ามเนื้อแขนขาเล็กลงอย่างเห็นได้ชัด
  • 16. 16 2. อาการเมาอวกาศ (Space Adaptation Syndrome) สภาวะไร้น้าหนักในห้วงอวกาศไม่ได้ทาให้ร่างกายทางกายภาพของเราเปลี่ยนไปเท่านั้น แต่ยัง ส่งผลกับระบบประสาททางานผิดเพี้ยนด้วย ไม่ว่าจะเป็นระบบสมอง ประสาทการมองเห็น และการ รับเสียง ทาให้นักบินอวกาศเกิดความสับสน เสียการทรงตัว คลื่นไส้อาเจียน ไม่อยากกินอาหาร โดย ส่วนใหญ่จะเกิดอาการดังกล่าวในช่วง 2-3 วันแรก ดังนั้นทางองค์การนาซาจึงต้องติดยาไว้กับผิวหนัง ของนักบินอวกาศในระหว่างนี้ และถอดออกเมื่อร่างกายของพวกเขาสามารถปรับตัวได้แล้ว ทั้งนี้ ก่อนหน้านี้วุฒิสมาชิกแจ็ค การ์น อดีตนักบินอวกาศ เกิดอาการเมาอวกาศรุนแรงที่สุด ดังนั้นเพื่อนนักบินอวกาศจึงนาชื่อของเขามาใช้ในการวัดระดับความรุนแรงของอาการ โดยใช้ชื่อว่า การ์น สเกล (Garn Scale) แต่จากวันนั้นจนกระทั่งตอนนี้ยังไม่มีใครที่มีอาการรุนแรงถึงขั้น 0.1 การ์น เลยสักราย
  • 17. 17 3. การนอนหลับ หลาย ๆ คนอาจจะคิดว่า การนอนหลับในห้วงอวกาศเป็นเรื่องง่าย เพราะบรรยากาศรอบตัวราย ล้อมไปด้วยความมืดมิด แต่ในความเป็นจริงยากเกินกว่าใครจะจินตนาการได้เพราะอย่าลืมว่าพวกเขา ตกอยู่ในสภาวะไร้น้าหนัก ดังนั้นสิ่งของทุกสิ่งทุกอย่างไม่เว้นแม้กระทั่งที่นอนก็ต้องมีสายระโยง ระยางสาหรับผูกติดกับผนังของสถานีอวกาศด้วย โดยห้องนอนบนสถานีอวกาศนั้น แยกเป็น 2 ส่วน คือ ห้องนอนสาหรับนักบินอวกาศที่มาประจาการ กับแบบถุงนอนของนักบินอวกาศที่ขึ้นมาปฏิบัติ ภารกิจในช่วงสั้น ๆ นอกจากนี้ นักบินอวกาศยังต้องกะเวลาสาหรับการพักผ่อนของตัวเองด้วย เนื่องจากในหนึ่งวัน บนห้วงอวกาศนั้นมีจานวนพระอาทิตย์ขึ้น-พระอาทิตย์ตกถึง 16 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะนอนพัก หลังจากปฏิบัติภารกิจในแต่ละครั้งเสร็จสิ้น และพักเป็นเวลานาน 8 ชั่วโมง โดยในระหว่างที่พวกเขา นอนก็จะมีเครื่องดูดอากาศ เอาไว้กาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการหายใจด้วย
  • 18. 18 4. การทาความสะอาดร่างกาย ในสภาวะที่ทุกอย่างลอยตัวอยู่เหนือพื้นดินทาให้ชีวิตประจาวันของนักบินอวกาศยากขึ้นเป็น เท่าตัว โดยเฉพาะในเวลาที่พวกเขาทาความสะอาดร่างกาย เนื่องจากน้าจะกระจายตัวออกทันทีที่หลุด จากท่อส่ง และจะไปติดตามส่วนต่าง ๆ ภายในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง ประตู หรืออุปกรณ์ ดังนั้นทาง องค์การนาซาจึงได้คิดค้นอุปกรณ์ใหม่ขึ้นมา เพื่อให้เข้ากับสภาพไร้น้าหนักมากขึ้น ตัวอย่างเช่น แชมพู ชนิดที่ไม่ต้องล้างออก แบบเดียวกับที่โรงพยาบาลนามาใช้กับคนไข้ฟองน้าสาหรับขัดตัว มีเพียงแปรง สีฟันกับที่โกนหนวดเท่านั้นที่ยังคงเหมือนเดิม
  • 19. 19 5. ห้องน้า ห้องน้าในสถานีอวกาศก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับห้องน้าบนโลกทั่วไป เพียงแต่อาจจะมีความ แตกต่างกันเล็กน้อยในเรื่องของระบบกาจัดของเสีย โดยห้องน้าของเหล่านักบินอวกาศจะมีท่อดูดของ เสียไปกักเก็บไว้ในถังเก็บ โดยแยกออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็นอุจจาระก็จะส่งไปตาท่ออากาศก่อน จะปล่อยสู่ห้วงอวกาศทั้งนี้ภายในท่อก็จะมีฟิลเตอร์กรองอากาศ เพื่อกาจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์แต่ สาหรับปัสสาวะจะถูกแยกเอาไว้อีกส่วน ก่อนที่จะส่งไปยังถังเก็บ เพื่อกรองเป็นน้าใช้ทั่วไปอีกครั้ง
  • 20. 20 6. เสื้อผ้า ชิ้นส่วนของเสื้อผ้าที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเห็นที่คงเป็นชุดของใครไปไม่ได้นอกจากชุดสูทนักบิน อวกาศ SK-1 ของยูริ กาการิน นักบินอวกาศคนแรกของโลก ผลิตโดย เอ็นพีพี สเวียซด้า ของรัสเซีย ซึ่ง ชุดดังกล่าวมีน้าหนักประมาณ 122.5 กิโลกรัมเมื่ออยู่บนพื้นโลก และใช้เวลาในการสวมใส่ 45 นาที แถมยังเป็นสีส้มสด เพื่อให้ง่ายต่อการตามหาตัวเมื่อถึงพื้นดินด้วย ซึ่งแตกต่างกับชุดฟอร์มของนักบิน ในรุ่นหลัง ๆ ที่มักจะเป็นชุดสีขาวเสียมากกว่า อีกทั้งในสถานีอวกาศยังมีตู้เสื้อผ้าสารองให้ด้วย โดย ส่วนมากลูกเรือจะเปลี่ยนชุดกันทุก ๆ 3 วัน อย่างไรก็ดี ตอนนี้ทางนาซามีแผนที่จะสร้างชุดนกบินโดยใช้เศษขยะเหลือทิ้ง จากแผนเดิมที่เคย วางเอาไว้ว่า จะสร้างชุดนักบินที่มีท่อระบายของเสียไปยังห้องน้าได้โดยตรง
  • 21. 21 7. การออกกาลังกาย เนื่องจากสภาวะไร้น้าหนักในห้วงอวกาศมีผลให้กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ในร่างกายลีบเล็กลง เพราะไม่ต้องรับน้าหนักกับสิ่งใดเลย ดังนั้นเหล่านักบินอวกาศจึง "จาเป็น" ต้องออกกาลังกาย เพื่อ รักษามวลกล้ามเนื้อเอาไว้อยู่เสมอ อย่างน้อยวันละ 2 ชั่วโมงครึ่ง โดยจะเน้นกล้ามเนื้อแขนกับขาเป็น หลัก นอกจากนี้แล้วยังเป็นการกระตุ้นการสร้างมวลกระดูกพร้อมกับเรียกความแข็งแรงกลับมาด้วย
  • 22. 22 8. อาการท้องอืด อาการท้องอืดนอกจากจะทาให้เรารู้สึกอึดอัดไม่สบายตัวแล้ว ยังทาให้การทากิจกรรมต่าง ๆ ยากลาบากมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในห้วงอวกาศ ดังนั้นในปีค.ศ. 1969 นาซาจึงได้คิดค้น ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อว่า "Intestinal hydrogen and methane of men fed space diet" เพื่อลดกลิ่นไม่พึง ประสงค์ที่เกิดจากการย่อยอาหารในลาไส้ โดยในปัจจุบันการรักษาอาการดังกล่าวไม่ได้ยุ่งยากเหมือนแต่ก่อน และลดความเสี่ยงต่าง ๆ ลง แต่ยังคงให้ความสาคัญกับสารอาหารที่ร่างกายของนักบินอวกาศต้องการอยู่เช่นเดิม
  • 23. 23 9. อวกาศเป็นอันตรายต่อสมอง สภาวะไร้น้าหนักในอวกาศไม่ได้ทาลายแค่กล้ามเนื้อเท่านั้น แต่ยังส่งผลร้ายต่อสมองด้วย โดยเฉพาะนักบินอวกาศที่ออกสารวจบนดาวต่าง ๆ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากรังสีคอสมิกที่ แพร่กระจายอยู่ในห้วงอวกาศโดยตรง เพราะไม่มีสิ่งใดปกป้อง แตกต่างจากบนโลกที่มีชั้นบรรยากาศ คอยปกป้องผู้คนให้ปลอดภัยจากรังสีดังกล่าว ฉะนั้นนักบินอวกาศส่วนใหญ่จึงเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัล ไซเมอร์สูงกว่าคนปกติทั่วไป
  • 24. 24 10. เชื้อโรคตัวอันตราย ทั้งจุลินทรีย์ แบคทีเรีย และเชื้อโรคต่าง ๆ ถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ในห้วงอวกาศเลยทีเดียว เพราะ ถ้าหากพวกมันอยู่ในช่วงที่มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ก็จะสร้างความเสียหายให้กับเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่อยู่ในยานอวกาศและสถานีอวกาศเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังอันตรายกับร่างกายของนักบินด้วย แม้ว่าจะผ่านการฆ่าเชื้อก่อนทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศแล้วก็ตาม อย่างไรก็ดี เชื้อโรคเหล่านี้จะไม่เจริญเติบโตในสภาวะไร้น้าหนัก ยกเว้นบริเวณที่มีความชื้น เชื้อ โรคก็จะอาศัยจุดนี้พัฒนาตัวเองขึ้นมา ก่อนจะแพร่พันธุ์ไปยังส่วนอื่น ๆ ของยานหรือสถานีอวกาศ ทั้ง อุปกรณ์ภายในและนักบินทั้งหมด ใช้ชีวิตบนโลกว่ายากแล้ว แต่การใช้ชีวิตบนห้วงอวกาศแบบนักบินอวกาศที่ถูกส่งขึ้นไปปฏิบัติ ในห้วงอวกาศเป็นเรื่องที่ยากยิ่งกว่า เพราะไม่เพียงแต่จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาวะไร้น้าหนักเท่านั้น แต่ยังต้องต่อสู้และฝึกตัวเองให้สมบูรณ์พร้อมเสมอ ทั้งร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังต้องปกป้องตัวเอง จากโรคภัยต่าง ๆ ที่มีความรุนแรงมากกว่าด้วย
  • 25. 25 วิธีดาเนินงาน 1. แนวทางการดาเนินงาน 2. กาหนดหัวข้อโครงงาน 3. เลือกหัวข้อโครงงาน 4. รวบรวมรายละเอียดและหัวข้อโครงงาน 5. ค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆเพิ่มเติม 6. สรุปและจัดทาโครงงาน 7. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด 8. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ท/หนังสือ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน / มธุรดา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / มธุรดา 3 จัดทาโครงร่างงาน / มธุรดา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน / มธุรดา 5 ปรับปรุงทดสอบ / มธุรดา 6 การทาเอกสารรายงาน / มธุรดา 7 ประเมินผลงาน / มธุรดา 8 นาเสนอโครงงาน / มธุรดา
  • 26. 26 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เพิ่มความรู้เกี่ยวกับการใช้ชีวิตบนอวกาศแก่ผู้ศึกษา 2.สามารถให้ผู้ศึกษานาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านที่ตนเองสนใจได้ 3.สามารถนาสื่อนี้ไปใช้เป็นการสื่อเรียนได้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง โลกและอวกาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.lesa.biz/space-technology/spacecraft (วันที่ค้นข้อมูล: 25 มกราคม 2559) การใช้ชีวิตบนอวกาศ.เข้าถึงได้จาก : http://men.kapook.com/view69828.html (วันที่ค้นข้อมูล: 25 มกราคม 2559)