SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1

แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน ดอกไม้ประจาฤดู

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นายพีรเดช กันใหม่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 14
2 นายปัณณวัฒน์ แสงจันทร์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 14
3 นายดิษพงศ์ ปัญญมา เลขที่ 37 ชั้น ม.6ห้อง14

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์
่

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
2

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34

ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1 นายพีรเดช กันใหม่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 14
2 นายปัณณวัฒน์ แสงจันทร์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 14
3 นายดิษพงศ์ ปัญญมา เลขที่ 37 ชั้น ม.6ห้อง14
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)ระบบสุริยะ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) solar system
ประเภทโครงงาน ประเภทการพัฒนาเวบเพจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นายพีรเดช กันใหม่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 14
2 นายปัณณวัฒน์ แสงจันทร์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 14
3 นายดิษพงศ์ ปัญญมา เลขที่ 37 ชั้น ม.6ห้อง14
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 20 วัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้ก้าวไกลไปไกลมากกว่าสมัยโบราณเป็นอย่างมากจึงได้มีการประดิษฐ์อุปกรณ์
และเครื่องมือที่จะศึกษาดวงดาวต่างในระบบสุริยะของเราทาให้เราได้รู้จักกับดวงดาวต่างๆในระบบสุริยะหรือที่
เรียกกันว่า กาแล็กชี่ทางช้างเผือก จึงเป็นแรงบรรดาลใจทาให้ผมได้ศึกษาเรื่องระบบสุริยะเพื่อที่จะนาความรู้ที่รับ
จากการทาโครงงานในครั้งนี้ ไปประยุกค์ใช้ในชีวิตประจาวันและสามารถอธิบายให้น้องๆฟังในโรงเรียนได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาและการดาเนินการสร้างโครงงานระบบสุริยะ
2.เพื่อรู้และเข้าใจในระบบสุริยะของเรา
3

3.เพื่อศึกษาการเกิดของโลกที่มาจากการเกิดระบบสุริยะ
4 เพื่ออธิบายในชั้นเรียนได้

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- การหาข้อมูล
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ในการจัดสร้างโครงงาน ระบบสุริยะ จาเป็นจะต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของดังนี้
เรื่องที่ 1 ระบบสุริยะ
ที่มีดางอาทิตย์ เป็นศูนย์กลาง
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

ภาพแสดงดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ โดยย่อขนาดของดาวตามอัตราส่วนจริง แต่ระยะห่าง
ระหว่างดาวไม่ใช่อัตราส่วนจริง
บทความนี้ใช้ระบบปีคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงถึงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
ระวังสับสนกับ จักรวาล
ระบบสุริยะ (อังกฤษ: Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจาก
แรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง[1] ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวง
กับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุ
ในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่างๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจานวน 4
ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจานวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่
เย็นจัดเป็นน้าแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎี
ที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกาลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต
กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นใน
สสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย
ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลาดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาว
ศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
4

นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จานวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์
แคระ ได้แก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจูน คือ
ดาวพลูโต (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับไว้เป็นดาวเคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส
มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบๆ เราเรียกดาวบริวารเหล่านี้ว่า
"ดวงจันทร์" ตามอย่างดวงจันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบตัวอัน
ประกอบด้วยเศษฝุ่นและอนุภาคขนาดเล็ก
สาหรับคาว่า ระบบดาวเคราะห์ ใช้เมื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทั่วไปที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คาว่า
"ระบบสุริยะ" ควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า "ระบบสุริยจักรวาล"
อย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคาว่า "จักรวาล" ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน
เนื้อหา
1 ประวัติการค้นพบและการสารวจ
1.1 การสารวจยุคแรก
1.2 การสารวจด้วยยานอวกาศ
เรื่องที่ 2 ดาวเคราะห์ แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ดาวเคราะห์ชั้นใน(ดาวเคราะห์หิน)
ได้แก่ ดาวพุธ ดาวอังคาร โลก ดาวศุกร์

Edit This Page
1.ดาวเคราะห์ชั้นในประกอบด้วย
1.1ดาวพุธ
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดของระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบ
ดวงอาทิตย์ 88 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ดวงอาทิตย์ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ จึงสังเกตได้ไม่ง่ายนัก
ด้วยกล้องโทรทรรศน์ ขณะทามุมห่างมากที่สุดจะห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 28.3° ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยาน
อวกาศเพียงลาเดียวที่เคยสารวจดาวพุธในระยะใกล้ คือ ยานมาริเนอร์ 10 เมือปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974่
1975) และสามารถทาแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น
Mercury in color - Prockter07 centered.jpg
Mercury in color - Prockter07 centered.jpg
5

ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวใกล้เคียงกับดวงจันทร์มาก มีพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์
เป็นบริวารรวมทั้งไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ข้อแตกต่างประการเดียวระหว่างดวงจันทร์
และดาวพุธคือ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ จึงทาให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1
เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคาเต็มว่า Mercurius เทพนาสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ
คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลา
หัวค่า และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวง
เดียวกัน
1.2ดาวอังคาร
เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 4 ชื่อละตินของดาวอังคาร (Mars) มาจากชื่อ
เทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน หรือตรงกับเทพเจ้า Ares ของกรีก เป็นเพราะดาวอังคารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสี
โลหิต บางครั้งจึงเรียกว่า "ดาวแดง" หรือ "Red Planet" (ความจริงมีสีค่อนไปทางสีส้มอมชมพูมากกว่า)
สัญลักษณ์แทนดาวอังคาร คือ ♂ เป็นโล่และหอกของเทพเจ้ามาร์ส ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาด
เล็ก 2 ดวง คือ โฟบอสและไดมอส โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาว
เคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของตน
Mars Valles Marineris.jpeg
Mars Valles Marineris.jpeg
ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีชั้นบรรยากาศเบาบาง พื้นผิวมีลักษณะคล้ายคลึงทั้งหลุม
อุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย และบริเวณน้าแข็งขั้วโลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขาที่
สูงที่สุดในระบบสุริยะคือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) และหุบเขาลึกที่มีชื่อว่า มาริเนริส (Marineris) ที่
ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2008 มีบทความ 3 บทความตีพิมพ์ลงในนิตรสาร "Nature"
เกี่ยวกับหลักฐานของหลุมอุกกาบาตที่ใหญ่มหึมา โดยมีความกว้าง 8,500 กิโลเมตร ยาว 10,600 กิโลเมตร
[3][4] นอกจากนั้นสิ่งที่ดาวอังคารมีและคล้ายคลึงกับโลกก็คือคาบการหมุนรอบตัวเองและฤดูกาล
ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีค่าโชติมาตรปรากฏอยู่ที่ 3.0 มีเพียงแค่ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวง
อาทิตย์ที่สว่างกว่า
1.3โลก
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่สาม โดยโลกเป็นดาวเคราะห์หินขนาดใหญ่ที่สุดในระบบ
สุริยะ และเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ยืนยันได้ว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ดาวเคราะห์โลก
6

ถือกาเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,570 ล้าน (4.57×109) ปีก่อน และหลังจากนั้นไม่นานนัก ดวงจันทร์ซึ่งเป็นดาว
บริวารเพียงดวงเดียวของโลกก็ถือกาเนิดตามมา สิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาที่ครองโลกในปัจจุบันนี้คือมนุษย์
ภาพถ่ายสีของโลกจากยานอะพอลโล 17
ภาพถ่ายสีของโลกจากยานอะพอลโล 17
โลก มีลักษณะเป็นทรงวงรี โดย ในแนวดิ่งเส้นผ่าศูนย์กลางยาว 12,711 กม. ในแนวนอน ยาว 12,755 กม.
ต่างกัน 44 กม. มีพื้นน้า 3 ส่วน หรือ 71% และมีพื้นดิน 1 ส่วน หรือ 29 % แกนโลกจะเอียง 23.5 องศา
สัญลักษณ์ของโลกประกอบด้วยกากบาทที่ล้อมด้วยวงกลม โดยเส้นตั้งและเส้นนอนของกากบาทจะแทนเส้นเม
อริเดียนและเส้นศูนย์สูตรตามลาดับ สัญลักษณ์อีกแบบของโลกจะวางกากบาทไว้เหนือวงกลมแทน (ยูนิโคด: ⊕
หรือ ♁)
1.4ดาวศุกร์
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 2 ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรัก
ของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวง
โคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง
(ความรี) น้อยที่สุด
Venus-real.jpg
Venus-real.jpg
สาหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลาดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้
เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่าเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่าทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจา
เมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง"
ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใสของดาว
ศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀
2.ดาวเคราะห์ชั้นนอก(ดาวเคราะห์แก๊ส)
ได้แก่ ดารเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน
2 ดาวเคราะห์ชั้นนอกประกอบด้วย
2.1.ดาวพฤหัสบดี
7

เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ
นอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ชื่อ
ละตินของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) มาจากเทพเจ้าโรมัน สัญลักษณ์แทนดาวพฤหัสบดี คือ ♃ เป็นสายฟ้าของ
เทพเจ้าซุส
ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทาให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาว
พฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวง
อาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น
1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยา
นิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้
ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทาให้มีรูปร่าง
แป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี
คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
โดยทั่วไป ดาวพฤหัสบดีเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ในท้องฟ้า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว
ศุกร์ อย่างไรก็ตาม บางครั้งดาวอังคารก็ปรากฏสว่างกว่าดาวพฤหัสบดี) จึงเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์ การค้นพบดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง ได้แก่ ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคัลลิสโต โดยกาลิเลโอ
กาลิเลอี เมื่อ ค.ศ. 1610 เป็นการค้นพบวัตถุที่ไม่ได้โคจรรอบโลกเป็นครั้งแรก นับเป็นจุดที่สนับสนุนทฤษฎีดวง
อาทิตย์เป็นศูนย์กลางที่เสนอโดยโคเปอร์นิคัส การออกมาสนับสนุนทฤษฎีนี้ทาให้กาลิเลโอต้องเผชิญกับการไต่
สวน
วงแหวน
ดูบทความหลักที่ **วงแหวนของดาวพฤหัสบดี**
external image 400px-PIA01627_Ringe.jpg
องค์ประกอบของวงแหวนดาวพฤหัสบดี

ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกว่า สามารถเห็นได้ในรังสีใต้
แดงทั้งจากกล้องโทรทรรศน์ที่พื้นโลกและจากยานกาลิเลโอ
วงแหวนของดาวพฤหัสค่อนข้างมืด ซึ่งอาจประกอบด้วยเศษหินขนาดเล็ก และไม่พบน้าแข็ง เหมือนที่พบในวง
แหวนของดาวเสาร์ วัตถุที่อยู่ในวงแหวนของดาวพฤหัสอาจไม่อยู่ในวงแหวนนาน เนื่องจากแรงเหวี่ยงที่เกิดจาก
บรรยากาศและสนามแม่เหล็ก มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าวงแหวนได้วัตถุเพิ่มเติมจากฝุ่นที่เกิดจากอุกาบาตตก
ชนดาวบริวารวงใน ซึ่งเนื่องจากพลังงานมหาศาลจากแรงดึงดูดขนาดใหญ่ของดาวพฤหัส
2.2ดาวเสาร์
8

เป็นตัวแทนของเทพแซทเทิร์น (Saturn) เทพแห่งการเพาะปลูกในตานานของชาวโรมัน ส่วนในตานานกรีกมีชื่อ
ว่า โครนอส (Cronos) ซึ่งเป็นบิดาแห่งซูส (Zeus) เทพแห่งดาวพฤหัสบดี โดยดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ ที่อยู่
ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 6 ที่ระยะทาง 1,433 ล้านกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ที่สุด
เป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีวงแหวนขนาดใหญ่ ที่ประกอบขึ้นจากก้อนหินที่มี
น้าแข็งปะปน สัญลักษณ์แทนดาวเสาร์ คือ ♄
Saturn (planet) large.jpg
Saturn (planet) large.jpg
ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์
ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวใน
ระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้า (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้น
บนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้า วงแหวนของดาวเสาร์
ประกอบไปด้วย เศษหินและน้าแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบ
ไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500
กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึง
สามารถสังเกตได้จากโลก
2.3.ดาวยูเรนัส
(หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มี
ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3. ตั้งชื่อตามเทพเจ้า Ouranos ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาวยูเรนัส คือ หรือ (ส่วนใหญ่
ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ ดาวมฤตยู
Uranus.jpg
Uranus.jpg
ภาพดาวยูเรนัสจากยานวอยเอเจอร์ 2
ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส
external image 150px-William_Herschel01.jpg
9

เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward
W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี
วงแหวนจางๆโดยรอบ
และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ.
1986) เมื่อยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคลื่อนผ่าน
2.4.ดาวเนปจูน
หรือชื่อไทยว่า ดาวสมุทร[1] หรือ ดาวเกตุ คือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลาดับที่ 8 หรือลาดับสุดท้ายที่อยู่ห่าง
จากดวงอาทิตย์ (ขึ้นอยู่กับการโคจรของดาวพลูโต ซึ่งบางครั้งจะเข้ามาอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่า) ตัวดาวมี
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลาดับที่ 3
รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์ คาว่า "เนปจูน" นั้นตั้งชื่อตามเทพเจ้าแห่งท้องทะเลของโรมัน (กรีก : โปเซดอน)
มีสัญลักษณ์เป็น (♆)
Neptune.jpg
Neptune.jpg
ดาวเนปจูนมีสีน้าเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน
บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ -220℃ (-364
°F) ซึ่งหนาวเย็นมากๆ เนื่องจาก ดาวเนปจูนอยู่ไกลดวงอาทิตย์มาก แต่แกนกลางภายในของดาวเนปจูน
ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน อุณหภูมิประมาณ 7,000℃ (12,632 °F) ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์เสีย
อีก
ยานวอยเอเจอร์ 2 เป็นยานอวกาศจากโลกเพียงลาเดียวเท่านั้น ที่เคยเดินทางไปถึงดาวเนปจูนเมื่อ 25 สิงหาคม
พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ภาพของดาวเนปจูนซึ่งได้ถ่ายลักษณะของดาวมาแสดงให้เราเห็นจุดดาใหญ่ (คล้ายจุด
แดงใหญ่ ของดาวพฤหัส) อยู่ค่อนมาทางซีกใต้ของ

วิธีดาเนินงาน
1 วัสดุ
-คอมพิวเตอร์
-อินเตอร์เน็ต
10

-โปรแกรมต่างๆ อาทิ พราวเวอร์พ้อย เป็นต้น
2 แนวการศึกษาค้นคว้า
-ทาตามขั้นตอนและระยะเวลาที่ได้วางแผนไว้
-เน้นข้อมูลและเนื้อหา
-หาข้อมูลให้กว้างขวางมากขึ้น
งบประมาณ
- 0 บาท

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่

ขั้นตอน

สัปดาห์ที่
1

2

1

คิดหัวข้อโครงงาน

ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล

จัดทาโครงร่างงาน

4

ปฏิบัติการสร้างโครงงาน

5

ปรับปรุงทดสอบ

6

การทาเอกสารรายงาน

7

ประเมินผลงาน

5

6

7

8

9

1
0

1
1

12

1
3

1
4

 

3

4



2

3

ผู้รับผิดชอ
บ

 

  

 

 



1
5

16

17

พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์
11

8

นาเสนอโครงงาน



พีรเดช,ดิษ
พงศ์,ปัณณ
วัฒณ์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
-สร้างความพึงพอใจให้กับคนที่เข้ามาดู
-ให้ความรู้ในเรื่องต่างๆเกี่ยวกับระบบสุริยะ
สถานที่ดาเนินการ
บ้านของนายพีรเดช กันใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิชาวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://opophopa2.wikispaces.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%8
8+3+%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0
%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%
E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%8
4%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99

More Related Content

Similar to แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Mook Sunita
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Suvapon Kim
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Suvapon Kim
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Hiran Vayakk
 

Similar to แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
TRAPPIST-1
TRAPPIST-1TRAPPIST-1
TRAPPIST-1
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอมใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอม
 
ใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอมใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอม
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เต๋าจ้า
เต๋าจ้าเต๋าจ้า
เต๋าจ้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Project
Project Project
Project
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
Tamn
TamnTamn
Tamn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงานภาษาอาเซียน
2557 โครงงานภาษาอาเซียน2557 โครงงานภาษาอาเซียน
2557 โครงงานภาษาอาเซียน
 

More from Thanthup Zied

อินโดนีเซีย
อินโดนีเซียอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
Thanthup Zied
 
เฉลยข้อสอบปี 53.jpg
เฉลยข้อสอบปี 53.jpgเฉลยข้อสอบปี 53.jpg
เฉลยข้อสอบปี 53.jpg
Thanthup Zied
 
เฉลยข้อสอบปี 52
เฉลยข้อสอบปี 52เฉลยข้อสอบปี 52
เฉลยข้อสอบปี 52
Thanthup Zied
 
เฉลยข้อสอบปี 51
เฉลยข้อสอบปี 51เฉลยข้อสอบปี 51
เฉลยข้อสอบปี 51
Thanthup Zied
 
เฉลยข้อสอบปี 50
เฉลยข้อสอบปี 50เฉลยข้อสอบปี 50
เฉลยข้อสอบปี 50
Thanthup Zied
 
ข้อสอบปี 54
ข้อสอบปี 54ข้อสอบปี 54
ข้อสอบปี 54
Thanthup Zied
 
ข้อสอบปี 53
ข้อสอบปี 53ข้อสอบปี 53
ข้อสอบปี 53
Thanthup Zied
 
ข้อสอบ ปี 52
ข้อสอบ ปี 52ข้อสอบ ปี 52
ข้อสอบ ปี 52
Thanthup Zied
 
ข้อสอบ ปี 51
ข้อสอบ ปี 51ข้อสอบ ปี 51
ข้อสอบ ปี 51
Thanthup Zied
 
ข้อสอบ ปี 50
ข้อสอบ ปี 50ข้อสอบ ปี 50
ข้อสอบ ปี 50
Thanthup Zied
 
เฉลยข้อสอบปี 54
เฉลยข้อสอบปี 54เฉลยข้อสอบปี 54
เฉลยข้อสอบปี 54
Thanthup Zied
 
ใบงานที่สอง
ใบงานที่สองใบงานที่สอง
ใบงานที่สอง
Thanthup Zied
 
ประวัติกลองสะบัดชัย
ประวัติกลองสะบัดชัยประวัติกลองสะบัดชัย
ประวัติกลองสะบัดชัย
Thanthup Zied
 
ประวัติส่วนตัว My Profile
ประวัติส่วนตัว My Profileประวัติส่วนตัว My Profile
ประวัติส่วนตัว My Profile
Thanthup Zied
 

More from Thanthup Zied (16)

อินโดนีเซีย
อินโดนีเซียอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
 
เฉลยข้อสอบปี 53.jpg
เฉลยข้อสอบปี 53.jpgเฉลยข้อสอบปี 53.jpg
เฉลยข้อสอบปี 53.jpg
 
เฉลยข้อสอบปี 52
เฉลยข้อสอบปี 52เฉลยข้อสอบปี 52
เฉลยข้อสอบปี 52
 
เฉลยข้อสอบปี 51
เฉลยข้อสอบปี 51เฉลยข้อสอบปี 51
เฉลยข้อสอบปี 51
 
เฉลยข้อสอบปี 50
เฉลยข้อสอบปี 50เฉลยข้อสอบปี 50
เฉลยข้อสอบปี 50
 
ข้อสอบปี 54
ข้อสอบปี 54ข้อสอบปี 54
ข้อสอบปี 54
 
ข้อสอบปี 53
ข้อสอบปี 53ข้อสอบปี 53
ข้อสอบปี 53
 
ข้อสอบ ปี 52
ข้อสอบ ปี 52ข้อสอบ ปี 52
ข้อสอบ ปี 52
 
ข้อสอบ ปี 51
ข้อสอบ ปี 51ข้อสอบ ปี 51
ข้อสอบ ปี 51
 
ข้อสอบ ปี 50
ข้อสอบ ปี 50ข้อสอบ ปี 50
ข้อสอบ ปี 50
 
เฉลยข้อสอบปี 54
เฉลยข้อสอบปี 54เฉลยข้อสอบปี 54
เฉลยข้อสอบปี 54
 
ใบงานที่สอง
ใบงานที่สองใบงานที่สอง
ใบงานที่สอง
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ประวัติกลองสะบัดชัย
ประวัติกลองสะบัดชัยประวัติกลองสะบัดชัย
ประวัติกลองสะบัดชัย
 
ประวัติส่วนตัว My Profile
ประวัติส่วนตัว My Profileประวัติส่วนตัว My Profile
ประวัติส่วนตัว My Profile
 

แบบร่างวโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน ดอกไม้ประจาฤดู ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นายพีรเดช กันใหม่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 14 2 นายปัณณวัฒน์ แสงจันทร์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 14 3 นายดิษพงศ์ ปัญญมา เลขที่ 37 ชั้น ม.6ห้อง14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. 2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1 นายพีรเดช กันใหม่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 14 2 นายปัณณวัฒน์ แสงจันทร์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 14 3 นายดิษพงศ์ ปัญญมา เลขที่ 37 ชั้น ม.6ห้อง14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)ระบบสุริยะ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) solar system ประเภทโครงงาน ประเภทการพัฒนาเวบเพจ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นายพีรเดช กันใหม่ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 14 2 นายปัณณวัฒน์ แสงจันทร์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 14 3 นายดิษพงศ์ ปัญญมา เลขที่ 37 ชั้น ม.6ห้อง14 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 20 วัน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้ก้าวไกลไปไกลมากกว่าสมัยโบราณเป็นอย่างมากจึงได้มีการประดิษฐ์อุปกรณ์ และเครื่องมือที่จะศึกษาดวงดาวต่างในระบบสุริยะของเราทาให้เราได้รู้จักกับดวงดาวต่างๆในระบบสุริยะหรือที่ เรียกกันว่า กาแล็กชี่ทางช้างเผือก จึงเป็นแรงบรรดาลใจทาให้ผมได้ศึกษาเรื่องระบบสุริยะเพื่อที่จะนาความรู้ที่รับ จากการทาโครงงานในครั้งนี้ ไปประยุกค์ใช้ในชีวิตประจาวันและสามารถอธิบายให้น้องๆฟังในโรงเรียนได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาและการดาเนินการสร้างโครงงานระบบสุริยะ 2.เพื่อรู้และเข้าใจในระบบสุริยะของเรา
  • 3. 3 3.เพื่อศึกษาการเกิดของโลกที่มาจากการเกิดระบบสุริยะ 4 เพื่ออธิบายในชั้นเรียนได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - การหาข้อมูล หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ในการจัดสร้างโครงงาน ระบบสุริยะ จาเป็นจะต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของดังนี้ เรื่องที่ 1 ระบบสุริยะ ที่มีดางอาทิตย์ เป็นศูนย์กลาง จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา ภาพแสดงดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ โดยย่อขนาดของดาวตามอัตราส่วนจริง แต่ระยะห่าง ระหว่างดาวไม่ใช่อัตราส่วนจริง บทความนี้ใช้ระบบปีคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงถึงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ระวังสับสนกับ จักรวาล ระบบสุริยะ (อังกฤษ: Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจาก แรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง[1] ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวง กับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุ ในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่างๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจานวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจานวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่ เย็นจัดเป็นน้าแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎี ที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกาลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นใน สสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลาดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาว ศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
  • 4. 4 นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จานวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์ แคระ ได้แก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจูน คือ ดาวพลูโต (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับไว้เป็นดาวเคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบๆ เราเรียกดาวบริวารเหล่านี้ว่า "ดวงจันทร์" ตามอย่างดวงจันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบตัวอัน ประกอบด้วยเศษฝุ่นและอนุภาคขนาดเล็ก สาหรับคาว่า ระบบดาวเคราะห์ ใช้เมื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทั่วไปที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คาว่า "ระบบสุริยะ" ควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า "ระบบสุริยจักรวาล" อย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคาว่า "จักรวาล" ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน เนื้อหา 1 ประวัติการค้นพบและการสารวจ 1.1 การสารวจยุคแรก 1.2 การสารวจด้วยยานอวกาศ เรื่องที่ 2 ดาวเคราะห์ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.ดาวเคราะห์ชั้นใน(ดาวเคราะห์หิน) ได้แก่ ดาวพุธ ดาวอังคาร โลก ดาวศุกร์ Edit This Page 1.ดาวเคราะห์ชั้นในประกอบด้วย 1.1ดาวพุธ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดของระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ 88 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ดวงอาทิตย์ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ จึงสังเกตได้ไม่ง่ายนัก ด้วยกล้องโทรทรรศน์ ขณะทามุมห่างมากที่สุดจะห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 28.3° ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยาน อวกาศเพียงลาเดียวที่เคยสารวจดาวพุธในระยะใกล้ คือ ยานมาริเนอร์ 10 เมือปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974่ 1975) และสามารถทาแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น Mercury in color - Prockter07 centered.jpg Mercury in color - Prockter07 centered.jpg
  • 5. 5 ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวใกล้เคียงกับดวงจันทร์มาก มีพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์ เป็นบริวารรวมทั้งไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ข้อแตกต่างประการเดียวระหว่างดวงจันทร์ และดาวพุธคือ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ จึงทาให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคาเต็มว่า Mercurius เทพนาสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลา หัวค่า และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวง เดียวกัน 1.2ดาวอังคาร เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 4 ชื่อละตินของดาวอังคาร (Mars) มาจากชื่อ เทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน หรือตรงกับเทพเจ้า Ares ของกรีก เป็นเพราะดาวอังคารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสี โลหิต บางครั้งจึงเรียกว่า "ดาวแดง" หรือ "Red Planet" (ความจริงมีสีค่อนไปทางสีส้มอมชมพูมากกว่า) สัญลักษณ์แทนดาวอังคาร คือ ♂ เป็นโล่และหอกของเทพเจ้ามาร์ส ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาด เล็ก 2 ดวง คือ โฟบอสและไดมอส โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาว เคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของตน Mars Valles Marineris.jpeg Mars Valles Marineris.jpeg ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีชั้นบรรยากาศเบาบาง พื้นผิวมีลักษณะคล้ายคลึงทั้งหลุม อุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย และบริเวณน้าแข็งขั้วโลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขาที่ สูงที่สุดในระบบสุริยะคือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) และหุบเขาลึกที่มีชื่อว่า มาริเนริส (Marineris) ที่ ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2008 มีบทความ 3 บทความตีพิมพ์ลงในนิตรสาร "Nature" เกี่ยวกับหลักฐานของหลุมอุกกาบาตที่ใหญ่มหึมา โดยมีความกว้าง 8,500 กิโลเมตร ยาว 10,600 กิโลเมตร [3][4] นอกจากนั้นสิ่งที่ดาวอังคารมีและคล้ายคลึงกับโลกก็คือคาบการหมุนรอบตัวเองและฤดูกาล ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีค่าโชติมาตรปรากฏอยู่ที่ 3.0 มีเพียงแค่ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวง อาทิตย์ที่สว่างกว่า 1.3โลก เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่สาม โดยโลกเป็นดาวเคราะห์หินขนาดใหญ่ที่สุดในระบบ สุริยะ และเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ยืนยันได้ว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ดาวเคราะห์โลก
  • 6. 6 ถือกาเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,570 ล้าน (4.57×109) ปีก่อน และหลังจากนั้นไม่นานนัก ดวงจันทร์ซึ่งเป็นดาว บริวารเพียงดวงเดียวของโลกก็ถือกาเนิดตามมา สิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาที่ครองโลกในปัจจุบันนี้คือมนุษย์ ภาพถ่ายสีของโลกจากยานอะพอลโล 17 ภาพถ่ายสีของโลกจากยานอะพอลโล 17 โลก มีลักษณะเป็นทรงวงรี โดย ในแนวดิ่งเส้นผ่าศูนย์กลางยาว 12,711 กม. ในแนวนอน ยาว 12,755 กม. ต่างกัน 44 กม. มีพื้นน้า 3 ส่วน หรือ 71% และมีพื้นดิน 1 ส่วน หรือ 29 % แกนโลกจะเอียง 23.5 องศา สัญลักษณ์ของโลกประกอบด้วยกากบาทที่ล้อมด้วยวงกลม โดยเส้นตั้งและเส้นนอนของกากบาทจะแทนเส้นเม อริเดียนและเส้นศูนย์สูตรตามลาดับ สัญลักษณ์อีกแบบของโลกจะวางกากบาทไว้เหนือวงกลมแทน (ยูนิโคด: ⊕ หรือ ♁) 1.4ดาวศุกร์ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 2 ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรัก ของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวง โคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด Venus-real.jpg Venus-real.jpg สาหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลาดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้ เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่าเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่าทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจา เมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใสของดาว ศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀ 2.ดาวเคราะห์ชั้นนอก(ดาวเคราะห์แก๊ส) ได้แก่ ดารเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน 2 ดาวเคราะห์ชั้นนอกประกอบด้วย 2.1.ดาวพฤหัสบดี
  • 7. 7 เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ชื่อ ละตินของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) มาจากเทพเจ้าโรมัน สัญลักษณ์แทนดาวพฤหัสบดี คือ ♃ เป็นสายฟ้าของ เทพเจ้าซุส ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทาให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาว พฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวง อาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยา นิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้ ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทาให้มีรูปร่าง แป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก โดยทั่วไป ดาวพฤหัสบดีเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ในท้องฟ้า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ศุกร์ อย่างไรก็ตาม บางครั้งดาวอังคารก็ปรากฏสว่างกว่าดาวพฤหัสบดี) จึงเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ การค้นพบดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง ได้แก่ ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคัลลิสโต โดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อ ค.ศ. 1610 เป็นการค้นพบวัตถุที่ไม่ได้โคจรรอบโลกเป็นครั้งแรก นับเป็นจุดที่สนับสนุนทฤษฎีดวง อาทิตย์เป็นศูนย์กลางที่เสนอโดยโคเปอร์นิคัส การออกมาสนับสนุนทฤษฎีนี้ทาให้กาลิเลโอต้องเผชิญกับการไต่ สวน วงแหวน ดูบทความหลักที่ **วงแหวนของดาวพฤหัสบดี** external image 400px-PIA01627_Ringe.jpg องค์ประกอบของวงแหวนดาวพฤหัสบดี ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกว่า สามารถเห็นได้ในรังสีใต้ แดงทั้งจากกล้องโทรทรรศน์ที่พื้นโลกและจากยานกาลิเลโอ วงแหวนของดาวพฤหัสค่อนข้างมืด ซึ่งอาจประกอบด้วยเศษหินขนาดเล็ก และไม่พบน้าแข็ง เหมือนที่พบในวง แหวนของดาวเสาร์ วัตถุที่อยู่ในวงแหวนของดาวพฤหัสอาจไม่อยู่ในวงแหวนนาน เนื่องจากแรงเหวี่ยงที่เกิดจาก บรรยากาศและสนามแม่เหล็ก มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าวงแหวนได้วัตถุเพิ่มเติมจากฝุ่นที่เกิดจากอุกาบาตตก ชนดาวบริวารวงใน ซึ่งเนื่องจากพลังงานมหาศาลจากแรงดึงดูดขนาดใหญ่ของดาวพฤหัส 2.2ดาวเสาร์
  • 8. 8 เป็นตัวแทนของเทพแซทเทิร์น (Saturn) เทพแห่งการเพาะปลูกในตานานของชาวโรมัน ส่วนในตานานกรีกมีชื่อ ว่า โครนอส (Cronos) ซึ่งเป็นบิดาแห่งซูส (Zeus) เทพแห่งดาวพฤหัสบดี โดยดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ ที่อยู่ ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 6 ที่ระยะทาง 1,433 ล้านกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีวงแหวนขนาดใหญ่ ที่ประกอบขึ้นจากก้อนหินที่มี น้าแข็งปะปน สัญลักษณ์แทนดาวเสาร์ คือ ♄ Saturn (planet) large.jpg Saturn (planet) large.jpg ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลาง ตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวใน ระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้า (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้น บนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้า วงแหวนของดาวเสาร์ ประกอบไปด้วย เศษหินและน้าแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบ ไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึง สามารถสังเกตได้จากโลก 2.3.ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มี ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3. ตั้งชื่อตามเทพเจ้า Ouranos ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาวยูเรนัส คือ หรือ (ส่วนใหญ่ ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ ดาวมฤตยู Uranus.jpg Uranus.jpg ภาพดาวยูเรนัสจากยานวอยเอเจอร์ 2 ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส external image 150px-William_Herschel01.jpg
  • 9. 9 เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781) ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี วงแหวนจางๆโดยรอบ และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคลื่อนผ่าน 2.4.ดาวเนปจูน หรือชื่อไทยว่า ดาวสมุทร[1] หรือ ดาวเกตุ คือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลาดับที่ 8 หรือลาดับสุดท้ายที่อยู่ห่าง จากดวงอาทิตย์ (ขึ้นอยู่กับการโคจรของดาวพลูโต ซึ่งบางครั้งจะเข้ามาอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่า) ตัวดาวมี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลาดับที่ 3 รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์ คาว่า "เนปจูน" นั้นตั้งชื่อตามเทพเจ้าแห่งท้องทะเลของโรมัน (กรีก : โปเซดอน) มีสัญลักษณ์เป็น (♆) Neptune.jpg Neptune.jpg ดาวเนปจูนมีสีน้าเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ -220℃ (-364 °F) ซึ่งหนาวเย็นมากๆ เนื่องจาก ดาวเนปจูนอยู่ไกลดวงอาทิตย์มาก แต่แกนกลางภายในของดาวเนปจูน ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน อุณหภูมิประมาณ 7,000℃ (12,632 °F) ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์เสีย อีก ยานวอยเอเจอร์ 2 เป็นยานอวกาศจากโลกเพียงลาเดียวเท่านั้น ที่เคยเดินทางไปถึงดาวเนปจูนเมื่อ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ภาพของดาวเนปจูนซึ่งได้ถ่ายลักษณะของดาวมาแสดงให้เราเห็นจุดดาใหญ่ (คล้ายจุด แดงใหญ่ ของดาวพฤหัส) อยู่ค่อนมาทางซีกใต้ของ วิธีดาเนินงาน 1 วัสดุ -คอมพิวเตอร์ -อินเตอร์เน็ต
  • 10. 10 -โปรแกรมต่างๆ อาทิ พราวเวอร์พ้อย เป็นต้น 2 แนวการศึกษาค้นคว้า -ทาตามขั้นตอนและระยะเวลาที่ได้วางแผนไว้ -เน้นข้อมูลและเนื้อหา -หาข้อมูลให้กว้างขวางมากขึ้น งบประมาณ - 0 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ 1 2 1 คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4   3 4  2 3 ผู้รับผิดชอ บ           1 5 16 17 พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์
  • 11. 11 8 นาเสนอโครงงาน  พีรเดช,ดิษ พงศ์,ปัณณ วัฒณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) -สร้างความพึงพอใจให้กับคนที่เข้ามาดู -ให้ความรู้ในเรื่องต่างๆเกี่ยวกับระบบสุริยะ สถานที่ดาเนินการ บ้านของนายพีรเดช กันใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิชาวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://opophopa2.wikispaces.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%8 8+3+%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0 %B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94% E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%8 4%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99