SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การถ่ายทาภาพยนตร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นาย ณัฐนันท์ สวยสม เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 15
2. นาย สหัสวรรษ ทาติ๊บ เลขที่ 47 ชั้น ม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายณัฐนันท์ สวยสม เลขที่ 42 2.นายสหัสวรรษ ทาติ๊บ เลขที่ 47
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : การถ่ายทาภาพยนตร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Filmmaking
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐนันท์ สวยสม นายสหัสวรรษ ทาติ๊บ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในปัจจุบันสื่อต่างๆทั้งในและต่างประเทศต่างก็มีอิทธิพลต่อผู้คนเป็นอย่างมาก เช่น ค่านิยม กระแส
สังคม ฯลฯ และสื่อหนึ่งที่ยังมีอิทธิพลต่อผู้คนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นั้นก็คือ สื่อภาพยนตร์
สื่อภาพยนตร์ มีขั้นตอนการผลิตสื่อที่ซับซ้อนและต้องใช้ความรู้ความสามารถที่เฉพาะทาง จึงจะสามารถสร้าง
ผลงานที่มีคุณภาพออกมาได้ ด้วยเหตุผลจึงทาให้ผู้จัดทาสนใจในสื่อภาพยนตร์ว่า มีที่มาอย่างไร มีขั้นตอนในการสร้าง
อย่างไร และทาไมสื่อนี้จึงมีอิทธิพลต่อผู้คนทั้งในอดีตและปัจจุบันเป็นอย่างมาก
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษากระบวนการถ่ายทาภาพยนตร์
2. เพื่อถ่ายทอดความรู้ขั้นตอนการถ่ายทาภาพยนตร์แก่ผู้อื่น
3. ศึกษาขั้นตอบการถ่ายทาภาพยนตร์เพื่อนาไปปฏิบัติได้จริงในอนาคต
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
3
ทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทาภาพยนตร์ การใช้อุปกรฅณ์ในการถ่ายภาพยนตร์ และ
เทคนิคในการถ่ายทา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ประวัติภาพยนตร์
ผู้ที่คิดประดิษฐ์ ต้นแบบของภาพยนตร์ขึ้นคือ โทมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Adison)
และผู้ร่วมงานของเขาชื่อ วิลเลียม เคนเนดี้ ดิคสัน (William kenady dickson) เมื่อ พ.ศ. 2432 ตรงกับ
สมัยรัชกาลที่ 5 เรียกชื่อว่า "คิเนโตสโคป" (Kinetoscope) มีลักษณะเป็นตู้สูงประมาณ 4 ฟุต มัก
เรียกชื่อว่า "ถ้ามอง" มีลักษณะการดูผ่านช่องเล็กๆ ดูได้ที่ละคน ภายในมีฟิล์มภาพยนตร์ซึ่งถ่ายด้วย
กล้องคิเนโตกราฟ (Kenetograph) ที่เอดิสันประดิษฐ์ขึ้นเอง ฟิล์มยาวประมาณ 50 ฟุต วางพาดไปมา
เคลื่อนที่เป็นวงรอบ ผ่านช่องที่มีแว่นขยายกับหลอดไฟฟ้าด้วยความเร็ว 48 ภาพต่อวินาที ต่อมาลดลง
เหลือ 16 ภาพต่อวินาที
ต่อมาพี่น้องตระกูลลูมิแอร์ (Lumiere) ชาวฝรั่งเศสได้ พัฒนาภาพยนตร์ถ้ามองของเอดิสันให้สามารถ
ฉายขึ้นจอขนาดใหญ่ และดูได้พร้อมกันหลายคน เรียกเครื่องฉายภาพยนตร์แบบนี้ว่า แบบ "ซีเนมาโต
กราฟ" (Cinimatograph) ซึ่งถือว่าเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2438 ต่อมาได้
นาออกมาฉายตามเมืองใหญ่ๆ ทั่วโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2439 เป็นต้นมา ซึ่งคาว่า "ซีเนมา" (Cenema) ได้ใช้
เรียกเกี่ยวกับภาพยนตร์มาถึงปัจจุบัน
ภาพยนตร์ที่สามารถฉายภาพให้ปรากฏบนจอขนาดใหญ่ ได้พัฒนาสมบูรณ์ขึ้นในอเมริกาในปี พ.ศ. 2438
โดยความร่วมมือระหว่าง โทมัส อาแมท (Thomas Armat) ซีฟรานซิส เจนกินส์ (C. Francis Jenkins)
และเอดิสัน เรียกเครื่องฉายภาพยนตร์ชนิดนี้ว่า ไบโอกราฟ (Bioghraph) ในเวลาต่อมา หลังจากนั้น
ภาพยนตร์ได้แพร่หลายไปในประเทศต่างๆ ทั่วโลก เกิดอุตสาหกรรมการผลิตจาหน่ายและบริการฉาย
ภาพยนตร์ขนาดใหญ่หลายแห่ง ทั้งในอังกฤษ ฝรั่งเศสและอเมริกา ภาพยนตร์ได้กลายเป็นสื่อถ่ายทอด
เหตุการณ์ ศิลปการบันเทิงและวรรณกรรมต่างๆ ที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางตลอดมา
พ.ศ. 2440 พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ซึ่งในครั้งนั้นได้มี
ช่างภาพของบริษัทลูมิแอร์ ประเทศฝรั่งเศส บันทึกภาพยนตร์การเสด็จถึงกรุงเบอร์นของพระเจ้ากรุง
สยามไว้ 1 ม้วน ใช้เวลาประมาณ 1 นาที นับว่าเป็นการถ่ายภาพยนตร์ม้วนแรกของโลกที่บันทึกเกี่ยวกับ
ชนชาติไทย
ภาพยนตร์ในปัจจุบันมีการเผยแพร่อยู่ 4 ทางคือ ฉายตามโรงภาพยนตร์ ภาพยนตร์กลางแปลง และ
ภาพยนตร์เร่ ถ่ายทอดลงแผ่น VCD, DVD และ Blu-ray Disc เผยแพร่ทางโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ต
4
การถ่ายทาภาพยนตร์
ภาพยนตร์ คือ เป็นกระบวนการบันทึกภาพด้วย ฟิล์ม แล้วนาออกฉายในลักษณะที่แสดงให้เห็น
ภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทาแล้วเป็นเพียงภาพนิ่ง
จานวนมาก ที่มีอิริยาบทหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกัน เป็นช่วงๆ ตาม
เรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทาและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการ
แสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ไม่ว่าจะเป็นชนิด
ฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือ ฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทาด้วยวิธีใด ๆ ให้
ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือ
เสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทานอง เดียวกัน และ
หมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทาด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว
เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรม
บันเทิง
การเตรียมงานสร้างภาพยนตร์
1.)ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
1.การค้นคว้าหาข้อมูล (research) เป็นขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์อันดับแรกที่ต้องทาถือเป็นสิ่งสาคัญ
หลังจาก เรา พบประเด็นของเรื่องแล้วจึงลงมือค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อเสริมรายละเอียดเรื่อง ราวที่ถูกต้องจริงชัดเจน
และมีมิติมากขึ้น คุณภาพของ ภาพยนตร์จะดีหรือไม่จึงอยู่ที่การค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าภาพยนตร์นั้นจะมีเนื้อหาใดก็
ตาม
2.การกาหนดประโยคหลักสาคัญ (premise) หมายถึงความคิดหรือแนวความคิดที่ง่าย ๆ ธรรมดา ส่วนใหญ่
มักใช้ตั้งคาถามว่า “เกิดอะไรขึ้นถ้า...” (what if) ตัวอย่างของ premise ตามรูปแบบหนังฮอลลีวู้ด เช่น เกิดอะไรขึ้น
ถ้าเรื่องโรเมโอ & จูเลียตเกิดขึ้นในนิวยอร์ค คือ เรื่อง West Side Story, เกิดอะไรขึ้นถ้ามนุษย์ดาวอังคารบุกโลก คือ
เรื่อง The Invasion of Mars, เกิดอะไรขึ้นถ้าก็อตซิล่าบุกนิวยอร์ค คือเรื่อง Godzilla, เกิดอะไรขึ้นถ้ามนุษย์ต่างดาว
บุกโลก คือเรื่อง The Independence Day, เกิดอะไรขึ้นถ้าเรื่องโรเมโอ & จูเลียตเกิดขึ้นบนเรือไททานิค คือเรื่อง
Titanic เป็นต้น
3.การเขียนเรื่องย่อ (synopsis) คือเรื่องย่อขนาดสั้น ที่สามารถจบลงได้ 3-4 บรรทัด หรือหนึ่งย่อหน้า หรือ
อาจเขียนเป็น story outline เป็นร่างหลังจากที่เราค้นคว้าหาข้อมูลแล้วก่อนเขียนเป็นโครงเรื่องขยาย (treatment)
4.การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) เป็นการเขียนคาอธิบายของโครงเรื่อง (plot) ในรูปแบบของเรื่อง
สั้น โครงเรื่องขยายอาจใช้สาหรับเป็นแนวทางในการเขียนบทภาพยนตร์ที่สมบูรณ์ บางครั้งอาจใช้สาหรับยื่นขอ
งบประมาณได้ด้วย และการเขียนโครงเรื่องขยายที่ดีต้องมีประโยคหลักสาหคัญ (premise) ที่ง่าย ๆ น่าสนใจ
5.บทภาพยนตร์ (screenplay) สาหรับภาพยนตร์บันเทิง หมายถึง บท (script) ซีเควนส์หลัก (master
scene/sequence)หรือ ซีนาริโอ (scenario) คือ บทภาพยนตร์ที่มีโครงเรื่อง บทพูด แต่มีความสมบูรณ์น้อยกว่าบท
5
ถ่ายทา (shooting script) เป็นการเล่าเรื่องที่ได้พัฒนามาแล้วอย่างมีขั้นตอน ประกอบ ด้วยตัวละครหลักบทพูด ฉาก
แอ็คชั่น ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนที่ถูกต้อง เช่น บทสนทนาอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษฉาก เวลา สถานที่ อยู่ชิดขอบ
หน้าซ้ายกระดาษ ไม่มีตัวเลขกากับช็อต และโดยหลักทั่วไปบทภาพยนตร์หนึ่งหน้ามีความยาวหนึ่งนาที
6.บทถ่ายทา (shooting script) คือบทภาพยนตร์ที่เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการเขียน บทถ่ายทาจะบอก
รายละเอียดเพิ่มเติมจากบทภาพยนตร์ (screenplay) ได้แก่ ตาแหน่งกล้อง การเชื่อมช็อต เช่น คัท (cut) การเลือน
ภาพ (fade) การละลายภาพ หรือการจางซ้อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe) ตลอดจนการใช้ภาพพิเศษ
(effect) อื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเลขลาดับช็อตกากับเรียงตามลาดับตั้งแต่ช็อตแรกจนกระทั่งจบ เรื่อง และ
ขนาดภาพในการเขียน shooting script มีดังนี้
6.1ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS) ได้แก่ ภาพที่ถ่ายภายนอกสถานที่โล่ง
แจ้ง มักเน้นพื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบ เทียบกับสัดส่วนของมนุษย์ที่มีขนาดเล็ก ภาพ ELS ส่วน
ใหญ่ใช้สาหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลาและสถานที่ อาจเรียกว่า Establishing Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่แสดงความ
ยิ่งใหญ่ของฉากหลัง
6.2 ภาพระยะไกล (Long Shot /LS) ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดที่ไม่แน่นอน
ตายตัว บางครั้งเรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกินความตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล
(LS) ซึ่งเป็นภาพขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผู้แสดงมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับภาพ
ระยะไกลมาก หรือเรียกว่า Full Shot เป็นภาพกว้างเห็นผู้แสดงเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึงส่วนเท้า
6.3 ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS)ป็นภาพที่เห็นรายละเอียด ของผู้แสดงมากขึ้น
ตั้งแต่ศีรษะจนถึงขา หรือหัวเข่า ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Knee Shot เป็นภาพที่เห็นตัวผู้แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉาก
หลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ ในฉากนั้น
6.4 ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS)ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อ
เรียกได้หลายชื่อเช่นเดียวกัน แต่โดยปกติจะมีขนาดประมาณตั้งแต่หนึ่งในสี่ถึงสามในสี่ของร่างกาย บางครั้งเรียกว่า
Mid Shot หรือ Waist Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้มากสุดอันหนึ่งภาพยนตร์
6.5 ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU)เป็นภาพแคบ คลอบคลุมบริเวณตั้งแต่ศีรษะถึง
ไหล่ของผู้แสดง ใช้สาหรับในฉากสนทนาที่เห็นอารมณ์ความรู้สึกที่ใบหน้า ผู้แสดงรู้สึกเด่นในเฟรม บางครั้งเรียกว่า
Bust Shot มีขนาดเท่ารูปปั้นครึ่งตัว
6.6 ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU) เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้า ของผู้แสดง มี
รายละเอียดชัดเจนขึ้น เช่น ริ้วรอยบนใบหน้า น้าตา ส่วนใหญ่เน้นความรู้สึกของผู้แสดงที่สายตา แววตา เป็นช็อตที่นิ่ง
เงียบมากกว่าให้มีบทสนทนา โดยกล้องนาคนดูเข้าไปสารวจตัวละครอย่างใกล้ชิด
6.7 ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU) เป็นภาพที่เน้นส่วนใด ส่วนหนึ่งของร่างกาย
เช่น ตา ปาก เท้า มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการเพิ่มการเล่าเรื่องในหนังให้ได้
อารมณ์มากขึ้น
6.8 มุมสายตานก (Bird's-eye view)มุมชนิดนี้มักเรียกทับศัพท์ทาให้เข้าใจ มากกว่า เป็นมุมถ่ายมาจาก
ด้านบนเหนือศีรษะ ทามุมตั้งฉากเป็นแนวดิ่ง 90 องศากับผู้แสดง เป็นมุมมองที่เราไม่คุ้นเคยในชีวิตประจาวัน จึงเป็น
มุมที่แปลก แทนสายตานกที่อยู่บนท้องฟ้า
6
7. บทภาพ (storyboard) คือ บทภาพยนตร์ประเภทหนึ่งที่อธิบายด้วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ตูน ให้เห็น
ความต่อเนื่องของช็อตตลอดทั้งซีเควนส์หรือทั้งเรื่องมีคาอธิบายภาพ ประกอบ เสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียง
ประกอบฉาก และเสียงพูด เป็นต้น ใช้เป็นแนวทางสาหรับการถ่ายทา หรือใช้เป็นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้า (pre-
visualizing) ก่อนการถ่ายทาว่า เมื่อถ่ายทาสาเร็จแล้ว หนังจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ซึ่งบริษัทของ Walt
Disney นามาใช้กับการผลิตภาพยนตร์การ์ตูนของบริษัทเป็นครั้งแรก โดยเขียนภาพ เหตุการณ์ของแอ็คชั่นเรียง
ติดต่อกันบนบอร์ด เพื่อให้คนดูเข้าใจและมองเห็นเรื่องราวล่วงหน้าได้ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขที่
ลาดับช็อตกากับไว้ คาบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้อง และอาจมีเสียงประกอบด้วย
2.)บุคคลที่เกี่ยวของในขั้นตอนการเตรียมงานสร้างภาพยนตร์
1.ผู้อานวยการผลิต (Producer)ผู้อานวยการผลิตเป็นผู้ที่ทาหน้าที่ในการควบคุมการผลิตภาพยนตร์ทั้งหมด
นับตั้งแต่การวางแผน การถ่ายทา หลังการถ่ายทา เพื่อให้การผลิตภาพยนตร์เป็นไปอย่างราบรื่นและมีความสมบูรณ์
ที่สุด
2. ฝ่ายกฎหมาย (Legal Department)ฝ่ายกฎหมายทาหน้าที่ในการทาสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต
ภาพยนตร์ ซึ่งได้แก่การทาสัญญาเช่าลิขสิทธ์ การเช่าเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ การทาประกันภัย ฯลฯ
3.ผู้เขียนบทภาพยนตร์ (Script Writer)ผู้เขียนบทภาพยนตร์ ทาหน้าที่เขียนบทภาพยนตร์ตามที่ได้รับ
มอบหมายจนแล้วเสร็จ เมื่อเขียนบทเสร็จแล้วภาระหน้าที่ต่อไปก็คือการแก้ไขบท เมื่อแก้ไขบทจนเป็นที่พอใจของผู้
ว่าจ้างแล้วภาระหน้าที่ของผู้เขียนบทก็หมดไป
4.ผู้กากับภาพยนตร์ (Film Director)
ผู้กากับภาพยนตร์ มีหน้าที่ในการทาความเข้าใจบทภาพยนตร์ เลือกทีมงาน เลือกนักแสดง สถานที่ถ่ายทาภาพยนตร์
และเป็นผู้ที่ควบคุมงานผลิตภาพยนตร์ทั้งหมดภายใต้การดูแล
ของผู้อานวยการผลิตภาพยนตร์
3.)ขั้นก่อนการผลิต (Pre Production)
นับเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งก่อนเริ่มทาการผลิตภาพยนตร์ ได้แก่การเตรียมข้อมูล
การกาหนดหรือเค้าโครงเรื่อง การประสานงาน กองถ่ายกับสถานที่ถ่ายทา ประชุมวางแผนการผลิต การ
เขียนสคริปต์ การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การถ่ายทา อุปกรณ์การบันทึกเสียง ห้องบันทึกเสียง ห้องตัดต่อ
อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์แสง การเตรียม ทีมงาน ทุกฝ่าย การเดิน ทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ หาก
จัดเตรียมรายละเอียดในขั้นตอนนี้ได้ดี ก็จะส่งผลให้ขั้นตอนการผลิตทาได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้นดังนั้น
Pre Production เป็นขั้นตอนที่ผู้อานวยการสร้างหรือนายทุนหนังส่วนใหญ่ให้ความสาคัญเป็น อันดับ
หนึ่ง เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่มีส่วนอย่างมากที่จะชี้เป็นชี้ตายได้ว่าหนังจะออกมาดีหรือไม่ช่วง พรี-โพร จะ
เป็นช่วงที่หนังเริ่มก่อเค้าเป็นรูปเป็นร่างจากเรื่องที่ได้รับการอนุมัติสร้างจากนายทุน
7
4.)ขั้นตอนการผลิต (Production)
เป็นขั้นตอนการดาเนินการถ่ายทาภาพยนตร์(ออกกอง)ทีมงานผู้ผลิตได้แก่ ผู้กากับภาพยนตร์
ช่างภาพ ช่างไฟ ช่างเทคนิคเสียง ช่างศิลป์ ผู้แต่งหน้าทาผม ผู้ฝึกซ้อมนักแสดง รวมทั้งการบันทึกเสียง
ตามที่กาหนดไว้ในสคริปต์ ขั้นตอนนี้อาจมีการถ่ายทาแก้ไขหลายครั้งจนเป็นที่พอใจ (take) นอกจากนี้
อาจจาเป็นต้องเก็บภาพ/เสียงบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการขยายความ (insert)
เพื่อให้ผู้ชมได้เห็นและเข้าใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น
5.)ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production)
เป็นขั้นตอนการตัดต่อเรียบเรียงภาพและเสียงเข้าไว้ด้วยกันตามสคริปต์หรือเนื้อหาของเรื่อง
ขั้นตอนนี้จะมีการใส่กราฟิกและเทคนิคพิเศษภาพ การเชื่อมต่อ ภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้อง
บันทึกเสียง เพิ่มเติม อีกก็ได้ อาจมีการนาดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่มอรรธรสในการรับชมยิ่งขึ้น
ขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่จะดาเนินการอยู่ในห้องตัดต่อ มีเฉพาะ คนตัดต่อ (Editor) ผู้กากับภาพยนตร์และช่าง
เทคนิคที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- กาหนดหัวข้อ
- นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอบ
- รวบรวมข้อมูล
- จัดทารายงาน
- นาเสนอครู
- ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ 300 บาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ณัฐนันท์,สหัสว
รรษ
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณฐนันท์
3 จัดทาโครงร่างงาน ณัฐนันท์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน สหัสวรรษ
5 ปรับปรุงทดสอบ สหัสวรรษ
6 การทาเอกสารรายงาน สหัสวรรษ
7 ประเมินผลงาน ณัฐนันท์
8 นาเสนอโครงงาน สหัสวรรษ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- มีความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้เลือกมาศึกษา
- เข้าใจกระบวนการการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
- นาความรู้ที่ได้จากหัวข้อที่ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตจริง
สถานที่ดาเนินการ
- ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
- บ้านของนักเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะและดนตรี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://princezip.blogspot.com/

More Related Content

Similar to 2560 project

เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานMu PPu
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมcham45314
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นchris stephen
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChotipong Ekasain
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6Folk Sarit
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ninjynoppy39
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์4315609
 

Similar to 2560 project (20)

เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
งานเอิด
งานเอิดงานเอิด
งานเอิด
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
Com58
Com58Com58
Com58
 
2559 project 1
2559 project 12559 project 1
2559 project 1
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
งานคอมฟิว
งานคอมฟิวงานคอมฟิว
งานคอมฟิว
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
09 35-project
09 35-project09 35-project
09 35-project
 
09 35-project
09 35-project09 35-project
09 35-project
 
09 35-project
09 35-project09 35-project
09 35-project
 
09 35-project
09 35-project09 35-project
09 35-project
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การถ่ายทาภาพยนตร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย ณัฐนันท์ สวยสม เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 15 2. นาย สหัสวรรษ ทาติ๊บ เลขที่ 47 ชั้น ม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายณัฐนันท์ สวยสม เลขที่ 42 2.นายสหัสวรรษ ทาติ๊บ เลขที่ 47 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : การถ่ายทาภาพยนตร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Filmmaking ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐนันท์ สวยสม นายสหัสวรรษ ทาติ๊บ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในปัจจุบันสื่อต่างๆทั้งในและต่างประเทศต่างก็มีอิทธิพลต่อผู้คนเป็นอย่างมาก เช่น ค่านิยม กระแส สังคม ฯลฯ และสื่อหนึ่งที่ยังมีอิทธิพลต่อผู้คนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นั้นก็คือ สื่อภาพยนตร์ สื่อภาพยนตร์ มีขั้นตอนการผลิตสื่อที่ซับซ้อนและต้องใช้ความรู้ความสามารถที่เฉพาะทาง จึงจะสามารถสร้าง ผลงานที่มีคุณภาพออกมาได้ ด้วยเหตุผลจึงทาให้ผู้จัดทาสนใจในสื่อภาพยนตร์ว่า มีที่มาอย่างไร มีขั้นตอนในการสร้าง อย่างไร และทาไมสื่อนี้จึงมีอิทธิพลต่อผู้คนทั้งในอดีตและปัจจุบันเป็นอย่างมาก วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษากระบวนการถ่ายทาภาพยนตร์ 2. เพื่อถ่ายทอดความรู้ขั้นตอนการถ่ายทาภาพยนตร์แก่ผู้อื่น 3. ศึกษาขั้นตอบการถ่ายทาภาพยนตร์เพื่อนาไปปฏิบัติได้จริงในอนาคต ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
  • 3. 3 ทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทาภาพยนตร์ การใช้อุปกรฅณ์ในการถ่ายภาพยนตร์ และ เทคนิคในการถ่ายทา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ประวัติภาพยนตร์ ผู้ที่คิดประดิษฐ์ ต้นแบบของภาพยนตร์ขึ้นคือ โทมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Adison) และผู้ร่วมงานของเขาชื่อ วิลเลียม เคนเนดี้ ดิคสัน (William kenady dickson) เมื่อ พ.ศ. 2432 ตรงกับ สมัยรัชกาลที่ 5 เรียกชื่อว่า "คิเนโตสโคป" (Kinetoscope) มีลักษณะเป็นตู้สูงประมาณ 4 ฟุต มัก เรียกชื่อว่า "ถ้ามอง" มีลักษณะการดูผ่านช่องเล็กๆ ดูได้ที่ละคน ภายในมีฟิล์มภาพยนตร์ซึ่งถ่ายด้วย กล้องคิเนโตกราฟ (Kenetograph) ที่เอดิสันประดิษฐ์ขึ้นเอง ฟิล์มยาวประมาณ 50 ฟุต วางพาดไปมา เคลื่อนที่เป็นวงรอบ ผ่านช่องที่มีแว่นขยายกับหลอดไฟฟ้าด้วยความเร็ว 48 ภาพต่อวินาที ต่อมาลดลง เหลือ 16 ภาพต่อวินาที ต่อมาพี่น้องตระกูลลูมิแอร์ (Lumiere) ชาวฝรั่งเศสได้ พัฒนาภาพยนตร์ถ้ามองของเอดิสันให้สามารถ ฉายขึ้นจอขนาดใหญ่ และดูได้พร้อมกันหลายคน เรียกเครื่องฉายภาพยนตร์แบบนี้ว่า แบบ "ซีเนมาโต กราฟ" (Cinimatograph) ซึ่งถือว่าเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2438 ต่อมาได้ นาออกมาฉายตามเมืองใหญ่ๆ ทั่วโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2439 เป็นต้นมา ซึ่งคาว่า "ซีเนมา" (Cenema) ได้ใช้ เรียกเกี่ยวกับภาพยนตร์มาถึงปัจจุบัน ภาพยนตร์ที่สามารถฉายภาพให้ปรากฏบนจอขนาดใหญ่ ได้พัฒนาสมบูรณ์ขึ้นในอเมริกาในปี พ.ศ. 2438 โดยความร่วมมือระหว่าง โทมัส อาแมท (Thomas Armat) ซีฟรานซิส เจนกินส์ (C. Francis Jenkins) และเอดิสัน เรียกเครื่องฉายภาพยนตร์ชนิดนี้ว่า ไบโอกราฟ (Bioghraph) ในเวลาต่อมา หลังจากนั้น ภาพยนตร์ได้แพร่หลายไปในประเทศต่างๆ ทั่วโลก เกิดอุตสาหกรรมการผลิตจาหน่ายและบริการฉาย ภาพยนตร์ขนาดใหญ่หลายแห่ง ทั้งในอังกฤษ ฝรั่งเศสและอเมริกา ภาพยนตร์ได้กลายเป็นสื่อถ่ายทอด เหตุการณ์ ศิลปการบันเทิงและวรรณกรรมต่างๆ ที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางตลอดมา พ.ศ. 2440 พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ซึ่งในครั้งนั้นได้มี ช่างภาพของบริษัทลูมิแอร์ ประเทศฝรั่งเศส บันทึกภาพยนตร์การเสด็จถึงกรุงเบอร์นของพระเจ้ากรุง สยามไว้ 1 ม้วน ใช้เวลาประมาณ 1 นาที นับว่าเป็นการถ่ายภาพยนตร์ม้วนแรกของโลกที่บันทึกเกี่ยวกับ ชนชาติไทย ภาพยนตร์ในปัจจุบันมีการเผยแพร่อยู่ 4 ทางคือ ฉายตามโรงภาพยนตร์ ภาพยนตร์กลางแปลง และ ภาพยนตร์เร่ ถ่ายทอดลงแผ่น VCD, DVD และ Blu-ray Disc เผยแพร่ทางโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ต
  • 4. 4 การถ่ายทาภาพยนตร์ ภาพยนตร์ คือ เป็นกระบวนการบันทึกภาพด้วย ฟิล์ม แล้วนาออกฉายในลักษณะที่แสดงให้เห็น ภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทาแล้วเป็นเพียงภาพนิ่ง จานวนมาก ที่มีอิริยาบทหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกัน เป็นช่วงๆ ตาม เรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทาและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการ แสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ไม่ว่าจะเป็นชนิด ฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือ ฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทาด้วยวิธีใด ๆ ให้ ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือ เสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทานอง เดียวกัน และ หมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทาด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรม บันเทิง การเตรียมงานสร้างภาพยนตร์ 1.)ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ 1.การค้นคว้าหาข้อมูล (research) เป็นขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์อันดับแรกที่ต้องทาถือเป็นสิ่งสาคัญ หลังจาก เรา พบประเด็นของเรื่องแล้วจึงลงมือค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อเสริมรายละเอียดเรื่อง ราวที่ถูกต้องจริงชัดเจน และมีมิติมากขึ้น คุณภาพของ ภาพยนตร์จะดีหรือไม่จึงอยู่ที่การค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าภาพยนตร์นั้นจะมีเนื้อหาใดก็ ตาม 2.การกาหนดประโยคหลักสาคัญ (premise) หมายถึงความคิดหรือแนวความคิดที่ง่าย ๆ ธรรมดา ส่วนใหญ่ มักใช้ตั้งคาถามว่า “เกิดอะไรขึ้นถ้า...” (what if) ตัวอย่างของ premise ตามรูปแบบหนังฮอลลีวู้ด เช่น เกิดอะไรขึ้น ถ้าเรื่องโรเมโอ & จูเลียตเกิดขึ้นในนิวยอร์ค คือ เรื่อง West Side Story, เกิดอะไรขึ้นถ้ามนุษย์ดาวอังคารบุกโลก คือ เรื่อง The Invasion of Mars, เกิดอะไรขึ้นถ้าก็อตซิล่าบุกนิวยอร์ค คือเรื่อง Godzilla, เกิดอะไรขึ้นถ้ามนุษย์ต่างดาว บุกโลก คือเรื่อง The Independence Day, เกิดอะไรขึ้นถ้าเรื่องโรเมโอ & จูเลียตเกิดขึ้นบนเรือไททานิค คือเรื่อง Titanic เป็นต้น 3.การเขียนเรื่องย่อ (synopsis) คือเรื่องย่อขนาดสั้น ที่สามารถจบลงได้ 3-4 บรรทัด หรือหนึ่งย่อหน้า หรือ อาจเขียนเป็น story outline เป็นร่างหลังจากที่เราค้นคว้าหาข้อมูลแล้วก่อนเขียนเป็นโครงเรื่องขยาย (treatment) 4.การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) เป็นการเขียนคาอธิบายของโครงเรื่อง (plot) ในรูปแบบของเรื่อง สั้น โครงเรื่องขยายอาจใช้สาหรับเป็นแนวทางในการเขียนบทภาพยนตร์ที่สมบูรณ์ บางครั้งอาจใช้สาหรับยื่นขอ งบประมาณได้ด้วย และการเขียนโครงเรื่องขยายที่ดีต้องมีประโยคหลักสาหคัญ (premise) ที่ง่าย ๆ น่าสนใจ 5.บทภาพยนตร์ (screenplay) สาหรับภาพยนตร์บันเทิง หมายถึง บท (script) ซีเควนส์หลัก (master scene/sequence)หรือ ซีนาริโอ (scenario) คือ บทภาพยนตร์ที่มีโครงเรื่อง บทพูด แต่มีความสมบูรณ์น้อยกว่าบท
  • 5. 5 ถ่ายทา (shooting script) เป็นการเล่าเรื่องที่ได้พัฒนามาแล้วอย่างมีขั้นตอน ประกอบ ด้วยตัวละครหลักบทพูด ฉาก แอ็คชั่น ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนที่ถูกต้อง เช่น บทสนทนาอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษฉาก เวลา สถานที่ อยู่ชิดขอบ หน้าซ้ายกระดาษ ไม่มีตัวเลขกากับช็อต และโดยหลักทั่วไปบทภาพยนตร์หนึ่งหน้ามีความยาวหนึ่งนาที 6.บทถ่ายทา (shooting script) คือบทภาพยนตร์ที่เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการเขียน บทถ่ายทาจะบอก รายละเอียดเพิ่มเติมจากบทภาพยนตร์ (screenplay) ได้แก่ ตาแหน่งกล้อง การเชื่อมช็อต เช่น คัท (cut) การเลือน ภาพ (fade) การละลายภาพ หรือการจางซ้อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe) ตลอดจนการใช้ภาพพิเศษ (effect) อื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเลขลาดับช็อตกากับเรียงตามลาดับตั้งแต่ช็อตแรกจนกระทั่งจบ เรื่อง และ ขนาดภาพในการเขียน shooting script มีดังนี้ 6.1ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS) ได้แก่ ภาพที่ถ่ายภายนอกสถานที่โล่ง แจ้ง มักเน้นพื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบ เทียบกับสัดส่วนของมนุษย์ที่มีขนาดเล็ก ภาพ ELS ส่วน ใหญ่ใช้สาหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลาและสถานที่ อาจเรียกว่า Establishing Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่แสดงความ ยิ่งใหญ่ของฉากหลัง 6.2 ภาพระยะไกล (Long Shot /LS) ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดที่ไม่แน่นอน ตายตัว บางครั้งเรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกินความตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล (LS) ซึ่งเป็นภาพขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผู้แสดงมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับภาพ ระยะไกลมาก หรือเรียกว่า Full Shot เป็นภาพกว้างเห็นผู้แสดงเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึงส่วนเท้า 6.3 ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS)ป็นภาพที่เห็นรายละเอียด ของผู้แสดงมากขึ้น ตั้งแต่ศีรษะจนถึงขา หรือหัวเข่า ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Knee Shot เป็นภาพที่เห็นตัวผู้แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉาก หลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ ในฉากนั้น 6.4 ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS)ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อ เรียกได้หลายชื่อเช่นเดียวกัน แต่โดยปกติจะมีขนาดประมาณตั้งแต่หนึ่งในสี่ถึงสามในสี่ของร่างกาย บางครั้งเรียกว่า Mid Shot หรือ Waist Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้มากสุดอันหนึ่งภาพยนตร์ 6.5 ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU)เป็นภาพแคบ คลอบคลุมบริเวณตั้งแต่ศีรษะถึง ไหล่ของผู้แสดง ใช้สาหรับในฉากสนทนาที่เห็นอารมณ์ความรู้สึกที่ใบหน้า ผู้แสดงรู้สึกเด่นในเฟรม บางครั้งเรียกว่า Bust Shot มีขนาดเท่ารูปปั้นครึ่งตัว 6.6 ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU) เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้า ของผู้แสดง มี รายละเอียดชัดเจนขึ้น เช่น ริ้วรอยบนใบหน้า น้าตา ส่วนใหญ่เน้นความรู้สึกของผู้แสดงที่สายตา แววตา เป็นช็อตที่นิ่ง เงียบมากกว่าให้มีบทสนทนา โดยกล้องนาคนดูเข้าไปสารวจตัวละครอย่างใกล้ชิด 6.7 ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU) เป็นภาพที่เน้นส่วนใด ส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น ตา ปาก เท้า มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการเพิ่มการเล่าเรื่องในหนังให้ได้ อารมณ์มากขึ้น 6.8 มุมสายตานก (Bird's-eye view)มุมชนิดนี้มักเรียกทับศัพท์ทาให้เข้าใจ มากกว่า เป็นมุมถ่ายมาจาก ด้านบนเหนือศีรษะ ทามุมตั้งฉากเป็นแนวดิ่ง 90 องศากับผู้แสดง เป็นมุมมองที่เราไม่คุ้นเคยในชีวิตประจาวัน จึงเป็น มุมที่แปลก แทนสายตานกที่อยู่บนท้องฟ้า
  • 6. 6 7. บทภาพ (storyboard) คือ บทภาพยนตร์ประเภทหนึ่งที่อธิบายด้วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ตูน ให้เห็น ความต่อเนื่องของช็อตตลอดทั้งซีเควนส์หรือทั้งเรื่องมีคาอธิบายภาพ ประกอบ เสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียง ประกอบฉาก และเสียงพูด เป็นต้น ใช้เป็นแนวทางสาหรับการถ่ายทา หรือใช้เป็นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้า (pre- visualizing) ก่อนการถ่ายทาว่า เมื่อถ่ายทาสาเร็จแล้ว หนังจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ซึ่งบริษัทของ Walt Disney นามาใช้กับการผลิตภาพยนตร์การ์ตูนของบริษัทเป็นครั้งแรก โดยเขียนภาพ เหตุการณ์ของแอ็คชั่นเรียง ติดต่อกันบนบอร์ด เพื่อให้คนดูเข้าใจและมองเห็นเรื่องราวล่วงหน้าได้ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขที่ ลาดับช็อตกากับไว้ คาบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้อง และอาจมีเสียงประกอบด้วย 2.)บุคคลที่เกี่ยวของในขั้นตอนการเตรียมงานสร้างภาพยนตร์ 1.ผู้อานวยการผลิต (Producer)ผู้อานวยการผลิตเป็นผู้ที่ทาหน้าที่ในการควบคุมการผลิตภาพยนตร์ทั้งหมด นับตั้งแต่การวางแผน การถ่ายทา หลังการถ่ายทา เพื่อให้การผลิตภาพยนตร์เป็นไปอย่างราบรื่นและมีความสมบูรณ์ ที่สุด 2. ฝ่ายกฎหมาย (Legal Department)ฝ่ายกฎหมายทาหน้าที่ในการทาสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ภาพยนตร์ ซึ่งได้แก่การทาสัญญาเช่าลิขสิทธ์ การเช่าเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ การทาประกันภัย ฯลฯ 3.ผู้เขียนบทภาพยนตร์ (Script Writer)ผู้เขียนบทภาพยนตร์ ทาหน้าที่เขียนบทภาพยนตร์ตามที่ได้รับ มอบหมายจนแล้วเสร็จ เมื่อเขียนบทเสร็จแล้วภาระหน้าที่ต่อไปก็คือการแก้ไขบท เมื่อแก้ไขบทจนเป็นที่พอใจของผู้ ว่าจ้างแล้วภาระหน้าที่ของผู้เขียนบทก็หมดไป 4.ผู้กากับภาพยนตร์ (Film Director) ผู้กากับภาพยนตร์ มีหน้าที่ในการทาความเข้าใจบทภาพยนตร์ เลือกทีมงาน เลือกนักแสดง สถานที่ถ่ายทาภาพยนตร์ และเป็นผู้ที่ควบคุมงานผลิตภาพยนตร์ทั้งหมดภายใต้การดูแล ของผู้อานวยการผลิตภาพยนตร์ 3.)ขั้นก่อนการผลิต (Pre Production) นับเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งก่อนเริ่มทาการผลิตภาพยนตร์ ได้แก่การเตรียมข้อมูล การกาหนดหรือเค้าโครงเรื่อง การประสานงาน กองถ่ายกับสถานที่ถ่ายทา ประชุมวางแผนการผลิต การ เขียนสคริปต์ การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การถ่ายทา อุปกรณ์การบันทึกเสียง ห้องบันทึกเสียง ห้องตัดต่อ อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์แสง การเตรียม ทีมงาน ทุกฝ่าย การเดิน ทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ หาก จัดเตรียมรายละเอียดในขั้นตอนนี้ได้ดี ก็จะส่งผลให้ขั้นตอนการผลิตทาได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้นดังนั้น Pre Production เป็นขั้นตอนที่ผู้อานวยการสร้างหรือนายทุนหนังส่วนใหญ่ให้ความสาคัญเป็น อันดับ หนึ่ง เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่มีส่วนอย่างมากที่จะชี้เป็นชี้ตายได้ว่าหนังจะออกมาดีหรือไม่ช่วง พรี-โพร จะ เป็นช่วงที่หนังเริ่มก่อเค้าเป็นรูปเป็นร่างจากเรื่องที่ได้รับการอนุมัติสร้างจากนายทุน
  • 7. 7 4.)ขั้นตอนการผลิต (Production) เป็นขั้นตอนการดาเนินการถ่ายทาภาพยนตร์(ออกกอง)ทีมงานผู้ผลิตได้แก่ ผู้กากับภาพยนตร์ ช่างภาพ ช่างไฟ ช่างเทคนิคเสียง ช่างศิลป์ ผู้แต่งหน้าทาผม ผู้ฝึกซ้อมนักแสดง รวมทั้งการบันทึกเสียง ตามที่กาหนดไว้ในสคริปต์ ขั้นตอนนี้อาจมีการถ่ายทาแก้ไขหลายครั้งจนเป็นที่พอใจ (take) นอกจากนี้ อาจจาเป็นต้องเก็บภาพ/เสียงบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการขยายความ (insert) เพื่อให้ผู้ชมได้เห็นและเข้าใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น 5.)ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) เป็นขั้นตอนการตัดต่อเรียบเรียงภาพและเสียงเข้าไว้ด้วยกันตามสคริปต์หรือเนื้อหาของเรื่อง ขั้นตอนนี้จะมีการใส่กราฟิกและเทคนิคพิเศษภาพ การเชื่อมต่อ ภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้อง บันทึกเสียง เพิ่มเติม อีกก็ได้ อาจมีการนาดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่มอรรธรสในการรับชมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่จะดาเนินการอยู่ในห้องตัดต่อ มีเฉพาะ คนตัดต่อ (Editor) ผู้กากับภาพยนตร์และช่าง เทคนิคที่เกี่ยวข้องเท่านั้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - กาหนดหัวข้อ - นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอบ - รวบรวมข้อมูล - จัดทารายงาน - นาเสนอครู - ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - อินเตอร์เน็ต งบประมาณ 300 บาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ณัฐนันท์,สหัสว รรษ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณฐนันท์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ณัฐนันท์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน สหัสวรรษ 5 ปรับปรุงทดสอบ สหัสวรรษ 6 การทาเอกสารรายงาน สหัสวรรษ 7 ประเมินผลงาน ณัฐนันท์ 8 นาเสนอโครงงาน สหัสวรรษ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - มีความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้เลือกมาศึกษา - เข้าใจกระบวนการการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ - นาความรู้ที่ได้จากหัวข้อที่ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตจริง สถานที่ดาเนินการ - ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - บ้านของนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะและดนตรี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://princezip.blogspot.com/