SlideShare a Scribd company logo
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่
ได้มีโครงการผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบาย
ให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่
สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิด
ช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้
คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะ
ที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยัง
ผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบ
หลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริม
กระบวนการคิด
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้
คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media
โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและ
สร้างการเรียนรู้ของตนเอง
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน
บ้านหนองใหญ่อย่างไร
วิเคราะห์ปัญหา
ในโรงเรียน
ต้นเหตุ
ปลายเหตุ
แก้ปัญหา
ต้นเหตุ
สังเกต
ผลที่ได้
จากแนวทางในแผนภาพ ตามแนวทางการแก้ปัญหา
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน
บ้านหนองใหญ่อย่างไร
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น
- ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอด
และนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียน
คอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาท
ผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
ต้นเหตุ : คุณครูขาดเทคนิคการสอนที่ต้องเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ปลายเหตุ : การจัดการเรียนแบบเดิมๆ ที่เน้นการท่องจา
แก้ปัญหา : การฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ของครูผู้สอนและมีการ
ปรับเทคนิคการสอนของครูโดยให้ครูนั้นเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อฝึก
กระบวนการคิดวิเคราะห์ และหลังจากนั้นสังเกตผลที่เกิดขึ้น หากยังไม่ได้ผล
ให้ปรับวิธีการสอนใหม่อีกครั้ง
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน
บ้านหนองใหญ่อย่างไร
- เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อ
เล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book
ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของ
ตนเอง
ต้นเหตุ : นักเรียนขาดวินัยในการเรียน
ปลายเหตุ : นักเรียนเล่นsocial media ต่างๆ
แก้ปัญหา : เนื่องจากต้นเหตุ คือ การขาดวินัย ดังนั้นครูควรมีการ
ปลูกฝังวินัยของนักเรียนให้ตรงตามคุณลักษณะที่เหมาะสม อีกทั้งยังส่งเสริม
วินัยของนักเรียน เช่น หากใครเห็นเพื่อนคนข้างๆเล่น social media ต่างๆ
ให้บอกครูแล้วจะได้คะแนนเพิ่ม เพื่อเป็นกลวิธีและกาลังใจในการมีความ
รับผิดชอบของนักเรียน
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
ซึ่งเป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอ
เนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน (Transmit Knowledge) เช่น
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer assisted instruction: CAI) การใช้
คอมพิวเตอร์ตามรูปแบบนี้เป็นการนาเสนอการเรียนการสอนโดยการให้ผู้เรียน
ได้รับกิจกรรม การทดสอบผู้เรียน ผลการประเมินการตอบสนองจากผู้เรียน
ด้วยการให้ผลป้อนกลับและกาหนดกิจกรรมที่เหมาะสมต่อไปเพื่อให้ผู้เรียน
กระทาตามบทเรียนเป็นลาดับขั้นของกิจกรรมการเรียนการสอน
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
ในการทางานประจาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมาย
เช่น การทารายงาน การคิดคานวณ การสร้างผลงานกราฟิก เป็นต้น ลักษณะ
ของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนอาจจาแนกได้ดังนี้ การ
ประมวลคา (Word processer) โปรแกรมงานกราฟิก โปรแกรมการนาเสนอ
โปรแกรมการจัดทาฐานข้อมูล และเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ซึ่งผู้เรียน
สามารถเลือกใช้โปรแกรมเหล่านี้ในการช่วยสร้างผลงานให้สาเร็จตาม
เป้าหมายได้
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
เมื่อหน้าที่ของคอมพิวเตอร์คือผู้เรียน บทบาทของคอมพิวเตอร์และ
ผู้เรียนที่ใช้เพื่อการเรียนการสอนแบบเดิมดังที่อธิบายในหัวข้อการใช้
คอมพิวเตอร์เป็นครู ดังเช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ก็ต้องเปลี่ยนไปเป็นใน
ทิศทางตรงกันข้าม นั่นก็หมายความว่าจากคอมพิวเตอร์เป็นตัวกาหนด
กิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทาตามกลายเป็นผู้เรียนเป็นผู้กาหนด
วิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้ให้คอมพิวเตอร์ ดังนั้นบทบาทของผู้เรียนจึงเป็น
ผู้สอนและบทบาทของคอมพิวเตอร์จึงเป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความ
เข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในวิถีทาง
ที่ทาให้คอมพิวเตอร์นั้นเข้าใจคาสั่งและสามารถทางานตามที่ต้องการได้ การ
ใช้คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้ผู้เรียนจะต้องได้รับหรือมีทักษะด้านการจัดการ
ทักษะด้านการคิดเชิงตรรกะ ทักษะด้านการแก้ปัญหา เป็นต้น
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญาในการจัดการเรียนรู้ตาม
สาระการเรียนรู้ โดยยึดกรอบแนวคิดของ Vygotsky ที่สามารถสรุปการใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย
(1) Discovery tools
(2) Knowledge creation tools
(3) Communication tool
(1)เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools)
เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหา
สารสนเทศ การค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่ง
การค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ
พื้นฐานของเครื่องมือนี้มาจากทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism) ที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระ
บวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learning is active process) โดยอาศัยประสบการณ์ตรง
และค้นหาวิธีการแก้ปัญหาเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดูดซึมและการปรับเปลี่ยนของ
ข้อมูล อาจจะยกตัวอย่างการเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆผ่านทางคอมพิวเตอร์ เช่น
การศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในอินเตอร์เน็ต หรือการเรียนรู้จาก คลิปวีดีโอ e-learning
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
(2)เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน
การสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory)
เป็นระยะที่จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ
เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู่ สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งในการสร้างความรู้นั้นผู้เรียน
จะต้องดึงความรู้และประสบการณ์ต่างๆมาใช้ในการสร้างความหมายของตนเอง
และไม่ทุกครั้งเสมอไปที่ผู้เรียนจะสร้างความรู้ขึ้นมาได้อย่างง่ายดาย หากเป็นเรื่องที่
ยุ่งยาก ซับซ้อน (Ill-structure) และไม่คุ้นเคย ก็จะต้องใช้ความพยายามคิด
(Mental effort)อย่างมาก เครื่องมือสร้างความรู้มี 3 ชนิดคือ
Organizing tool เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกลุ่มสารสนเทศที่เกี่ยวข้องอย่าง
เป็นหมวดหมู่ การเชื่อมโยงความคิดยอดของสารสนเทศที่เกี่ยวข้องตัวอย่าง: Mind
mapping, flow chart, constructing table เป็นต้น
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
Integrating tool เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศที่
เกี่ยวข้องกับแนวความคิดของผู้เรียนตัวอย่าง: Annotation or typing note for
information encountered: Mapping tools
Simulations Generating tool เป็นเครื่องมือสาหรับใช้ในการสร้างสิ่งต่างๆ
อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากอาศัยเพียงแค่สมองคิด จินตนาการคงไม่เพียงพอที่จะทา
ให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจได้
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
อาจมีการทาแบบทดสอบในการเรียนรู้ e-learning การฝึกสมองต่างๆด้วย
เครื่องมือ เป็นเกมส์ฝึกสมอง ที่ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น เกมส์ 24 เกมส์ซึโดกุ
เกมส์ a-math เพื่อเป็นการฝึกกระบวนการคิดในรูปแบบใหม่ๆ เพื่อเป็นพัฒนา
กระบวนการคิดที่ให้นักเรียนได้จาและฝึกฝนการคิดเลขได้ง่ายและรูปแบบ
ไม่จาเจอีกด้วย
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
(3)เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการ
สื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อ
สร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของผู้เรียน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์โดยฐานคิดของ Vygotsky ที่เชื่อเรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมมีผลต่อ
การสร้างความรู้ ดังนั้นเครื่องมือที่เหมาะสมควรจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน
มากกว่าที่จะแยกผู้เรียนจากคนอื่น ๆ รวมทั้งครูและผู้เชี่ยวชาญ รูปแบบของ
เครื่องมือการสื่อสารมี 2 ลักษณะคือ Synchronous communication tools ใช้
สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ตัวอย่าง: Chat, online
conference, MSN เป็นต้น Asynchronous communication tools ใช้
สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่ ไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
ในการสร้าง
ปฏิสัมพันธ์ อาจเป็นการที่
ให้ศึกษาร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นของเพื่อน
ผ่าน social network
ต่างๆได้เพื่อเป็นการเปิด
ความคิด เปิดมุมมอง ใน
การทางานของนักเรียนด้วย เช่น การสะท้อนผลงานผ่านทาง D4L ที่จะมีการ
สะท้อนผลของการเรียนรู้การศึกษา จากนั้นจะมีการแสดงความคิดเห็นของเพื่อน
รวมถึงการได้รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนและได้ตอบความคิดเห็นนั้นอีกครั้ง ซึ่ง
เป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์กันในการเรียนรู้ด้วย
Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
241203 INNOVATION AND INFORMATION
TECHNOLOGY FOR LEARNING
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน
โดย
นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8
นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4
นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0
นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
อ.ดร.จารุณี ซามาตย์

More Related Content

What's hot

Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
pohn
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Waraporn Phimto
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานmansupotyrc
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Sasitorn Seajew
 
Computer project 3
Computer project 3 Computer project 3
Computer project 3
ibukionigami
 

What's hot (17)

Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 
Computer project 3
Computer project 3 Computer project 3
Computer project 3
 

Viewers also liked

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
Jessada Wansuk
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
Kanoknut Seehanam
 
231213
231213231213
Makeaplan_ppt
Makeaplan_pptMakeaplan_ppt
Makeaplan_ppt
Kanoknut Seehanam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
Jessada Wansuk
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
Kanoknut Seehanam
 
บทท 7นวัตกรรม
บทท  7นวัตกรรมบทท  7นวัตกรรม
บทท 7นวัตกรรมJessada Wansuk
 
Taller derecho de policia c 024
Taller derecho de policia c  024Taller derecho de policia c  024
Taller derecho de policia c 024
cursosespol
 
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögekNagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
nagyrita
 

Viewers also liked (18)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
241203 chapter10
241203 chapter10241203 chapter10
241203 chapter10
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
241203 chapter08
241203 chapter08241203 chapter08
241203 chapter08
 
241203 chapter07
241203 chapter07241203 chapter07
241203 chapter07
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
231213
231213231213
231213
 
241203 chapter09
241203 chapter09241203 chapter09
241203 chapter09
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
Makeaplan_ppt
Makeaplan_pptMakeaplan_ppt
Makeaplan_ppt
 
Makeaplan
MakeaplanMakeaplan
Makeaplan
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
 
บทท 7นวัตกรรม
บทท  7นวัตกรรมบทท  7นวัตกรรม
บทท 7นวัตกรรม
 
231213
231213231213
231213
 
Taller derecho de policia c 024
Taller derecho de policia c  024Taller derecho de policia c  024
Taller derecho de policia c 024
 
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögekNagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
 

Similar to 241203 chapter05

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
iibowvie
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Turdsak Najumpa
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
Mod DW
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learning
proranat
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learning
proranat
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 

Similar to 241203 chapter05 (20)

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learning
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learning
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 

Recently uploaded

เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

241203 chapter05

  • 1.
  • 2. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ ได้มีโครงการผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบาย ให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่ สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิด ช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้ คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะ ที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยัง ผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบ หลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริม กระบวนการคิด สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
  • 3. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้ คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและ สร้างการเรียนรู้ของตนเอง สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
  • 4. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน บ้านหนองใหญ่อย่างไร วิเคราะห์ปัญหา ในโรงเรียน ต้นเหตุ ปลายเหตุ แก้ปัญหา ต้นเหตุ สังเกต ผลที่ได้ จากแนวทางในแผนภาพ ตามแนวทางการแก้ปัญหา
  • 5. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน บ้านหนองใหญ่อย่างไร วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น - ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอด และนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียน คอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาท ผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด ต้นเหตุ : คุณครูขาดเทคนิคการสอนที่ต้องเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ปลายเหตุ : การจัดการเรียนแบบเดิมๆ ที่เน้นการท่องจา แก้ปัญหา : การฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ของครูผู้สอนและมีการ ปรับเทคนิคการสอนของครูโดยให้ครูนั้นเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อฝึก กระบวนการคิดวิเคราะห์ และหลังจากนั้นสังเกตผลที่เกิดขึ้น หากยังไม่ได้ผล ให้ปรับวิธีการสอนใหม่อีกครั้ง
  • 6. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน บ้านหนองใหญ่อย่างไร - เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อ เล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของ ตนเอง ต้นเหตุ : นักเรียนขาดวินัยในการเรียน ปลายเหตุ : นักเรียนเล่นsocial media ต่างๆ แก้ปัญหา : เนื่องจากต้นเหตุ คือ การขาดวินัย ดังนั้นครูควรมีการ ปลูกฝังวินัยของนักเรียนให้ตรงตามคุณลักษณะที่เหมาะสม อีกทั้งยังส่งเสริม วินัยของนักเรียน เช่น หากใครเห็นเพื่อนคนข้างๆเล่น social media ต่างๆ ให้บอกครูแล้วจะได้คะแนนเพิ่ม เพื่อเป็นกลวิธีและกาลังใจในการมีความ รับผิดชอบของนักเรียน
  • 7. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู ซึ่งเป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอ เนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน (Transmit Knowledge) เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer assisted instruction: CAI) การใช้ คอมพิวเตอร์ตามรูปแบบนี้เป็นการนาเสนอการเรียนการสอนโดยการให้ผู้เรียน ได้รับกิจกรรม การทดสอบผู้เรียน ผลการประเมินการตอบสนองจากผู้เรียน ด้วยการให้ผลป้อนกลับและกาหนดกิจกรรมที่เหมาะสมต่อไปเพื่อให้ผู้เรียน กระทาตามบทเรียนเป็นลาดับขั้นของกิจกรรมการเรียนการสอน
  • 8. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย ในการทางานประจาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทารายงาน การคิดคานวณ การสร้างผลงานกราฟิก เป็นต้น ลักษณะ ของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนอาจจาแนกได้ดังนี้ การ ประมวลคา (Word processer) โปรแกรมงานกราฟิก โปรแกรมการนาเสนอ โปรแกรมการจัดทาฐานข้อมูล และเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ซึ่งผู้เรียน สามารถเลือกใช้โปรแกรมเหล่านี้ในการช่วยสร้างผลงานให้สาเร็จตาม เป้าหมายได้
  • 9. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน เมื่อหน้าที่ของคอมพิวเตอร์คือผู้เรียน บทบาทของคอมพิวเตอร์และ ผู้เรียนที่ใช้เพื่อการเรียนการสอนแบบเดิมดังที่อธิบายในหัวข้อการใช้ คอมพิวเตอร์เป็นครู ดังเช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ก็ต้องเปลี่ยนไปเป็นใน ทิศทางตรงกันข้าม นั่นก็หมายความว่าจากคอมพิวเตอร์เป็นตัวกาหนด กิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทาตามกลายเป็นผู้เรียนเป็นผู้กาหนด วิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้ให้คอมพิวเตอร์ ดังนั้นบทบาทของผู้เรียนจึงเป็น ผู้สอนและบทบาทของคอมพิวเตอร์จึงเป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความ เข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในวิถีทาง ที่ทาให้คอมพิวเตอร์นั้นเข้าใจคาสั่งและสามารถทางานตามที่ต้องการได้ การ ใช้คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้ผู้เรียนจะต้องได้รับหรือมีทักษะด้านการจัดการ ทักษะด้านการคิดเชิงตรรกะ ทักษะด้านการแก้ปัญหา เป็นต้น
  • 10. Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญาในการจัดการเรียนรู้ตาม สาระการเรียนรู้ โดยยึดกรอบแนวคิดของ Vygotsky ที่สามารถสรุปการใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย (1) Discovery tools (2) Knowledge creation tools (3) Communication tool
  • 11. (1)เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหา สารสนเทศ การค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่ง การค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ พื้นฐานของเครื่องมือนี้มาจากทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism) ที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระ บวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learning is active process) โดยอาศัยประสบการณ์ตรง และค้นหาวิธีการแก้ปัญหาเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดูดซึมและการปรับเปลี่ยนของ ข้อมูล อาจจะยกตัวอย่างการเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆผ่านทางคอมพิวเตอร์ เช่น การศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในอินเตอร์เน็ต หรือการเรียนรู้จาก คลิปวีดีโอ e-learning Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 12. (2)เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน การสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory) เป็นระยะที่จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู่ สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งในการสร้างความรู้นั้นผู้เรียน จะต้องดึงความรู้และประสบการณ์ต่างๆมาใช้ในการสร้างความหมายของตนเอง และไม่ทุกครั้งเสมอไปที่ผู้เรียนจะสร้างความรู้ขึ้นมาได้อย่างง่ายดาย หากเป็นเรื่องที่ ยุ่งยาก ซับซ้อน (Ill-structure) และไม่คุ้นเคย ก็จะต้องใช้ความพยายามคิด (Mental effort)อย่างมาก เครื่องมือสร้างความรู้มี 3 ชนิดคือ Organizing tool เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกลุ่มสารสนเทศที่เกี่ยวข้องอย่าง เป็นหมวดหมู่ การเชื่อมโยงความคิดยอดของสารสนเทศที่เกี่ยวข้องตัวอย่าง: Mind mapping, flow chart, constructing table เป็นต้น Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 13. Integrating tool เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศที่ เกี่ยวข้องกับแนวความคิดของผู้เรียนตัวอย่าง: Annotation or typing note for information encountered: Mapping tools Simulations Generating tool เป็นเครื่องมือสาหรับใช้ในการสร้างสิ่งต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากอาศัยเพียงแค่สมองคิด จินตนาการคงไม่เพียงพอที่จะทา ให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจได้ Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 14. อาจมีการทาแบบทดสอบในการเรียนรู้ e-learning การฝึกสมองต่างๆด้วย เครื่องมือ เป็นเกมส์ฝึกสมอง ที่ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น เกมส์ 24 เกมส์ซึโดกุ เกมส์ a-math เพื่อเป็นการฝึกกระบวนการคิดในรูปแบบใหม่ๆ เพื่อเป็นพัฒนา กระบวนการคิดที่ให้นักเรียนได้จาและฝึกฝนการคิดเลขได้ง่ายและรูปแบบ ไม่จาเจอีกด้วย Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 15. (3)เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการ สื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อ สร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของผู้เรียน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนว คอนสตรัคติวิสต์โดยฐานคิดของ Vygotsky ที่เชื่อเรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมมีผลต่อ การสร้างความรู้ ดังนั้นเครื่องมือที่เหมาะสมควรจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน มากกว่าที่จะแยกผู้เรียนจากคนอื่น ๆ รวมทั้งครูและผู้เชี่ยวชาญ รูปแบบของ เครื่องมือการสื่อสารมี 2 ลักษณะคือ Synchronous communication tools ใช้ สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ตัวอย่าง: Chat, online conference, MSN เป็นต้น Asynchronous communication tools ใช้ สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่ ไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 16. ในการสร้าง ปฏิสัมพันธ์ อาจเป็นการที่ ให้ศึกษาร่วมกันแสดง ความคิดเห็นของเพื่อน ผ่าน social network ต่างๆได้เพื่อเป็นการเปิด ความคิด เปิดมุมมอง ใน การทางานของนักเรียนด้วย เช่น การสะท้อนผลงานผ่านทาง D4L ที่จะมีการ สะท้อนผลของการเรียนรู้การศึกษา จากนั้นจะมีการแสดงความคิดเห็นของเพื่อน รวมถึงการได้รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนและได้ตอบความคิดเห็นนั้นอีกครั้ง ซึ่ง เป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์กันในการเรียนรู้ด้วย Chapter5 : คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 17. 241203 INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน โดย นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8 นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4 นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0 นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร อ.ดร.จารุณี ซามาตย์