SlideShare a Scribd company logo
Part5
Evaluating media for instruction
Chapter10
การประเมินคุณภาพ
สื่อการเรียนรู้
ภารกิจที่ 1
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้
สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
ประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง การประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง ดัง
รายละเอียด ต่อไปนี้
1) ศึกษาบริบทที่เหมาะสมในการใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย
อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพจริง เช่น จานวนสมาชิกในกลุ่มที่เรียนแบบร่วมมือกัน
แก้ปัญหา อาจทาได้โดยทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ ให้ผู้เรียนทาการ
ทดลองใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ โดยอาจจัดกลุ่มที่อาศัยพื้นฐานกระบวนการกลุ่ม
คือ จานวน 2-5 คน ในการทดลอง อาจจัดกลุ่มเป็นกลุ่มละ 2 คน 3 คน 4 คน หรือ 5
คน และให้แต่ละกลุ่มเรียนด้วยการร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaborative learning)
แล้วทาการสัมภาษณ์ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับจานวนสมาชิกในกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ
สูงสุด ในการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการร่วมมือกันแก้ปัญหา
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
2) ทดลองใช้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข นาข้อคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วย
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย มาเป็นพื้นฐานในการปรับปรุง
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อาจทาโดยการให้ผู้เรียนตอบแบบสอบถาม แบบสารวจ
หรือ สัมภาษณ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ การออกแบบ หรือ การใช้ ฯลฯ เพื่อนา
ข้อคิดเห็นของผู้เรียนมาเป็นพื้นฐานในการแก้ไข ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ก่อนที่จะนาไปใช้ในสภาพจริง
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การประเมินด้านผลผลิต ด้านสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะ
ทาการตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งนา
หลักการสาคัญของ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา ของ Piajet และ ทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การ
นาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา
ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดังรายละเอียด ต่อไปนี้
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง
2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง (Learner control)
3. สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือ
ค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง
4. ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง
5. ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่
ต้องการค้นหาคาตอบ
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
การประเมินด้านผลผลิต ด้านสื่อในส่วนชุดสร้างความรู้
มีหลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้
1. การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มีการเน้น
ด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง
2. การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
3. ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ ขนาดของตัวอักษร
ที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา
4. การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย
5. ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทาให้สามารถ
เรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น
6. การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้
ในการเรียนของตนเอง
การประเมินด้านผลผลิต ด้านสื่อ ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ จะทาการตรวจสอบเกี่ยวกับ
คุณภาพการออกแบบสื่อ คุณลักษณะของสื่อชนิดต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไปสื่อบน
เครือข่าย
1. การออกแบบเครื่องนาทาง (Navigator) ช่วยในการค้นหาหาสารสนเทศ
2. การออกแบบเครื่องนาทางมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันและมีความคงที่
3. สัญลักษณ์ที่เป็นไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศ
ต่างๆ
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละ
คนพร้อมทั้งให้เหตุผล
4. การเชื่อมโยง (Link) ช่วยให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ
5. ประสิทธิภาพของ รูปแบบการสนทนา (post) ผ่านเครือข่าย (web)
6. การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ (architecture) บนเครือข่ายมีความเหมาะสม
สะดุดตา น่าสนใจ
7. ภาพและขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้
ภารกิจที่ 2
อธิบายข้อจากัดของ
การประเมินสื่อการสอน
อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
จากนิยามของสื่อการสอนที่เป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มี
อิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรู้เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง ไม่มี
การเปลี่ยนแปลง ดังนั้นหากใครสามารถรับหรือจดจาความรู้ได้มากที่สุดก็ถือว่าผู้นั้น
เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีที่สุดและนั่นคือเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ของครู
ดังนั้น การประเมินสื่อการสอน จะประเมินลักษณะของสื่อ คุณภาพของสื่อ
และความสามารถของสื่อที่จะช่วยส่งเสริมการอธิบายเนื้อหาการเรียนเท่านั้น
ภารกิจที่ 3
เปรียบเทียบความแตกต่างของ
แนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการ
เรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้
และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การประเมินสื่อการสอน จะประเมินลักษณะของสื่อ คุณภาพของสื่อและ
ความสามารถของสื่อที่จะช่วยส่งเสริมการอธิบายเนื้อหาการเรียนเท่านั้น เพราะสื่อการ
สอนที่เป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มีอิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับการ
เรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรู้เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง
การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ จะประเมินทั้งด้าน
สื่อการเรียนรู้และประเมินที่ตัวของผู้เรียนด้วยเพื่อเป็นการควบคู่ไปด้วยกัน โดยมีการ
ประเมินดังนี้ (1) การประเมินด้านผลผลิต
(2) การประเมินบริบทการใช้
(3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา
(4) การประเมินด้านความคิดเห็น
(5) การประเมินผลสัมฤทธิ์
241203 INNOVATION AND INFORMATION
TECHNOLOGY FOR LEARNING
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน
โดย
นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8
นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4
นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0
นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
อ.ดร.จารุณี ซามาตย์

More Related Content

What's hot

Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Ged Gis
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Sasitorn Seajew
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
Hami dah'Princess
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Vi Mengdie
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนPoppy'z Namkham
 
Drl033782
Drl033782Drl033782
Drl033782
Moohlan Ilada
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้านPochchara Tiamwong
 
World class
World classWorld class
World class
Tay Chaloeykrai
 

What's hot (13)

Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโน
 
Drl033782
Drl033782Drl033782
Drl033782
 
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
World class
World classWorld class
World class
 

Viewers also liked

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
Jessada Wansuk
 
Makeaplan_ppt
Makeaplan_pptMakeaplan_ppt
Makeaplan_ppt
Kanoknut Seehanam
 
231213
231213231213
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
Kanoknut Seehanam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
Jessada Wansuk
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
Kanoknut Seehanam
 
บทท 7นวัตกรรม
บทท  7นวัตกรรมบทท  7นวัตกรรม
บทท 7นวัตกรรมJessada Wansuk
 
Taller derecho de policia c 024
Taller derecho de policia c  024Taller derecho de policia c  024
Taller derecho de policia c 024
cursosespol
 
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögekNagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
nagyrita
 

Viewers also liked (18)

Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
241203 chapter09
241203 chapter09241203 chapter09
241203 chapter09
 
Makeaplan
MakeaplanMakeaplan
Makeaplan
 
Makeaplan_ppt
Makeaplan_pptMakeaplan_ppt
Makeaplan_ppt
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
231213
231213231213
231213
 
241203 chapter08
241203 chapter08241203 chapter08
241203 chapter08
 
241203 chapter07
241203 chapter07241203 chapter07
241203 chapter07
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
 
231213
231213231213
231213
 
บทท 7นวัตกรรม
บทท  7นวัตกรรมบทท  7นวัตกรรม
บทท 7นวัตกรรม
 
Taller derecho de policia c 024
Taller derecho de policia c  024Taller derecho de policia c  024
Taller derecho de policia c 024
 
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögekNagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
Nagy Rita - 2. síkbeli alakzatok, sokszögek
 

Similar to 241203 chapter10

Chapter10mii
Chapter10miiChapter10mii
Chapter10mii
siri123001
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)
Siri Siripirom
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Sasitorn Seajew
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10beta_t
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdfFerNews
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
งาน
งานงาน
งาน
kimegapong
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
Pronsawan Petklub
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6sangkom
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
Weerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2chatruedi
 

Similar to 241203 chapter10 (20)

241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt241203 chapter 10 ppt
241203 chapter 10 ppt
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Chapter10mii
Chapter10miiChapter10mii
Chapter10mii
 
1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)1415650144 chapter10 --- (1)
1415650144 chapter10 --- (1)
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdf
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
Evaluating quaility of learning media by math ed kku sec2
 

241203 chapter10