SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
CHAPTER 5
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มี
โครงการผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุก
ระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้
บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์
ได้ผลจากการประเมินการใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนา
สื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการ
สอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การ
ทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการ
คิด
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้
เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
ภารกิจ
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็น
อย่างไร
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการ
เรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร
ครูผู้สอนต้องมองคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา และทา
ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือทางปัญญาซึ่งเครื่องมือทางปัญญาจะเป็นตัว
สนับสนุน ส่งเสริมและแนะแนว รวมทั้งช่วยขยายฟังก์ชั่นการทางาน
กระบวนการรู้คิด (Cognitive processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทา
การคิด แก้ปัญหา และการเรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้เครื่องมือ
ทางปัญญาในลักษณะการสร้างความรู้มากกว่าการจดจาความรู้ซึ่ง
ครูผู้สอนควรนาเครื่องมือทางปัญญามาประยุกต์การเรียนการสอนกับการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ซึ่งครูจะมีบทบาทคือ
-ผู้แนะนาเมื่อผู้เรียนประสบปัญหา สนับสนุนด้วยการกระตุ้น แนะนา ให้
ผู้เรียนต่อสู้กับปัญหา และเกิดความท้าทายที่จะแก้ปัญหาให้ได้ ซึ่งที่จะทาให้
ผู้เรียนเกิดความสนใจ และได้รับความพึงพอใจในผลของงานที่ได้ลงมือกระทา
-กระตุ้นให้ปฏิบัติงานในกลุ่ม ซึ่งตามการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
มุ่งเน้นเรื่องการมีปฏิสัมพันธ์ในเชิงสังคม คือเด็กจะพัฒนาในกลุ่มของสังคมที่
จัดขึ้น การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมควรจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน
มากกว่าที่จะแยกผู้เรียนจากคนอื่น ๆ
ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
1.เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหา
สารสนเทศ การค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่งการค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ
พื้นฐานของเครื่องมือนี้มาจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism)
ที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learningis active process) โดยอาศัย
ประสบการณ์ตรง และค้นหาวิธีการแก้ปัญหา ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดูดซึมและการ
ปรับเปลี่ยนของข้อมูล
2.เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creationtools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน
การสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory) เป็นระยะที่
จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ เพื่อจัดระเบียบ
หมวดหมู สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งในการสร้างความรู้นั้นผู้เรียนจะต้องดึงความรู้และ
ประสบการณ์ต่างๆมาใช้ในการสร้างความหมายของตนเองและหากเรื่องที่ต้องสร้างความรู้
เป็นเรื่องที่ยุ่งยาก ซับซ้อน (Ill-structure) และไม่คุ้นเคย ก็จะต้องใช้ความพยายามคิด(Mental
effort)อย่างมาก
เป็นผลให้ใช้ค๊อกนิทีฟโหลด (Cognitive load) มาก จนอาจทาให้ไม่
สามารถสร้างความรู้ได้ดังนั้นเครื่องมือนี้จะไปสนับสนุนการสร้างความหมายของ
ผู้เรียนและยังช่วยลด Cognitive load ดังนั้นครูผู้สอนควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด
เพื่อคอยช่วยกระตุ้นนักเรียนให้ออกจากปัญหาให้ได้
3.เครื่องมือการสื่อสาร (Communicationtool) เป็นเครื่องมือที่ใช้
สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง
และผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของผู้เรียน สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่เชื่อเรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมมีผลต่อการสร้าง
ความรู้
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหา
การเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การเรียน
การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน (CBI) หรือการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนรู้
(CAL) ซึ่งเป็นการนาเสนอการเรียนการสอนโดยการให้ผู้เรียนได้รับกิจกรรม การ
ทดสอบผู้เรียน ผลการประเมินการตอบสนองจากผู้เรียนด้วยการให้ผลป้อนกลับ
และกาหนดกิจกรรมที่เหมาะสมต่อไปเพื่อให้ผู้เรียนกระทาตามบทเรียนเป็นลาดับ
ขั้นของกิจกรรมการเรียนการสอน
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นเครื่องมือ
ช่วยผู้เรียนในการทางานประจาต่างๆเกี่ยวกับการเรียน
และงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทารายงาน การคิด
คานวณ การสร้างผลงานกราฟิก เป็นต้น ซึ่งผู้เรียน
สามารถเลือกใช้โปรแกรมในการช่วยสร้างผลงานให้
สาเร็จตามเป้าหมายได้เช่น โปรแกรม Power point
presentationโปรแกรม Microsoft assess เป็นต้น
3.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด (Open-ended approach)
ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหา
และวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้สอนและบทบาทของ
คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความเข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้
ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในวิถีทางที่ทาให้คอมพิวเตอร์นั้นเข้าใจคาสั่งและ
สามารถทางานตามที่ต้องการได้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ตาม
สาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอ
เนื้อหาทางคณิตศาสตร์ไปยังผู้เรียนและใช้ในการประเมินนักเรียน โดยให้
นักเรียนทาแบบทดสอบในคอมพิวเตอร์ และนักเรียนสามารถตรวจคาตอบได้
เลย จากเฉลยคาตอบแบบละเอียดที่อยู่ถัดจากการทาแบบทดสอบ นักเรียนจะ
ได้ทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง
1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
ให้นักเรียนทาโครงงานทางคณิตศาสตร์กลุ่มละประมาณ 4-5 คน
จากนั้นนาเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ โดยให้นักเรียน
ศึกษาโปรแกรมเองภายในกลุ่ม ว่าอยากที่จะนาเสนอผลงานของตนเองใน
รูปแบบใด ใช้เป็นตัวคานวณในสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจะคานวณเพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้กับงานที่ตนเองจะต้องทาเรียกโปรแกรมนี้ว่าElectronic
spreadsheetsและใช้ในการส่งงานไปยังอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้สะดวก
รวดเร็วในการทางานและสามารถที่จะนางานที่ส่งมาปรับเปลี่ยนแก้ไขได้
ไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางไปส่งเนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ
เข้าหากันได้
3.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
โดยการใช้คอมพิวเตอร์วิธีนี้จะเป็นการใช้เกี่ยวกับการ
แก้ปัญหาปลายเปิดโดยผู้สอนจะตั้งสร้างสถานการณ์ปัญหามา
และให้ผู้เรียนไปหาคาตอบโดยวิธีการใช้โปรแกรมทาง
คอมพิวเตอร์ค้นหาคาตอบซึ่งผู้เรียนจะต้องเป็นผู้สั่งการ
คอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์อย่างง่าย เช่น
LOGO, BASIC, C เป็นต้น
สมาชิก
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 

What's hot (15)

Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

Similar to คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 

Similar to คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (15)

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

More from sinarack

สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตสิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตsinarack
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__sinarack
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__sinarack
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1sinarack
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา pptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา pptsinarack
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอsinarack
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 
563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1sinarack
 
563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1sinarack
 

More from sinarack (11)

สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตสิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา pptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 
563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1563050140 6 mind map1
563050140 6 mind map1
 
563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1563050140-6 mind map1
563050140-6 mind map1
 

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้