SlideShare a Scribd company logo
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง ประวัติศาสดาของพระพุทธศาสดา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร 6
่
ปี การศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน ประวัตศาสดาของพระพุทธศาสดา
ิ
ชื่อผูทาโครงงาน
้
้
1. นางสาวภัททิยา เหวี่ยน เลขที่ 6 ชันม.6 ห้อง 15
้
2. นายจตุรพร เทพอินทร์ เลขที่ 26 ชันม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ท่ปรึกษาโครงงานครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ี

ระยะเวลาดาเนิ นงาน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุม ข้าวเงี้ยว
่
้
1.นางสาวภัททิยา เหวี่ยน เลขที่ 6 ชัน ม.6/15
้
2.นายจตุรพร เทพอินทร์ เลขที่ 26 ชัน ม.6/15
คาชี้แจง ให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุมเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
่
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) ประวัตศาสดาของพระพุทธศาสดา
ิ
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) History of Buddhism Prophet Prophet
ประเภทโครงงาน ประเภทศึกษาหาความรู ้
ชื่อผูทาโครงงาน 1.นางสาวภัททิยา เหวี่ยน
้
2.นายจตุรพร เทพอินทร์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนิ นงาน 3 สัปดาห์
• ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จากการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาและเป็ นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวตประจาวัน ด้วยเหตุน้ ี กลุมของ
ิ
่
ข้าพเจ้าจึงคิดที่จะศึกษาประวัติศาสดาของศาสนาพุทธ ซึ่งผูคนส่วนมากในทวีปเอเชียได้นับถือศาสนา
้
พุทธรวมถึงตัวของข้าพเจ้าด้วย ดังนั้นเราจึงได้ตกลงกันว่าจะทาโครงงานในเรื่องประวัตศาสดาของ
ิ
้
พระพุทธศาสนาโดยศึกษาประวัตของพระพุทธเจ้าตังแต่ประสูติ อภิเษกสมรส ออกบรรพชา และอืนๆ
ิ
่
จนถึงปรินิพพานเพือให้พทธศาสนิ กชนสนใจพระพุทธศาสนามากขึ้น
่ ุ

• วัตถุประสงค์
1.
2.
3.

เพือศึกษาประวัตศาสดาของพุทธศาสนา
ิ
่
เพีอให้ชาวพุทธหันมาสนใจพระพุทธศาสนามากขึ้น
่
เพีอให้ชาวพุทธได้รูจกประวัตศาสดาของศาสนาพุทธให้มากขึ้น
่
้ั
ิ

• ขอบเขตของโครงงาน
ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องจากคอมพิวเตอร์โดยค้นคว้าในอินเตอร์เน็ ต และจากหนังสือพระพุทธศาสนา
• หลักการและทฤษฏี
โครงงานเรื่องประวัตศาสดาของพระพุทธศาสนาเป็ นโครงงานที่เสนอเกี่ยวกับเรื่อง
ิ
้
ประวัตของพระพุทธเจ้า ตังแต่ประสิจนถึงปรินิพพาน
ิ
เหตุผลที่ทาให้กลุมของข้าพเจ้าคิดที่จะทาโครงงานในเรื่องนี้ กเ็ พราะผูคนในทวีปเอเชีย
่
้
และข้าพเจ้านับถือศาสนาพุทธ และต้องการให้ชาวพุทธได้รูประวัตศาสดาของศาสนาที่ตน
้
ิ
นับถืออยู่และจะได้สนใจศาสนาของตนให้มากขึ้น
ประสูติ
พระพุทธเจ้า พระนามเดิมว่า “ สิทธัตถะ “ เป็ นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธท
นะและพระนางสิรมหามายา แห่งกรุงกบิลพัสดุ ์ แคว้นสักกะ พระองค์ทรงถือกาเนิ ดใน
ิ
ศากยวงค์ สกุลโคตมะ พระองค์ประสูติ ในวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ คา เดือน ๖ (เดือนวิสาขะ)
่
้
ปี จอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี ณ สวนลุมพินีวน ซึ่งตังอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ ์ แคว้น
ั
สักกะ กับ กรุงเทวทหะ แคว้นโกลิยะ (ปัจจุบนคือตาบลรุมมินเด ประเทศเนปาล)
ั
การขนานพระนาม และทรงเจริญพระชนม์
พระราชกุมารได้รบการทานายจากอสิตฤาษี หรือกาฬเทวิลดาบส มหาฤาษีผู ้
ั
บาเพ็ญฌานอยู่ในป่ าหิมพานต์ซ่งเป็ นที่ทรงเคารพนับถือของพระเจ้าสุทโธทนะว่า “ พระ
ึ
ราชกุมารนี้ เป็ นอัจฉริยมนุ ษย์ มีลกษณะมหาบุรุษครบถ้วน บุคคลที่มีลกษณะดังนี้ จักต้อง
ั
ั
เสด็จออกจากพระราชวังผนวชเป็ นบรรพชิตแล้วตรัสรูเ้ ป็ นพระอรหันตสัมมา สัมพุทธเจ้าผู ้
ไม่มีกเิ ลสในโลกเป็ นแน่ “
หลังจากประสูตได้ ๕ วัน พระเจ้าสุทโธทนะโปรดให้ประชุมพระประยูรญาติ และเชิญ
ิ
พราหมณ์ ผูเ้ รียนจบไตรเพท จานวน ๑๐๘ คน เพื่อมาทานายพระลักษณะของพระราช
กุมาร
• พระประยูรญาติได้พร้อมใจกันถวายพระนามว่า “สิทธัตถะ”
มี
้
ความหมายว่า “ ผูมีความสาเร็จสมประสงค์ทกสิงทุกอย่างที่ตนตังใจจะทา ” ส่วนพราหมณ์
้
ุ ่
้ั
เหล่านั้นคัดเลือกกันเองเฉพาะผูท่ีทรงวิทยาคุณประเสริฐกว่าพราหมณ์ทงหมดได้ ๘ คน
้
เพื่อทานายพระราชกุมาร พราหมณ์ ๗ คนแรก ต่างก็ทานายไว้ ๒ ประการ คือ “ ถ้าพระ
ราชกุมารเสด็จอยู่ครองเรือนก็จกเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิผูทรงธรรม หรือถ้าเสด็จออกผนวช
ั
้
เป็ นบรรพชิตจักเป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูไม่มีกเิ ลสในโลก” ส่วนโกณฑัญญะ
้
พราหมณ์ ผูมีอายุนอยกว่าทุกคน ได้ทานายเพียงอย่างเดียวว่า พระราชกุมารจักเสด็จออก
้
้
จากพระราชวังผนวชเป็ นบรรพชิต แล้วตรัสรูเ้ ป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูไม่มีกเิ ลส
้
ในโลก “
• เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๗ วัน พระราชมารดาก็เสด็จสวรรคต
(การเสด็จ
สวรรคตดังกล่าวเป็ นประเพณี ของผูท่เี ป็ นพระมารดาของพระพุทธเจ้า) พระเจ้าสุทโธทนะ
้
ทรงมอบหมายให้พระนางมหาปชาบดีโคตมีซ่งเป็ นพระกนิ ษฐาของพระ นางสิรมหามายา
ึ
ิ
เป็ นผูถวายอภิบาลเลี้ยงดู เมื่อพระสิทธัตถะทรงพระเจริญมีพระชนมายุได้ ๘ พรรษา ได้
้
ทรงศึกษาในสานักอาจารย์วิศวามิตร ซึ่งมีเกียรติคุณแพร่ขจรไปไกลไปยังแคว้นต่างๆ
เพราะเปิ ดสอนศิลปวิทยาถึง ๑๘ สาขา เจ้าชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหล่านี้ ได้
อย่างว่องไว และเชี่ยวชาญจนหมดความสามารถของพระอาจารย์
อภิเษกสมรส
• ด้วยพระราชบิดามีพระราชประสงค์มนคงที่จะให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงครองเพศฆราวาส
ั่
เป็ นพระจักพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสาราญ แวดล้อมด้วยความ
้
บันเทิงนานาประการแก่พระราชโอรสเพื่อผูกพระทัยให้มนคงในทางโลก เมื่อเจ้าชาย
ั่
สิทธัตถะเจริญพระชนม์ได้ ๑๖ พรรษา พระเจ้าสุทโธทนะมีพระราชดาริว่าพระราชโอรส
สมควรจะได้อภิเษกสมรส จึงโปรดให้สร้างปราสาทอันวิจตรงดงามขึ้น ๓ หลัง สาหรับให้
ิ
้
พระราชโอรสได้ประทับอย่างเกษมสาราญตามฤดูกาลทัง ๓ คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดู
้
้
หนาว แล้วตังชื่อปราสาทนั้นว่ารมยปราสาท สุรมยปราสาท และสุภปราสาทตามลาดับ
และทรงสูขอพระนางพิมพาหรือยโสธรา พระราชธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะและ
่
พระนางอมิตา แห่งเทวทหะนครในตระกูลโกลิยวงค์ให้อภิเษกด้วยเจ้าชายสิทธัตถะได้
เสวยสุขสมบัติ จนพระชนมายุมายุได้ ๒๙ พรรษา พระนางพิมพายโสรธาจึงประสูติ
พระโอรส พระองค์มีพระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเป็ นอย่างยิ่ง เมื่อพระองค์ทรงทราบ
ถึงการประสูตของพระโอรสพระองค์ตรัสว่า “ ราหุล ชาโต, พันธน ชาต , บ่วงเกิดแล้ว ,
ิ
เครื่องจองจาเกิดแล้ว”
ออกบรรพชา
• เจ้าชายสิทธัตถะทรงเป็ นผูมีพระบารมีอนบริบูรณ์ ถึงแม้พระองค์จะทรงพรัง่ พร้อมด้วยสุข
้
ั
สมบัตมหาศาลก็มิได้พอพระทัยในชีวิต คฤหัสถ์ พระองค์ยงทรงมีพระทัยฝักใฝ่ ใคร่ครวญ
ิ
ั
ถึงสัจธรรมที่จะเป็ นเครื่องนาทางซึ่ง ความพ้นทุกข์อยู่เสมอ พระองค์ได้เคยเสด็จประพาส
้
อุทยาน ได้ทอดพระเนตรเทวทูตทัง ๔ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองค์
จึงสังเวชพระทัยในชีวิต และพอพระทัยในเพศบรรพิต มีพระทัยแน่ วแน่ ท่จะทรงออก
ี
ผนวช เพื่อแสวงหาโมกขธรรมอันเป็ นทางดับทุกข์ถาวรพ้นจากวัฏสงสารไม่กลับมาเวียน
ว่ายตายเกิดอีก พระองค์จงตัดสินพระทัยเสด็จออกทรงผนวช โดยพระองค์ทรงม้ากัณฐกะ
ึ
พร้อมด้วยนายฉันนะ มุ่งสู่ แม่น้ าอโนมานที แคว้นมัลละ รวมระยะทาง ๓๐ โยชน์
(ประมาณ ๔๘๐ กิโลเมตร) เสด็จข้ามฝังแม่น้ าอโนมานทีแล้วทรงอธิษฐานเพศเป็ น
่
บรรพชิต และทรงมอบหมายให้นายฉันนะนาเครื่องอาภรณ์และม้ากัณฐกะกลับนคร
กบิลพัสดุ ์
เข้าศึกษาในสานักดาบส
• ภายหลังที่ทรงผนวชแล้วพระองค์ได้ประทับอยู่ ณ อนุ ปิยอัมพวัน แคว้นมัลละเป็ นเวลา ๗
วัน จากนั้นจึงเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ พระเจ้าพิมพิสารได้เสด็จมาเฝ้ าพระองค์
ณ เงื้อมเขาปัณฑวะ ได้ทรงเห็นพระจริยาวัตรอันงดงามของพระองค์กทรงเลื่อมใส และ
็
ทรงทราบว่าพระสมณสิทธัตถะทรงเห็นโทษในกาม เห็นทางออกบวชว่าเป็ นทางอันเกษม
จะจาริกไปเพื่อบาเพ็ญเพียร และทรงยินดีในการบาเพ็ญเพียรนั้น พระเจ้าพิมพิสารได้
ตรัสว่า “ ท่านจักเป็ นพระพุทธเจ้าแน่ นอน และเมื่อได้เป็ นพระพุทธเจ้าแล้ว ขอได้โปรด
เสด็จมายังแคว้นของกระหม่อมฉันเป็ นแห่งแรก ’’ ซึ่งพระองค์กทรงถวายปฏิญญาแด่พระ
็
เจ้าพิมพิสาร
• การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแล้ว สมณสิทธัตถะได้ทรงศึกษาในสานัก
อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ณ กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ พระองค์
ได้ทรงประพฤติพรหมจรรย์ในสานักของอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงได้สมาบัตคอ
ิื
ทุตยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอา
ิ
กิญจัญญายตนฌาน ส่วนการประพฤติพรหมจรรย์ในสานักอุทกดาบส รามบุตร นั้นทรงได้
สมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สาหรับฌานที่ ๑ คือปฐมฌานนั้น พระองค์
ทรงได้ขณะกาลังประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกมมัฏฐานอยู่ใต้ตนหว้า เนื่ องในพระ
ั
้
้
ราชพิธีวปปมงคล ( แรกนาขวัญ )
ั
เมื่อครังทรงพระเยาว์ เมื่อสาเร็จการศึกษา
้
จากทังสองสานักนี้ แล้วพระองค์ทรงทราบว่ามิใช่หนทางพ้นจากทุกข์ บรรลุพระโพธิญาณ
้ั
ตามที่ทรงมุ่งหวัง พระองค์จงทรงลาอาจารย์ทงสอง เสด็จไปใกล้บริเวณแม่น้ าเนรัญชรา ที่
ึ
ตาบลอุรุเวลาเสนานิ คม กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ
บาเพ็ญทุกรกิรยา
ิ
• “ ทุกร “ หมายถึง สิงที่ทาได้ยาก “ ทุกรกิรยา” หมายถึงการกระทากิจที่ทาได้ยาก ได้แก่
่
ิ
การบาเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ”
เมื่อพระองค์ทรงหันมาศึกษาค้นคว้าด้วยพระปัญญาอันยิ่งด้วยพระองค์เองแทนการศึกษา
เล่าเรียนในสานักอาจารย์ ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกล้ลมแม่น้ าเนรัญชรานั้น พระองค์ได้ทรง
ุ่
บาเพ็ญทุกรกิรยา คือการบาเพ็ญอย่างยิ่งยวดในลักษณะต่างๆเช่น การอดพระกระยาหาร
ิ
้
การทรมานพระวรกายโดยการกลันพระอัสสาสะ พระปัสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระ
ทนต์ การกดพระตาลุ (เพดาน) ด้วยพระชิวหา (ลิ้น) เป็ นต้น พระมหาบุรุษได้ทรงทรง
บาเพ็ญทุกรกิรยาเป็ นเวลาถึง ๖ ปี ก็ยงมิได้คนพบสัจธรรมอันเป็ นทางหลุดพ้นจากทุกข์
ิ
ั
้
• พระองค์จงทรงเลิกการบาเพ็ญทุกรกิรยา แล้วกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบารุงพระ
ึ
ิ
วรกายให้แข็งแรง ในการคิดค้นวิธีใหม่ ในขณะที่พระมหาบุรุษทรงบาเพ็ญทุกรกิรยานั้น
ิ
้ั
ได้มีปญจวัคคีย ์ คือ พราหมณ์ทง ๕ คน ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ
ั
และอัสสชิ เป็ นผูคอยปฏิบตรบใช้ ด้วยหวังว่าพระมหาบุรุษตรัสรูแล้วพวกตนจะได้รบการ
้
ัิั
้
ั
สัง่ สอนถ่ายทอดความรูบาง และเมื่อพระมหาบุรุษเลิกล้มการบาเพ็ญทุกรกิรยา ปัญจัคคียก็
้้
ิ
์
ได้ชวนกันละทิ้งพระองค์ไปอยู่ ณ ป่ าอิสปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เป็ นผลให้
ิ
้
พระองค์ได้ประทับอยู่ตามลาพังในที่อนสงบเงียบ ปราศจากสิงรบกวนทังปวง พระองค์ได้
ั
่
้
ทรงตังพระสติดาเนิ นทางสายกลาง คือการปฏิบตในความพอเหมาะพอควร นันเอง
ัิ
่
ตรัสรู ้
• พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู ้ เวลารุ่งอรุณ ในวันเพ็ญเดือน ๖ ( เดือนวิสาขะ) ปี ระกา ก่อน
้
พุทธศักราช ๔๕ ปี นางสุชาดาได้นาข้าวมธุปายาสเพื่อไปบวงสรวงเทวดา ครันเห็นพระ
มหาบุรุษประทับที่โคนต้นอชปาลนิ โครธ (ต้นไทร)ด้วยอาการอันสงบ นางคิดว่าเป็ นเทวดา
จึงถวายข้าวมธุปายาส แล้วพระองค์เสด็จไปสูท่าสุปดิษฐ์ริมฝังแม่น้ าเนรัญชรา ทรงวางถาด
่
่
ทองคาบรรจุขาวมธุปายาสแล้วลงสรงสนานชาระล้างพระวรกาย แล้วทรงผ้ากาสาวพัสตร์
้
อันเป็ นธงชัยของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ หลังจากเสวยแล้วพระองค์ทรง
จับถาดทองคาขึ้นมาอธิษฐานว่า “ ถ้าเราจักสามารถตรัสรูได้ในวันนี้ ก็ขอให้ถาดทองคาใบ
้
นี้ จงลอยทวนกระแสน้ าไป แต่ถามิได้เป็ นดังนั้นก็ขอให้ถาดทองคาใบนี้ จงลอยไปตาม
้
กระแสน้ าเถิด “ แล้วทรงปล่อยถาดทองคาลงไปในแม่น้ า ถาดทองคาลอยตัดกระแสน้ าไป
จนถึงกลางแม่น้ าเนรัญชราแล้วลอยทวนกระแสน้ าขึ้นไปไกลถึง ๘๐ ศอก จึงจมลงตรงที่
กระแสน้ าวน
• ในเวลาเย็นพระองค์เสด็จกลับมายังต้นโพธิ์ท่ประทับ คนหาบหญ้าชื่อโสตถิยะได้ถวายหญ้า
ี
ปูลาดที่ประทับ ณ ใต้ตนโพธิ์ พระองค์ประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก และทรง
้
้
ตังจิตอธิษฐานว่า “ แม้เลือดในกายของเราจะเหือดแห้งไปเหลือแต่หนัง เอ็น กระดูกก็ตาม
้
ถ้ายังไม่บรรลุธรรมวิเศษแล้ว จะไม่ยอมหยุดความเพียรเป็ นอันขาด “ เมื่อทรงตังจิต
้ั ่
อธิษฐานเช่นนั้นแล้ว พระองค์กทรงสารวมจิตให้สงบแน่ วแน่ มีพระสติตงมัน มีพระ
็
วรกายอันสงบ มีพระหทัยแน่ วแน่ เป็ นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่องปราศจากกิเลส ปราศจากความ
้ ่
เศร้าหมอง อ่อนโยน เหมาะแก่การงาน ตังมันไม่หวันไหว ทรงน้อมพระทัยไปเพื่อปุพเพนิ
่
วาสานุ สสติญาณ ( ญาณเป็ นเหตุระลึกถึงขันธ์ท่อาศัยในชาติปางก่อนได้ )ในปฐมยามแห่ง
ี
ราตรี ต่อจากนั้นทรงน้อมพระทัยไปเพื่อจูตปาตญาณ ( ญาณกาหนดรูการตาย การเกิด
ุ
้
้ั
ของสัตว์ทงหลาย ) ในมัชฌิมยามแห่งราตรี ต่อจากนั้นทรงน้อมพระทัยไปเพื่ออาสวักขย
้
ญาณ ( ญาณหยัง่ รูในธรรมเป็ นที่ส้ นไปแห่งอาสวกิเลสทังหลาย)
้
ิ
• คือทรงรูชดตามความเป็ นจริงว่า นี้ ทกข์ นี้ ทกขสมุทย นี้ ทกขนิ โรธ นี้ ทกขนิ โรธคามินี
้ั
ุ
ุ
ั ุ
ุ
ปฏิปทา นี้ อาสวะ นี้ อาสวสมุทย นี้ อาสวนิ โรธ นี้ อาสวนิ โรธคามินีปฏิปทา เมื่อทรงรูเ้ ห็น
ั
อย่างนี้ จิตของพระองค์กทรงหลุดพ้นจากกามสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุด
็
พ้นแล้วพระองค์กทรงรูว่าหลุดพ้นแล้ว ทรงรูชดว่าชาติส้ นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทา
็ ้
้ั
ิ
กิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ไม่มีกจอืนเพื่อความเป็ นอย่างนี้ อีกต่อไป นันคือพระองค์ทรงบรรลุ
ิ ่
่
วิชชาที่ ๓ คือ อาสวักขยญาณ ในปัจฉิ มยาม แห่งราตรีน้นเอง ซึ่งก็คอการตรัสรูพระ
ั
ื
้
สัพพัญญุตญาณ เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า จากการที่พระองค์ทรงบาเพ็ญพระ
บารมีมาอย่างยิ่งยวด พระองค์ทรงตรัสรูในวันเพ็ญเดือน ๖ ปี ระกา ขณะพระชนมายุได้
้
๓๕ พรรษา นับแต่วนที่สด็จออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเป็ นเวลา ๖ ปี พระธรรม
ั
้
อันประเสริฐที่พระพุทธเจ้าตรัสรูน้น คือ อริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทย นิ โรธ มรรค)
้ั
ั
้
ประกาศพระศาสนาครังแรก
• เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรูแล้วทรงเสวยวิมตสข ณ บริเวณต้นพระศรีมหาโพธิ์เป็ นเวลา ๗
้
ุิุ
สัปดาห์ ทรงราพึงว่า ธรรมะที่พระองค์ตรัสรูเ้ ป็ นการยากสาหรับคนทัวไป จึงทรงน้อม
่
พระทัยไปในทางที่จะไม่ประกาศธรรม พระสหัมบดีพรหมทราบวาระจิตของพระองค์จง
ึ
อาราธนาให้โปรดมนุ ษย์ โดยเปรียบเทียบมนุ ษย์เหมือนดอกบัว ๔ เหล่า และในโลกนี้ ยงมี
ั
เหล่าสัตว์ผูมีธุลในดวงตาเบาบาง สัตว์เหล่านั้นจะเสือมเพราะไม่ได้ฟังธรรม เหล่าสัตว์ผูท่ี
้ ี
้
่
สามารถรูทวถึงธรรมได้ ยังมีอยู่ “ พระพุทธเจ้าจึงทรงน้อมพระทัยไปในการแสดงธรรม
้ ั่
แล้วเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย ์ ณ ป่ าอิสปตนมฤคทายวัน ทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น
ิ
๑๕ คา เดือน ๘ ( เดือนอาสาฬหะ) เรียกว่า ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ในขณะที่ทรงแสดง
่
ธรรม ท่านปัญญาโกณฑัณญะได้ธรรมจักษุ คือบรรลุพระโสดาบัน ได้ทูลขออุปสมบทใน
้
พระธรรมวินย ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรียกการบวชครังนี้ ว่า “
ั
เอหิภกขุอปสัมปทา ” พระอัญญาโกณฑัญญะจึงเป็ นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา
ิ ุ
การประกาศพระพุทธศาสนา
เมื่อพระพุทธเจ้าได้เสด็จโปรดปัญจวัคคีย ์ และสาวกอืนๆซึ่งต่อมาได้สาเร็จเป็ นพระอรหันต์
่
จานวน ๖๐ องค์แล้ว และเป็ นช่วงที่ออกพรรษาแล้ว พระพุทธองค์ทรงพิจารณา
้
เห็นสมควรว่าจะออกไปประกาศพระศาสนาให้เป็ นที่แพร่หลาย จึงมีพทธบัญชาให้สาวกทัง
ุ
๖๐ องค์ จาริกออกไปประกาศเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยให้ไปแต่เพียงลาพัง แม้
้
พระองค์กจะเสด็จไปยังอุรุเวลาเสนานิ คม ในการออกจาริกประกาศ พระศาสนาครังนั้นทา
็
ให้กลบุตรในดินแดนต่างๆหันมาเลื่อมใสพระพุทธศาสนาและขอ บรรพชา อุปสมบทเป็ น
ุ
อันมาก ต่อมาพระพุทธเจ้าทรงอนุ ญาตให้สาวกเหล่านั้นสามารถอุปสมบทให้แก่กลบุตรได้
ุ
เรียกว่า “ ติสรณคมนู ปสัมปทา คืออุปสมบทโดยวิธีให้ปฏิญญาตนเป็ นผูถงไตรสรณคมน์”
้ึ
พระพุทธศาสนาจึงหยัง่ รากฝังลึกและแพร่หลายในดินแดนแห่งนั้นเป็ นต้นมา
• พรรษาที่ ๑ ที่พระองค์ทรงแสดงธรรมโปรดสาวกและได้อรหันตสาวกจานวน ๖๐ องค์แล้ว
พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาคุณทาการประกาศเผยแผ่คาสอน จนเกิดพุทธบริษท ๔
ั
อันมี ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา อย่างแพร่หลายและมันคง การประกาศ
่
พระพุทธศาสนาของพระองค์ได้ดาเนิ นไปอย่างเข้มแข็ง โดยการจาริกไปยังหมู่บานชนบท
้
น้อยใหญ่ในแคว้นต่างๆทัวชมพูทวีป
่
พรรษาที่ ๒ พระพุทธองค์เสด็จไปโปรดประชาชน ได้พทธสาวกดังนี้ เสด็จไปยังอุรุเวลา
ุ
เสนานิ คม ในระหว่างทางได้โปรดกลุมภัททวัคคีย ์ ๓๐ คน ที่ตาบลอุรุเวลาได้โปรดชฎิล ๓
่
พี่นองคือ อุรุเวกัสสปะ นทีกสสปะ และคยากัสสปะ กับศิษย์ อีก ๑๐๐๐ คน ทรงเทศนาอา
้
ั
ทิตตปริยายสูตร ที่คยาสีสะ แล้วเสด็จไปยังนครราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ เพื่อโปรดพระ
เจ้าพิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารถวายสวนเวฬุวนเป็ นที่อาศัยแด่คณะสงฆ์ และได้พระสารี
ั
บุตรและพระโมคคัลลานะเป็ นสาวก อีก ๒ เดือนต่อมาเสด็จไปยังนครกบิฬพัสดุ ์ ทรง
พานักที่นิโครธาราม ทรงได้สาวกอีกมากมาย เช่น พระนันทะ พระราหุล พระอานนท์
พระเทวทัต และพระญาติอนๆ ต่อมาอนาถปิ ณฑิกะเศรษฐีอาราธนาไปยังกรุงสาวัตถีแห่ง
่ื
แคว้นโกศล ได้ถวายสวนเชตวันแด่คณะสงฆ์ พระพุทธองค์ทรงจาพรรษาที่น่ี
• พรรษาที่ ๓ นางวิสาขาถวายบุพพาราม ณ กรุงสาวัตถี ทรงจาพรรษาที่น่ี
พรรษาที่ ๔ ทรงจาพรรษาที่เวฬุวน ณ กรุงราชคฤห์ แห่งแคว้นมคธ
ั
พรรษาที่ ๕ เสด็จโปรดพระราชบิดาจนได้บรรลุอรหัตตผล และทรงไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ระหว่างพระญาติฝ่ายสักกะกับพระญาติฝ่ายโกลิยะเกี่ยวกับการใช้น้ าในแม่น้ าโหริณี ต่อมา
ทรงอุปสมบทพระนางประชาบดีโคตมี และคณะเป็ นภิกษุณี
พรรษาที่ ๖ ทรงแสดงยมกปาฏิหาริยในกรุงสาวัตถี ทรงจาพรรษา ณ ภูเขามังกลุบรรพต
์
พรรษาที่ ๗ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ระหว่างจาพรรษาได้เสด็จไปทรงเทศนา
้ั
พระอภิธรรมโปรดพุทธมารดายังสวรรค์ชนดาวดึงส์
พรรษาที่ ๘ ทรงเทศนาในแคว้นมัคคะ ทรงจาพรรษาในเภสกลาวัน
พรรษาที่ ๙ ทรงเทศนาในแคว้นโกสัมพี
• พรรษาที่ ๑๐ คณะสงฆ์ในแคว้นโกสัมพีแตกแยกกันอย่างรุนแรง พระพุทธองค์ทรง
ตักเตือนแต่คณะสงฆ์ไม่เชื่อฟัง พระองค์จงเสด็จไปประทับและจาพรรษาในป่ าปาลิไลยย
ึ
กะ มีชางเชือกหนึ่ งมาเฝ้ าพิทกษ์และรับใช้ตลอดเวลา
้
ั
พรรษาที่ ๑๑ เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีปรองดองกันได้ ทรงจาพรรษา
อยู่ในหมู่บานพราหมณ์ช่ือเอกนาลา
้
พรรษาที่ ๑๒ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่เวรัญชา และเกิดความอดอยากรุนแรงขึ้นใน
เวลานั้น
พรรษาที่ ๑๓ ทรงเทศนาและจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต
พรรษาที่ ๑๔ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี พระราหุลขอผนวช
พรรษาที่ ๑๕ เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ ์ พระเจ้าสุปปพุทธะถูกแผ่นดินสูบเพราะขัด
ขวางทางโคจร
พรรษาที่ ๑๖ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่อาลวี
• พรรษาที่ ๑๗ เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี แล้วเสด็จกลับมายังอาลวี และทรงจาพรรษาที่กรุงรา
ชคฤห์
พรรษาที่ ๑๘ เสด็จไปยังอาลวี ทรงจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต
พรรษาที่ ๑๙ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่บนภูเขาจาลิกบรรพต
้
พรรษาที่ ๒๐ โจรองคุลมารกลับใจเป็ นสาวก และทรงแต่งตังให้พระอานนท์รบใช้ใกล้ชิด
ิ
ั
ตลอดกาล ทรงจาพรรษาที่กรุงราชคฤห์และทรงเริ่มบัญญัตวินัย
ิ
พรรษาที่ ๒๑-๔๔ ทรงใช้เชตวันและบุพพารามในกรุงราชคฤห์เป็ นศูนย์กลางการเผยแผ่
และเป็ นที่ประทับจาพรรษา เสด็จพร้อมสาวกออกเทศนาโปรดเวไนยสัตว์ตามแว่นแคว้น
ต่างๆ
พรรษาที่ ๔๕ เป็ นพรรษาสุดท้าย พระเทวทัตคิดปลงพระชนม์ กลิ้งก้อนหินจนต้อง
พระองค์เป็ นเหตุให้พระบาทห้อพระโลหิต ทรงได้รบการบาบัดจากหมอชีวกโกมารภัต
ั
ทรงปรินิพาน
• พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญพุทธกิจอยู่จนพระชนมายุ ๘๐ พรรษา พระองค์เสด็จจาพรรษา
้
สุดท้ายณ เมืองเวสาลี ในวาระนั้นพระพุทธองค์ทรงพระชราภาพมากแล้วทังยังประชวร
หนักด้วย พระองค์ได้ทรงพระดาเนิ นจากเวสาลีสูเ่ มืองกุสนาราเพื่อเสด็จดับขัน
ิ
ธปรินิพพาน ณ เมืองนั้น พระพุทธองค์ได้หนกลับไปทอดพระเนตรเมืองเวสาลีซ่งเคยเป็ น
ั
ึ
้
ที่ประทับ นับเป็ นการทอดทัศนาเมืองเวสาลีเป็ นครังสุดท้าย แล้วเสด็จต่อไปยังเมืองปาวา
้
เสวยพระกระยาหารเป็ นครังสุดท้ายที่บานนายจุนทะ บุตรนายช่างทอง พระพุทธองค์ทรง
้
พระประชวรหนักอย่างยิ่ง ทรงข่มอาพาธประคองพระองค์เสด็จถึงสาลวโนทยาน (ป่ าสาละ)
ของเจ้ามัลละเมืองกุสนารา ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพานพระองค์ได้อปสมบทแก่พระสุภท
ิ
ุ
ั
้ั
ทะปริพาชก นับเป็ นสาวกองค์สุดท้ายที่พระพุทธองค์ทรงบวชให้ ในท่ามกลางคณะสงฆ์ทง
ที่เป็ นพระอรหันต์และปุถชน
ุ
้
• พระราชา ชาวเมืองกุสนารา และจากแคว้นต่างๆรวมทังเทวดาทัวหมื่นโลกธาตุ พระพุทธ
ิ
่
้
องค์ได้มีพระดารัสครังสาคัญว่า “ โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิโต ปญญตโต โส
โว มมจจเยน สตถา ” อันแปลว่า “ ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแล้ว
้
้
บัญญัตแล้วแก่เธอทังหลาย ธรรมวินยนั้น จักเป็ นศาสดาของเธอทังหลาย เมื่อเราล่วงลับ
ิ
ั
ไปแล้ว “ และพระพุทธองค์ได้แสดงปัจฉิ มโอวาทแก่พระภิกษุสงฆ์ว่า “ดูก่อนภิกษุ
้
้
้
้
้
ทังหลาย นี้ เป็ นวาจาครังสุดท้าย ที่เราจะกล่าวแก่ท่านทังหลาย สังขารทังหลายทังปวงมี
้
ความสิ้นไปและเสือมไปเป็ นธรรมดา ท่านทังหลายจงทาความรอดพ้นให้บริบูรณ์ถงที่สุด
ึ
่
้
ด้วยความไม่ประมาทเถิด” แม้เวลาล่วงมาถึงศตวรรษที่ ๒๕ แล้ว นับตังแต่พระองค์ตรัสรู ้
เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า และเสด็จดับขันธปรินิพพานที่นอกเมืองกุสนาราในประ
ิ
เทสอินเดีย แต่คาสัง่ สอนอันประเสริฐของพระองค์หาได้ลวงลับไปด้วยไม่
่
• คาสัง่ สอนเหล่านั้นยังคงอยู่ เป็ นเครื่องนาบุคคลให้ขามพ้นจากความมีชีวิต ขึ้นไปสูซ่ึง
้
่
คุณค่ายิ่งกว่าชีวิต คือการพ้นจากวัฏสงสารนันเอง หลังจากพระพุทธองค์ เสด็จดับขันธปริ
่
้ั
นิ พพานแล้ว สาวกของพระองค์ทงที่เป็ นพระอรหันต์และมิใช่พระอรหันต์ได้ช่วยบาเพ็ญ
กรณี ย กิจเผยแผ่พระพุทธวัจนะอันประเสริฐไปทัวประเทศอินเดีย และขยายออกไปทัว
่
่
โลก เป็ นที่ยอมรับว่าพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแห่งความเป็ นจริง มีเหตุผลเชื่อถือได้และ
เป็ นศาสนาแห่งสันติภาพและเสรีภาพอย่างแท้จริง
สรุปพุทธกิจในรอบวันของพระพุทธองค์
๑.ปุพพณเห ปิ ณฑปาตญจ ตอนเช้าเสด็จออกบิณฑบาตเพื่อโปรดเวไนยสัตว์
๒.สายณเห ธมมเทสน ตอนเย็นทรงแสดงธรรมโปรดมหาชนที่มาเข้าเฝ้ า
๓.ปโทเส ภิกขุโอวาท ตอนหัวคาประทานโอวาทแก่ภกษุ ทงเก่าและใหม่
่
ิ ้ั
้
๔.อฑฒรตเต เทวปญหาน ตอนเที่ยงคืนทรงวิสชชนาปัญหาให้แก่เทวดาชันต่างๆ
ั
๕.ปจจสเสว คเต กาเล ภพพาภพเพ วิโลกน ตอนใกล้รุ่งตรวจดูสตว์โลกที่สามารถและไม่
ั
สามารถบรรลุธรรมได้ แล้วเสด็จไปโปรดถึงที่ แม้ว่าหนทางจะลาบากเพียงใดก็ตาม
• แนวทางการดาเนิ นงาน
ช่วยกันเลือกหัวข้อที่จะนามาทาโครงงาน และสืบค้นข้อมูลที่มี ประโยชน์และมีแหล่ง
อ้างอิงได้ ลงมือปฏิบติ แก้ไขข้อที่บกพร่อง และนาเสนอ
ั

• เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ใช้
ี
- คอมพิวเตอร์
- เว็บไซด์ในการค้นหาข้อมูล

• งบประมาณ - 60 บาท
้
ขันตอนและแผนดาเนิ นงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รบ
ั
• ได้รูถงประวัตของพระพุทธเจ้า
้ึ
ิ
• ได้ตระหนักถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนา
• สถานที่ดาเนิ นการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
• กลุมสาระการเรียนรูท่เี กี่ยวข้อง
่
้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
• แหล่งอ้างอิง
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=364484
http://board.palungjit.org/f14/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
Wichitchai Buathong
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
Mo Taengmo
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
Nattakarntick
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
at1
at1at1
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
niralai
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
Sarocha Somboon
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
คอม1
คอม1คอม1
คอม1
ployharukokojo
 
รายชื่อ
รายชื่อรายชื่อ
รายชื่อ
KruTree
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
Chok Ke
 

What's hot (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
at1
at1at1
at1
 
1
11
1
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
คอม1
คอม1คอม1
คอม1
 
รายชื่อ
รายชื่อรายชื่อ
รายชื่อ
 
Sm listname teacher1
Sm listname teacher1Sm listname teacher1
Sm listname teacher1
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 

Similar to ศาสดาของพระพุทธศาสดา

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
Thanawut Rattanadon
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวwonganu
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวwonganu
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
SAKANAN ANANTASOOK
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
jedsadakorn hongthong
 
Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013
privategold
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Daranpop Doungdetch
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Swl Sky
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 1
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่  1รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่  1
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 1
Yodhathai Reesrikom
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยารายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา
Yodhathai Reesrikom
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
Taweedham Dhamtawee
 
โครงงานสติ
โครงงานสติโครงงานสติ
โครงงานสติ
Pongpanote Wachirawongwarun
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
niralai
 

Similar to ศาสดาของพระพุทธศาสดา (20)

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 1
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่  1รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่  1
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 1
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยารายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
โครงงานสติ
โครงงานสติโครงงานสติ
โครงงานสติ
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 

ศาสดาของพระพุทธศาสดา

  • 2. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร 6 ่ ปี การศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน ประวัตศาสดาของพระพุทธศาสดา ิ ชื่อผูทาโครงงาน ้ ้ 1. นางสาวภัททิยา เหวี่ยน เลขที่ 6 ชันม.6 ห้อง 15 ้ 2. นายจตุรพร เทพอินทร์ เลขที่ 26 ชันม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ท่ปรึกษาโครงงานครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ี ระยะเวลาดาเนิ นงาน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 3. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุม ข้าวเงี้ยว ่ ้ 1.นางสาวภัททิยา เหวี่ยน เลขที่ 6 ชัน ม.6/15 ้ 2.นายจตุรพร เทพอินทร์ เลขที่ 26 ชัน ม.6/15 คาชี้แจง ให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุมเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ่ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) ประวัตศาสดาของพระพุทธศาสดา ิ ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) History of Buddhism Prophet Prophet ประเภทโครงงาน ประเภทศึกษาหาความรู ้ ชื่อผูทาโครงงาน 1.นางสาวภัททิยา เหวี่ยน ้ 2.นายจตุรพร เทพอินทร์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนิ นงาน 3 สัปดาห์
  • 4. • ที่มาและความสาคัญของโครงงาน จากการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาและเป็ นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวตประจาวัน ด้วยเหตุน้ ี กลุมของ ิ ่ ข้าพเจ้าจึงคิดที่จะศึกษาประวัติศาสดาของศาสนาพุทธ ซึ่งผูคนส่วนมากในทวีปเอเชียได้นับถือศาสนา ้ พุทธรวมถึงตัวของข้าพเจ้าด้วย ดังนั้นเราจึงได้ตกลงกันว่าจะทาโครงงานในเรื่องประวัตศาสดาของ ิ ้ พระพุทธศาสนาโดยศึกษาประวัตของพระพุทธเจ้าตังแต่ประสูติ อภิเษกสมรส ออกบรรพชา และอืนๆ ิ ่ จนถึงปรินิพพานเพือให้พทธศาสนิ กชนสนใจพระพุทธศาสนามากขึ้น ่ ุ • วัตถุประสงค์ 1. 2. 3. เพือศึกษาประวัตศาสดาของพุทธศาสนา ิ ่ เพีอให้ชาวพุทธหันมาสนใจพระพุทธศาสนามากขึ้น ่ เพีอให้ชาวพุทธได้รูจกประวัตศาสดาของศาสนาพุทธให้มากขึ้น ่ ้ั ิ • ขอบเขตของโครงงาน ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องจากคอมพิวเตอร์โดยค้นคว้าในอินเตอร์เน็ ต และจากหนังสือพระพุทธศาสนา
  • 5. • หลักการและทฤษฏี โครงงานเรื่องประวัตศาสดาของพระพุทธศาสนาเป็ นโครงงานที่เสนอเกี่ยวกับเรื่อง ิ ้ ประวัตของพระพุทธเจ้า ตังแต่ประสิจนถึงปรินิพพาน ิ เหตุผลที่ทาให้กลุมของข้าพเจ้าคิดที่จะทาโครงงานในเรื่องนี้ กเ็ พราะผูคนในทวีปเอเชีย ่ ้ และข้าพเจ้านับถือศาสนาพุทธ และต้องการให้ชาวพุทธได้รูประวัตศาสดาของศาสนาที่ตน ้ ิ นับถืออยู่และจะได้สนใจศาสนาของตนให้มากขึ้น
  • 7. พระพุทธเจ้า พระนามเดิมว่า “ สิทธัตถะ “ เป็ นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธท นะและพระนางสิรมหามายา แห่งกรุงกบิลพัสดุ ์ แคว้นสักกะ พระองค์ทรงถือกาเนิ ดใน ิ ศากยวงค์ สกุลโคตมะ พระองค์ประสูติ ในวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ คา เดือน ๖ (เดือนวิสาขะ) ่ ้ ปี จอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี ณ สวนลุมพินีวน ซึ่งตังอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ ์ แคว้น ั สักกะ กับ กรุงเทวทหะ แคว้นโกลิยะ (ปัจจุบนคือตาบลรุมมินเด ประเทศเนปาล) ั
  • 8. การขนานพระนาม และทรงเจริญพระชนม์ พระราชกุมารได้รบการทานายจากอสิตฤาษี หรือกาฬเทวิลดาบส มหาฤาษีผู ้ ั บาเพ็ญฌานอยู่ในป่ าหิมพานต์ซ่งเป็ นที่ทรงเคารพนับถือของพระเจ้าสุทโธทนะว่า “ พระ ึ ราชกุมารนี้ เป็ นอัจฉริยมนุ ษย์ มีลกษณะมหาบุรุษครบถ้วน บุคคลที่มีลกษณะดังนี้ จักต้อง ั ั เสด็จออกจากพระราชวังผนวชเป็ นบรรพชิตแล้วตรัสรูเ้ ป็ นพระอรหันตสัมมา สัมพุทธเจ้าผู ้ ไม่มีกเิ ลสในโลกเป็ นแน่ “ หลังจากประสูตได้ ๕ วัน พระเจ้าสุทโธทนะโปรดให้ประชุมพระประยูรญาติ และเชิญ ิ พราหมณ์ ผูเ้ รียนจบไตรเพท จานวน ๑๐๘ คน เพื่อมาทานายพระลักษณะของพระราช กุมาร
  • 9. • พระประยูรญาติได้พร้อมใจกันถวายพระนามว่า “สิทธัตถะ” มี ้ ความหมายว่า “ ผูมีความสาเร็จสมประสงค์ทกสิงทุกอย่างที่ตนตังใจจะทา ” ส่วนพราหมณ์ ้ ุ ่ ้ั เหล่านั้นคัดเลือกกันเองเฉพาะผูท่ีทรงวิทยาคุณประเสริฐกว่าพราหมณ์ทงหมดได้ ๘ คน ้ เพื่อทานายพระราชกุมาร พราหมณ์ ๗ คนแรก ต่างก็ทานายไว้ ๒ ประการ คือ “ ถ้าพระ ราชกุมารเสด็จอยู่ครองเรือนก็จกเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิผูทรงธรรม หรือถ้าเสด็จออกผนวช ั ้ เป็ นบรรพชิตจักเป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูไม่มีกเิ ลสในโลก” ส่วนโกณฑัญญะ ้ พราหมณ์ ผูมีอายุนอยกว่าทุกคน ได้ทานายเพียงอย่างเดียวว่า พระราชกุมารจักเสด็จออก ้ ้ จากพระราชวังผนวชเป็ นบรรพชิต แล้วตรัสรูเ้ ป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูไม่มีกเิ ลส ้ ในโลก “
  • 10. • เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๗ วัน พระราชมารดาก็เสด็จสวรรคต (การเสด็จ สวรรคตดังกล่าวเป็ นประเพณี ของผูท่เี ป็ นพระมารดาของพระพุทธเจ้า) พระเจ้าสุทโธทนะ ้ ทรงมอบหมายให้พระนางมหาปชาบดีโคตมีซ่งเป็ นพระกนิ ษฐาของพระ นางสิรมหามายา ึ ิ เป็ นผูถวายอภิบาลเลี้ยงดู เมื่อพระสิทธัตถะทรงพระเจริญมีพระชนมายุได้ ๘ พรรษา ได้ ้ ทรงศึกษาในสานักอาจารย์วิศวามิตร ซึ่งมีเกียรติคุณแพร่ขจรไปไกลไปยังแคว้นต่างๆ เพราะเปิ ดสอนศิลปวิทยาถึง ๑๘ สาขา เจ้าชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหล่านี้ ได้ อย่างว่องไว และเชี่ยวชาญจนหมดความสามารถของพระอาจารย์
  • 12. • ด้วยพระราชบิดามีพระราชประสงค์มนคงที่จะให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงครองเพศฆราวาส ั่ เป็ นพระจักพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสาราญ แวดล้อมด้วยความ ้ บันเทิงนานาประการแก่พระราชโอรสเพื่อผูกพระทัยให้มนคงในทางโลก เมื่อเจ้าชาย ั่ สิทธัตถะเจริญพระชนม์ได้ ๑๖ พรรษา พระเจ้าสุทโธทนะมีพระราชดาริว่าพระราชโอรส สมควรจะได้อภิเษกสมรส จึงโปรดให้สร้างปราสาทอันวิจตรงดงามขึ้น ๓ หลัง สาหรับให้ ิ ้ พระราชโอรสได้ประทับอย่างเกษมสาราญตามฤดูกาลทัง ๓ คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดู ้ ้ หนาว แล้วตังชื่อปราสาทนั้นว่ารมยปราสาท สุรมยปราสาท และสุภปราสาทตามลาดับ และทรงสูขอพระนางพิมพาหรือยโสธรา พระราชธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะและ ่ พระนางอมิตา แห่งเทวทหะนครในตระกูลโกลิยวงค์ให้อภิเษกด้วยเจ้าชายสิทธัตถะได้ เสวยสุขสมบัติ จนพระชนมายุมายุได้ ๒๙ พรรษา พระนางพิมพายโสรธาจึงประสูติ พระโอรส พระองค์มีพระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเป็ นอย่างยิ่ง เมื่อพระองค์ทรงทราบ ถึงการประสูตของพระโอรสพระองค์ตรัสว่า “ ราหุล ชาโต, พันธน ชาต , บ่วงเกิดแล้ว , ิ เครื่องจองจาเกิดแล้ว”
  • 14. • เจ้าชายสิทธัตถะทรงเป็ นผูมีพระบารมีอนบริบูรณ์ ถึงแม้พระองค์จะทรงพรัง่ พร้อมด้วยสุข ้ ั สมบัตมหาศาลก็มิได้พอพระทัยในชีวิต คฤหัสถ์ พระองค์ยงทรงมีพระทัยฝักใฝ่ ใคร่ครวญ ิ ั ถึงสัจธรรมที่จะเป็ นเครื่องนาทางซึ่ง ความพ้นทุกข์อยู่เสมอ พระองค์ได้เคยเสด็จประพาส ้ อุทยาน ได้ทอดพระเนตรเทวทูตทัง ๔ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองค์ จึงสังเวชพระทัยในชีวิต และพอพระทัยในเพศบรรพิต มีพระทัยแน่ วแน่ ท่จะทรงออก ี ผนวช เพื่อแสวงหาโมกขธรรมอันเป็ นทางดับทุกข์ถาวรพ้นจากวัฏสงสารไม่กลับมาเวียน ว่ายตายเกิดอีก พระองค์จงตัดสินพระทัยเสด็จออกทรงผนวช โดยพระองค์ทรงม้ากัณฐกะ ึ พร้อมด้วยนายฉันนะ มุ่งสู่ แม่น้ าอโนมานที แคว้นมัลละ รวมระยะทาง ๓๐ โยชน์ (ประมาณ ๔๘๐ กิโลเมตร) เสด็จข้ามฝังแม่น้ าอโนมานทีแล้วทรงอธิษฐานเพศเป็ น ่ บรรพชิต และทรงมอบหมายให้นายฉันนะนาเครื่องอาภรณ์และม้ากัณฐกะกลับนคร กบิลพัสดุ ์
  • 16. • ภายหลังที่ทรงผนวชแล้วพระองค์ได้ประทับอยู่ ณ อนุ ปิยอัมพวัน แคว้นมัลละเป็ นเวลา ๗ วัน จากนั้นจึงเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ พระเจ้าพิมพิสารได้เสด็จมาเฝ้ าพระองค์ ณ เงื้อมเขาปัณฑวะ ได้ทรงเห็นพระจริยาวัตรอันงดงามของพระองค์กทรงเลื่อมใส และ ็ ทรงทราบว่าพระสมณสิทธัตถะทรงเห็นโทษในกาม เห็นทางออกบวชว่าเป็ นทางอันเกษม จะจาริกไปเพื่อบาเพ็ญเพียร และทรงยินดีในการบาเพ็ญเพียรนั้น พระเจ้าพิมพิสารได้ ตรัสว่า “ ท่านจักเป็ นพระพุทธเจ้าแน่ นอน และเมื่อได้เป็ นพระพุทธเจ้าแล้ว ขอได้โปรด เสด็จมายังแคว้นของกระหม่อมฉันเป็ นแห่งแรก ’’ ซึ่งพระองค์กทรงถวายปฏิญญาแด่พระ ็ เจ้าพิมพิสาร
  • 17. • การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแล้ว สมณสิทธัตถะได้ทรงศึกษาในสานัก อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ณ กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ พระองค์ ได้ทรงประพฤติพรหมจรรย์ในสานักของอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงได้สมาบัตคอ ิื ทุตยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอา ิ กิญจัญญายตนฌาน ส่วนการประพฤติพรหมจรรย์ในสานักอุทกดาบส รามบุตร นั้นทรงได้ สมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สาหรับฌานที่ ๑ คือปฐมฌานนั้น พระองค์ ทรงได้ขณะกาลังประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกมมัฏฐานอยู่ใต้ตนหว้า เนื่ องในพระ ั ้ ้ ราชพิธีวปปมงคล ( แรกนาขวัญ ) ั เมื่อครังทรงพระเยาว์ เมื่อสาเร็จการศึกษา ้ จากทังสองสานักนี้ แล้วพระองค์ทรงทราบว่ามิใช่หนทางพ้นจากทุกข์ บรรลุพระโพธิญาณ ้ั ตามที่ทรงมุ่งหวัง พระองค์จงทรงลาอาจารย์ทงสอง เสด็จไปใกล้บริเวณแม่น้ าเนรัญชรา ที่ ึ ตาบลอุรุเวลาเสนานิ คม กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ
  • 19. • “ ทุกร “ หมายถึง สิงที่ทาได้ยาก “ ทุกรกิรยา” หมายถึงการกระทากิจที่ทาได้ยาก ได้แก่ ่ ิ การบาเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ” เมื่อพระองค์ทรงหันมาศึกษาค้นคว้าด้วยพระปัญญาอันยิ่งด้วยพระองค์เองแทนการศึกษา เล่าเรียนในสานักอาจารย์ ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกล้ลมแม่น้ าเนรัญชรานั้น พระองค์ได้ทรง ุ่ บาเพ็ญทุกรกิรยา คือการบาเพ็ญอย่างยิ่งยวดในลักษณะต่างๆเช่น การอดพระกระยาหาร ิ ้ การทรมานพระวรกายโดยการกลันพระอัสสาสะ พระปัสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระ ทนต์ การกดพระตาลุ (เพดาน) ด้วยพระชิวหา (ลิ้น) เป็ นต้น พระมหาบุรุษได้ทรงทรง บาเพ็ญทุกรกิรยาเป็ นเวลาถึง ๖ ปี ก็ยงมิได้คนพบสัจธรรมอันเป็ นทางหลุดพ้นจากทุกข์ ิ ั ้
  • 20. • พระองค์จงทรงเลิกการบาเพ็ญทุกรกิรยา แล้วกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบารุงพระ ึ ิ วรกายให้แข็งแรง ในการคิดค้นวิธีใหม่ ในขณะที่พระมหาบุรุษทรงบาเพ็ญทุกรกิรยานั้น ิ ้ั ได้มีปญจวัคคีย ์ คือ พราหมณ์ทง ๕ คน ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ ั และอัสสชิ เป็ นผูคอยปฏิบตรบใช้ ด้วยหวังว่าพระมหาบุรุษตรัสรูแล้วพวกตนจะได้รบการ ้ ัิั ้ ั สัง่ สอนถ่ายทอดความรูบาง และเมื่อพระมหาบุรุษเลิกล้มการบาเพ็ญทุกรกิรยา ปัญจัคคียก็ ้้ ิ ์ ได้ชวนกันละทิ้งพระองค์ไปอยู่ ณ ป่ าอิสปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เป็ นผลให้ ิ ้ พระองค์ได้ประทับอยู่ตามลาพังในที่อนสงบเงียบ ปราศจากสิงรบกวนทังปวง พระองค์ได้ ั ่ ้ ทรงตังพระสติดาเนิ นทางสายกลาง คือการปฏิบตในความพอเหมาะพอควร นันเอง ัิ ่
  • 22. • พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู ้ เวลารุ่งอรุณ ในวันเพ็ญเดือน ๖ ( เดือนวิสาขะ) ปี ระกา ก่อน ้ พุทธศักราช ๔๕ ปี นางสุชาดาได้นาข้าวมธุปายาสเพื่อไปบวงสรวงเทวดา ครันเห็นพระ มหาบุรุษประทับที่โคนต้นอชปาลนิ โครธ (ต้นไทร)ด้วยอาการอันสงบ นางคิดว่าเป็ นเทวดา จึงถวายข้าวมธุปายาส แล้วพระองค์เสด็จไปสูท่าสุปดิษฐ์ริมฝังแม่น้ าเนรัญชรา ทรงวางถาด ่ ่ ทองคาบรรจุขาวมธุปายาสแล้วลงสรงสนานชาระล้างพระวรกาย แล้วทรงผ้ากาสาวพัสตร์ ้ อันเป็ นธงชัยของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ หลังจากเสวยแล้วพระองค์ทรง จับถาดทองคาขึ้นมาอธิษฐานว่า “ ถ้าเราจักสามารถตรัสรูได้ในวันนี้ ก็ขอให้ถาดทองคาใบ ้ นี้ จงลอยทวนกระแสน้ าไป แต่ถามิได้เป็ นดังนั้นก็ขอให้ถาดทองคาใบนี้ จงลอยไปตาม ้ กระแสน้ าเถิด “ แล้วทรงปล่อยถาดทองคาลงไปในแม่น้ า ถาดทองคาลอยตัดกระแสน้ าไป จนถึงกลางแม่น้ าเนรัญชราแล้วลอยทวนกระแสน้ าขึ้นไปไกลถึง ๘๐ ศอก จึงจมลงตรงที่ กระแสน้ าวน
  • 23. • ในเวลาเย็นพระองค์เสด็จกลับมายังต้นโพธิ์ท่ประทับ คนหาบหญ้าชื่อโสตถิยะได้ถวายหญ้า ี ปูลาดที่ประทับ ณ ใต้ตนโพธิ์ พระองค์ประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก และทรง ้ ้ ตังจิตอธิษฐานว่า “ แม้เลือดในกายของเราจะเหือดแห้งไปเหลือแต่หนัง เอ็น กระดูกก็ตาม ้ ถ้ายังไม่บรรลุธรรมวิเศษแล้ว จะไม่ยอมหยุดความเพียรเป็ นอันขาด “ เมื่อทรงตังจิต ้ั ่ อธิษฐานเช่นนั้นแล้ว พระองค์กทรงสารวมจิตให้สงบแน่ วแน่ มีพระสติตงมัน มีพระ ็ วรกายอันสงบ มีพระหทัยแน่ วแน่ เป็ นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่องปราศจากกิเลส ปราศจากความ ้ ่ เศร้าหมอง อ่อนโยน เหมาะแก่การงาน ตังมันไม่หวันไหว ทรงน้อมพระทัยไปเพื่อปุพเพนิ ่ วาสานุ สสติญาณ ( ญาณเป็ นเหตุระลึกถึงขันธ์ท่อาศัยในชาติปางก่อนได้ )ในปฐมยามแห่ง ี ราตรี ต่อจากนั้นทรงน้อมพระทัยไปเพื่อจูตปาตญาณ ( ญาณกาหนดรูการตาย การเกิด ุ ้ ้ั ของสัตว์ทงหลาย ) ในมัชฌิมยามแห่งราตรี ต่อจากนั้นทรงน้อมพระทัยไปเพื่ออาสวักขย ้ ญาณ ( ญาณหยัง่ รูในธรรมเป็ นที่ส้ นไปแห่งอาสวกิเลสทังหลาย) ้ ิ
  • 24. • คือทรงรูชดตามความเป็ นจริงว่า นี้ ทกข์ นี้ ทกขสมุทย นี้ ทกขนิ โรธ นี้ ทกขนิ โรธคามินี ้ั ุ ุ ั ุ ุ ปฏิปทา นี้ อาสวะ นี้ อาสวสมุทย นี้ อาสวนิ โรธ นี้ อาสวนิ โรธคามินีปฏิปทา เมื่อทรงรูเ้ ห็น ั อย่างนี้ จิตของพระองค์กทรงหลุดพ้นจากกามสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุด ็ พ้นแล้วพระองค์กทรงรูว่าหลุดพ้นแล้ว ทรงรูชดว่าชาติส้ นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทา ็ ้ ้ั ิ กิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ไม่มีกจอืนเพื่อความเป็ นอย่างนี้ อีกต่อไป นันคือพระองค์ทรงบรรลุ ิ ่ ่ วิชชาที่ ๓ คือ อาสวักขยญาณ ในปัจฉิ มยาม แห่งราตรีน้นเอง ซึ่งก็คอการตรัสรูพระ ั ื ้ สัพพัญญุตญาณ เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า จากการที่พระองค์ทรงบาเพ็ญพระ บารมีมาอย่างยิ่งยวด พระองค์ทรงตรัสรูในวันเพ็ญเดือน ๖ ปี ระกา ขณะพระชนมายุได้ ้ ๓๕ พรรษา นับแต่วนที่สด็จออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเป็ นเวลา ๖ ปี พระธรรม ั ้ อันประเสริฐที่พระพุทธเจ้าตรัสรูน้น คือ อริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทย นิ โรธ มรรค) ้ั ั
  • 26. • เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรูแล้วทรงเสวยวิมตสข ณ บริเวณต้นพระศรีมหาโพธิ์เป็ นเวลา ๗ ้ ุิุ สัปดาห์ ทรงราพึงว่า ธรรมะที่พระองค์ตรัสรูเ้ ป็ นการยากสาหรับคนทัวไป จึงทรงน้อม ่ พระทัยไปในทางที่จะไม่ประกาศธรรม พระสหัมบดีพรหมทราบวาระจิตของพระองค์จง ึ อาราธนาให้โปรดมนุ ษย์ โดยเปรียบเทียบมนุ ษย์เหมือนดอกบัว ๔ เหล่า และในโลกนี้ ยงมี ั เหล่าสัตว์ผูมีธุลในดวงตาเบาบาง สัตว์เหล่านั้นจะเสือมเพราะไม่ได้ฟังธรรม เหล่าสัตว์ผูท่ี ้ ี ้ ่ สามารถรูทวถึงธรรมได้ ยังมีอยู่ “ พระพุทธเจ้าจึงทรงน้อมพระทัยไปในการแสดงธรรม ้ ั่ แล้วเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย ์ ณ ป่ าอิสปตนมฤคทายวัน ทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น ิ ๑๕ คา เดือน ๘ ( เดือนอาสาฬหะ) เรียกว่า ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ในขณะที่ทรงแสดง ่ ธรรม ท่านปัญญาโกณฑัณญะได้ธรรมจักษุ คือบรรลุพระโสดาบัน ได้ทูลขออุปสมบทใน ้ พระธรรมวินย ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรียกการบวชครังนี้ ว่า “ ั เอหิภกขุอปสัมปทา ” พระอัญญาโกณฑัญญะจึงเป็ นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา ิ ุ
  • 27. การประกาศพระพุทธศาสนา เมื่อพระพุทธเจ้าได้เสด็จโปรดปัญจวัคคีย ์ และสาวกอืนๆซึ่งต่อมาได้สาเร็จเป็ นพระอรหันต์ ่ จานวน ๖๐ องค์แล้ว และเป็ นช่วงที่ออกพรรษาแล้ว พระพุทธองค์ทรงพิจารณา ้ เห็นสมควรว่าจะออกไปประกาศพระศาสนาให้เป็ นที่แพร่หลาย จึงมีพทธบัญชาให้สาวกทัง ุ ๖๐ องค์ จาริกออกไปประกาศเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยให้ไปแต่เพียงลาพัง แม้ ้ พระองค์กจะเสด็จไปยังอุรุเวลาเสนานิ คม ในการออกจาริกประกาศ พระศาสนาครังนั้นทา ็ ให้กลบุตรในดินแดนต่างๆหันมาเลื่อมใสพระพุทธศาสนาและขอ บรรพชา อุปสมบทเป็ น ุ อันมาก ต่อมาพระพุทธเจ้าทรงอนุ ญาตให้สาวกเหล่านั้นสามารถอุปสมบทให้แก่กลบุตรได้ ุ เรียกว่า “ ติสรณคมนู ปสัมปทา คืออุปสมบทโดยวิธีให้ปฏิญญาตนเป็ นผูถงไตรสรณคมน์” ้ึ พระพุทธศาสนาจึงหยัง่ รากฝังลึกและแพร่หลายในดินแดนแห่งนั้นเป็ นต้นมา
  • 28. • พรรษาที่ ๑ ที่พระองค์ทรงแสดงธรรมโปรดสาวกและได้อรหันตสาวกจานวน ๖๐ องค์แล้ว พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาคุณทาการประกาศเผยแผ่คาสอน จนเกิดพุทธบริษท ๔ ั อันมี ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา อย่างแพร่หลายและมันคง การประกาศ ่ พระพุทธศาสนาของพระองค์ได้ดาเนิ นไปอย่างเข้มแข็ง โดยการจาริกไปยังหมู่บานชนบท ้ น้อยใหญ่ในแคว้นต่างๆทัวชมพูทวีป ่ พรรษาที่ ๒ พระพุทธองค์เสด็จไปโปรดประชาชน ได้พทธสาวกดังนี้ เสด็จไปยังอุรุเวลา ุ เสนานิ คม ในระหว่างทางได้โปรดกลุมภัททวัคคีย ์ ๓๐ คน ที่ตาบลอุรุเวลาได้โปรดชฎิล ๓ ่ พี่นองคือ อุรุเวกัสสปะ นทีกสสปะ และคยากัสสปะ กับศิษย์ อีก ๑๐๐๐ คน ทรงเทศนาอา ้ ั ทิตตปริยายสูตร ที่คยาสีสะ แล้วเสด็จไปยังนครราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ เพื่อโปรดพระ เจ้าพิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารถวายสวนเวฬุวนเป็ นที่อาศัยแด่คณะสงฆ์ และได้พระสารี ั บุตรและพระโมคคัลลานะเป็ นสาวก อีก ๒ เดือนต่อมาเสด็จไปยังนครกบิฬพัสดุ ์ ทรง พานักที่นิโครธาราม ทรงได้สาวกอีกมากมาย เช่น พระนันทะ พระราหุล พระอานนท์ พระเทวทัต และพระญาติอนๆ ต่อมาอนาถปิ ณฑิกะเศรษฐีอาราธนาไปยังกรุงสาวัตถีแห่ง ่ื แคว้นโกศล ได้ถวายสวนเชตวันแด่คณะสงฆ์ พระพุทธองค์ทรงจาพรรษาที่น่ี
  • 29. • พรรษาที่ ๓ นางวิสาขาถวายบุพพาราม ณ กรุงสาวัตถี ทรงจาพรรษาที่น่ี พรรษาที่ ๔ ทรงจาพรรษาที่เวฬุวน ณ กรุงราชคฤห์ แห่งแคว้นมคธ ั พรรษาที่ ๕ เสด็จโปรดพระราชบิดาจนได้บรรลุอรหัตตผล และทรงไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ระหว่างพระญาติฝ่ายสักกะกับพระญาติฝ่ายโกลิยะเกี่ยวกับการใช้น้ าในแม่น้ าโหริณี ต่อมา ทรงอุปสมบทพระนางประชาบดีโคตมี และคณะเป็ นภิกษุณี พรรษาที่ ๖ ทรงแสดงยมกปาฏิหาริยในกรุงสาวัตถี ทรงจาพรรษา ณ ภูเขามังกลุบรรพต ์ พรรษาที่ ๗ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ระหว่างจาพรรษาได้เสด็จไปทรงเทศนา ้ั พระอภิธรรมโปรดพุทธมารดายังสวรรค์ชนดาวดึงส์ พรรษาที่ ๘ ทรงเทศนาในแคว้นมัคคะ ทรงจาพรรษาในเภสกลาวัน พรรษาที่ ๙ ทรงเทศนาในแคว้นโกสัมพี
  • 30. • พรรษาที่ ๑๐ คณะสงฆ์ในแคว้นโกสัมพีแตกแยกกันอย่างรุนแรง พระพุทธองค์ทรง ตักเตือนแต่คณะสงฆ์ไม่เชื่อฟัง พระองค์จงเสด็จไปประทับและจาพรรษาในป่ าปาลิไลยย ึ กะ มีชางเชือกหนึ่ งมาเฝ้ าพิทกษ์และรับใช้ตลอดเวลา ้ ั พรรษาที่ ๑๑ เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีปรองดองกันได้ ทรงจาพรรษา อยู่ในหมู่บานพราหมณ์ช่ือเอกนาลา ้ พรรษาที่ ๑๒ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่เวรัญชา และเกิดความอดอยากรุนแรงขึ้นใน เวลานั้น พรรษาที่ ๑๓ ทรงเทศนาและจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต พรรษาที่ ๑๔ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี พระราหุลขอผนวช พรรษาที่ ๑๕ เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ ์ พระเจ้าสุปปพุทธะถูกแผ่นดินสูบเพราะขัด ขวางทางโคจร พรรษาที่ ๑๖ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่อาลวี
  • 31. • พรรษาที่ ๑๗ เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี แล้วเสด็จกลับมายังอาลวี และทรงจาพรรษาที่กรุงรา ชคฤห์ พรรษาที่ ๑๘ เสด็จไปยังอาลวี ทรงจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต พรรษาที่ ๑๙ ทรงเทศนาและจาพรรษาที่บนภูเขาจาลิกบรรพต ้ พรรษาที่ ๒๐ โจรองคุลมารกลับใจเป็ นสาวก และทรงแต่งตังให้พระอานนท์รบใช้ใกล้ชิด ิ ั ตลอดกาล ทรงจาพรรษาที่กรุงราชคฤห์และทรงเริ่มบัญญัตวินัย ิ พรรษาที่ ๒๑-๔๔ ทรงใช้เชตวันและบุพพารามในกรุงราชคฤห์เป็ นศูนย์กลางการเผยแผ่ และเป็ นที่ประทับจาพรรษา เสด็จพร้อมสาวกออกเทศนาโปรดเวไนยสัตว์ตามแว่นแคว้น ต่างๆ พรรษาที่ ๔๕ เป็ นพรรษาสุดท้าย พระเทวทัตคิดปลงพระชนม์ กลิ้งก้อนหินจนต้อง พระองค์เป็ นเหตุให้พระบาทห้อพระโลหิต ทรงได้รบการบาบัดจากหมอชีวกโกมารภัต ั
  • 33. • พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญพุทธกิจอยู่จนพระชนมายุ ๘๐ พรรษา พระองค์เสด็จจาพรรษา ้ สุดท้ายณ เมืองเวสาลี ในวาระนั้นพระพุทธองค์ทรงพระชราภาพมากแล้วทังยังประชวร หนักด้วย พระองค์ได้ทรงพระดาเนิ นจากเวสาลีสูเ่ มืองกุสนาราเพื่อเสด็จดับขัน ิ ธปรินิพพาน ณ เมืองนั้น พระพุทธองค์ได้หนกลับไปทอดพระเนตรเมืองเวสาลีซ่งเคยเป็ น ั ึ ้ ที่ประทับ นับเป็ นการทอดทัศนาเมืองเวสาลีเป็ นครังสุดท้าย แล้วเสด็จต่อไปยังเมืองปาวา ้ เสวยพระกระยาหารเป็ นครังสุดท้ายที่บานนายจุนทะ บุตรนายช่างทอง พระพุทธองค์ทรง ้ พระประชวรหนักอย่างยิ่ง ทรงข่มอาพาธประคองพระองค์เสด็จถึงสาลวโนทยาน (ป่ าสาละ) ของเจ้ามัลละเมืองกุสนารา ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพานพระองค์ได้อปสมบทแก่พระสุภท ิ ุ ั ้ั ทะปริพาชก นับเป็ นสาวกองค์สุดท้ายที่พระพุทธองค์ทรงบวชให้ ในท่ามกลางคณะสงฆ์ทง ที่เป็ นพระอรหันต์และปุถชน ุ
  • 34. ้ • พระราชา ชาวเมืองกุสนารา และจากแคว้นต่างๆรวมทังเทวดาทัวหมื่นโลกธาตุ พระพุทธ ิ ่ ้ องค์ได้มีพระดารัสครังสาคัญว่า “ โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิโต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา ” อันแปลว่า “ ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแล้ว ้ ้ บัญญัตแล้วแก่เธอทังหลาย ธรรมวินยนั้น จักเป็ นศาสดาของเธอทังหลาย เมื่อเราล่วงลับ ิ ั ไปแล้ว “ และพระพุทธองค์ได้แสดงปัจฉิ มโอวาทแก่พระภิกษุสงฆ์ว่า “ดูก่อนภิกษุ ้ ้ ้ ้ ้ ทังหลาย นี้ เป็ นวาจาครังสุดท้าย ที่เราจะกล่าวแก่ท่านทังหลาย สังขารทังหลายทังปวงมี ้ ความสิ้นไปและเสือมไปเป็ นธรรมดา ท่านทังหลายจงทาความรอดพ้นให้บริบูรณ์ถงที่สุด ึ ่ ้ ด้วยความไม่ประมาทเถิด” แม้เวลาล่วงมาถึงศตวรรษที่ ๒๕ แล้ว นับตังแต่พระองค์ตรัสรู ้ เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า และเสด็จดับขันธปรินิพพานที่นอกเมืองกุสนาราในประ ิ เทสอินเดีย แต่คาสัง่ สอนอันประเสริฐของพระองค์หาได้ลวงลับไปด้วยไม่ ่
  • 35. • คาสัง่ สอนเหล่านั้นยังคงอยู่ เป็ นเครื่องนาบุคคลให้ขามพ้นจากความมีชีวิต ขึ้นไปสูซ่ึง ้ ่ คุณค่ายิ่งกว่าชีวิต คือการพ้นจากวัฏสงสารนันเอง หลังจากพระพุทธองค์ เสด็จดับขันธปริ ่ ้ั นิ พพานแล้ว สาวกของพระองค์ทงที่เป็ นพระอรหันต์และมิใช่พระอรหันต์ได้ช่วยบาเพ็ญ กรณี ย กิจเผยแผ่พระพุทธวัจนะอันประเสริฐไปทัวประเทศอินเดีย และขยายออกไปทัว ่ ่ โลก เป็ นที่ยอมรับว่าพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแห่งความเป็ นจริง มีเหตุผลเชื่อถือได้และ เป็ นศาสนาแห่งสันติภาพและเสรีภาพอย่างแท้จริง
  • 36. สรุปพุทธกิจในรอบวันของพระพุทธองค์ ๑.ปุพพณเห ปิ ณฑปาตญจ ตอนเช้าเสด็จออกบิณฑบาตเพื่อโปรดเวไนยสัตว์ ๒.สายณเห ธมมเทสน ตอนเย็นทรงแสดงธรรมโปรดมหาชนที่มาเข้าเฝ้ า ๓.ปโทเส ภิกขุโอวาท ตอนหัวคาประทานโอวาทแก่ภกษุ ทงเก่าและใหม่ ่ ิ ้ั ้ ๔.อฑฒรตเต เทวปญหาน ตอนเที่ยงคืนทรงวิสชชนาปัญหาให้แก่เทวดาชันต่างๆ ั ๕.ปจจสเสว คเต กาเล ภพพาภพเพ วิโลกน ตอนใกล้รุ่งตรวจดูสตว์โลกที่สามารถและไม่ ั สามารถบรรลุธรรมได้ แล้วเสด็จไปโปรดถึงที่ แม้ว่าหนทางจะลาบากเพียงใดก็ตาม
  • 37. • แนวทางการดาเนิ นงาน ช่วยกันเลือกหัวข้อที่จะนามาทาโครงงาน และสืบค้นข้อมูลที่มี ประโยชน์และมีแหล่ง อ้างอิงได้ ลงมือปฏิบติ แก้ไขข้อที่บกพร่อง และนาเสนอ ั • เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ใช้ ี - คอมพิวเตอร์ - เว็บไซด์ในการค้นหาข้อมูล • งบประมาณ - 60 บาท
  • 40. • สถานที่ดาเนิ นการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย • กลุมสาระการเรียนรูท่เี กี่ยวข้อง ่ ้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม • แหล่งอ้างอิง http://www.oknation.net/blog/print.php?id=364484 http://board.palungjit.org/f14/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%