SlideShare a Scribd company logo
Dhammaratana Journal
Vol.2 No.6 April-June 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๖ เดือนเมษา-มิ.ย. ๒๕๕๖
วารสารธรรมรัตน์
19
พ.ค.
๒๕๕๖
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ
วันวิสาขบูชา
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
- สวดมนต์ ภาวนา
- ตักบาตร
- ฟังเทศน์
- น้อมรำ�ลึกถึงพุทธคุณ
ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . .
VISAKHA PUJA CEREMONY
(THE BUDDHA'S DAY)
Sunday, May 19, 2013
All Members are welcome
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
C O N T E N T S
ส า ร บ ั ญ
OBJECTIVES
	 - To serve as a Buddhism
promotion center in the U.S.
	 - To serve as a meditation
center in Pittsburgh
	 - To promote virtues, Bud-
dhist culture and traditions
	 - To be a center of all Bud-
dhists, regardless of nationalities
วัตถุประสงค์
	 - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา
	 - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก
	 - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ที่ดีงามของชาวพุทธ
	 - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม
ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ
	 - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว
พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ
บทบรรณาธิการ	
พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words		 	 	 1
มุทิตาสักการะ		 	 	 	 	 	 2
Satisfaction	 	 	 	 	 	 	 3
แต่งสวนให้สวย แต่งใจให้งาม		 	 	 	 6
เพชรจากพระไตรปิฎก		 	 	 	 	 10
Visakha Puja	 	 	 	 	 	 	 12
ข้อดีของผลไม้สารพัดส้ม	 	 	 	 	 21
ไม่เป็นไร ฉันให้อภัย	 	 	 	 	 	 24
สรุปข่าวเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม	 	 	 27
ไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติ		 	 	 	 	 32
รายรับ-รายจ่ายเดือนมกราคม-มีนาคม		 	 	 34
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ		 	 39
ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities		 	 	 	 40-43
Visakha Puja Ceremony	 	 	 	 	 44
กำ�หนดการวันวิสาขะบูชา	 	 	 	 	 45
กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2555 - Religious Ceremony 2012	 46
Activities of BMCP	 	 	 	 	 	 47
วัดป่าธรรมรัตน์
ก้าวย่างแห่งการฝึกตน
คติธรรมประจำ�วัด
สติมโต สทา ภทฺทํ
คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา
The mind is very hard to check
and swift, it falls on what it wants.
The training of the mind is good,
a mind so tamed brings happiness.
เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ที่ปรึกษา :
	 พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)
	 พระราชพุทธิวิเทศ
	 พระครูปริยัติธรรมาภิราม
	 พระครูสิริอรรถวิเทศ
	 พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร
	 คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี
	 คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม
กองบรรณาธิการ :
	 พระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล
	 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ
	 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
	 และอุบาสก-อุบาสิกา
รูปเล่ม/รูปภาพ
	 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
Dhammaratana Journal is published by
Wat Padhammaratana
The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh
5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207
Tel(412)521-5095
E-mail : bmcpitts@hotmail.com
bmcpitts@yahoo.com
Homepage : www.bmcpitts.org
www.facebook.com/bmcpitts
www.youtube.com/bmcpitts
ธรรมรัตน์-Dhammaratana
วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๖ ประจำ�เดือนเม.ย. - มิ.ย. ๒๕๕๖ Vol.2 No.6 April - May 2013
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1
พระพุทธพจน์
The Buddha's Words
			
	 สุโข พุทฺธานมุปฺปาโท	 สุขา สทฺธมฺมเทสนา
สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี	 สมคฺคานํ ตโป สุโข ฯ๑๙๔ฯ
	 การเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายให้เกิดสุข การแสดง
พระสัทธรรมให้เกิดสุข ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข ความ
พยายามของหมู่ที่พร้อมเพรียงกันให้เกิดสุข
	 Happy is the birth of the Buddha,
Happy is the preaching of the Sublime Dhamma,
Happy is the unity of the community
Happy is the striving of the united ones.
บทบรรณาธิการ
	 "กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวิตํ กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท กิจฺฉํ สทฺ
ธมฺมสฺสวนํ" ยาก 4 อย่าง คือ การได้เกิดเป็นมนุษย์ การดำ�รงชีวิตอยู่ การเกิดขึ้น
ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และการได้ฟังสัจธรรมความจริง เป็นเรื่องที่หาได้ยาก"
	 วารสารธรรมรัตน์ฉบับไตรมาสกลับมาพบกับสมาชิกอีกครั้งหนึ่ง เป็น
ครั้งที่สองในรอบปี 2556 มีสาระธรรม กิจกรรม และเรื่องอีกมากมายมาฝาก เพื่อ
แจ้งให้สมาชิกได้ทราบว่าภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาทางวัดทำ�อะไรบ้าง และใน
อีก 3 เดือนหน้าจะมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้าง
	 ในรอบเดือนมกรา-กุมภา-มีนา-เมษาที่ผ่านมานั้น มีกิจกรรมบุญต่างๆ
มากมาย เป็นต้นว่า ต้นปีมีกิจกรรมทำ�บุญตอบรับปีใหม่แบบพุทธของเรา และ
เดือนกุมภาพันธ์มีงานมุทิตาสักการะพระดร.มหาถนัด อตฺถจารี ที่ท่านได้รับ
พระราชทานสมณศักดิ์ที่ "พระครูสิริอรรถวิเทศ" ขอแสดงความยินดีกับพระ
อาจารย์มา ณ โอกาสนี้ นอกจากนั้นยังมีการจัดทำ�บุญวันมาฆบูชาวันสำ�คัญทาง
พระพุทธศาสนาที่พระพุทธองค์ทรงประกาศหลักศาสนา คือ ละชั่ว ทำ�ดี ทำ�จิตของ
ตนให้ผ่องแผ้ว ส่วนเดือนมีนาคมนั้นก็มีกิจกรรมบุญคือการถือศีลปฏิบัติธรรม อัน
เป็นกิจกรรมหลักของวัดป่าธรรมรัตน์
	 เดือนเมษายนนั้นทางวัดจัดให้มีการทำ�บุญปีใหม่ คือ วันสงกรานต์ในช่วง
ต้นเดือนซึ่งมีครูบาอาจารย์และญาติธรรมจากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.เดินทาง
มาร่วมงานด้วย หลังจากนั้นทางคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และญาติโยมเมืองพิทส์
เบิร์กก็ได้เดินทางไปร่วมงานประเพณีสงกรานต์ที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.อีกด้วย
	 กิจกรรมที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนนั้น มีกิจกรรมทำ�บุญ
วันวิสาขะบูชาที่จะจัดขึ้นในวันที่ 19 พฤษภาคมนี้ ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน
ทำ�บุญวิสาขะกับทางวัด ส่วนในเดือนมิถุนายนนั้นจะมีงานใหญ่ คือ งานประชุม
สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัยสามัญและงานทำ�บุญอายุวัฒนมงคลครบ88
ปีของพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) องค์อุปถัมภ์วัดป่าธรรมรัตน์
ขอแจ้งข่าวให้ทุกท่านเดินทางไปร่วมทำ�บุญด้วยกัน ระหว่างวันที่ 6 - 9 มิถุนายน
2556 นี้
	 ขอเชิญญาติโยมทุกท่านพลิกไปอ่านสาระธรรม และกิจกรรมต่างๆ ใน
รอบ ๓ เดือนที่ผ่านมาได้ในวารสารเล่มนี้
ด้วยไมตรีธรรม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana3
	 	 “Where can we find people to satisfy us
	 We can’t even satisfy ourselves
	 Impermanence, Unsatisfactoriness, and Not-self
	 Knowing them beforehand will ease our minds.”
The above is a translation of a Thai verse often recited by one of our
parents.  It says at least three things.  The first one is that things
always change.  There is the truth of suffering in one form or another,
subtle or obvious.  And then all phenomena are conditioned and not in
our complete control.  
	 The second message is that if we look outside of ourselves in
order to gain satisfaction, we will be disappointed.  
	 The third is the hope that we can be at ease with ourselves if we
look inward and focus on our own minds.  
	 The Buddha encourages us to apply the three perceptions of
impermanence, unsatisfactoriness, and not-self to all phenomena.  The
teaching on not-self is the most fundamental and unique.  
SATISFACTION
BY TAWACHAI ONSANIT
ในวโรกาสที่่ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครู
สัญญาบัตร เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษ
ในพระราชทินนามที่
"พระครูสิริอรรถวิเทศ"
คณะสงฆ์/ศิษยานุศิษย์วัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก ขอแสดง
มุทิตาสักการะพระครูสิริอรรถวิเทศ(ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี)
เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ประธานอำ�นวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.
ประธานอำ�นวยการวัดป่าธรรมรัตน์
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5
	 Not-self means a process of being conditioned.  Being condi-
tioned involves a process of formation into an entity from many compo-
nents that often can not be easily recognized once transformed.  And this
entity will not be under its own control since it faces impermanence.  
Impermanence and unsatisfactoriness are actually rooted in not-self.  
Since any thing conditioned can not stay in its original status forever,
it bounds to cause suffering to a certain degree whether we can recog-
nize it or not.  To know this ahead of time, then, is to be ready when it
happens and to give us time to find the remedy.  
	 The next question is how to spot and know these three percep-
tions.  According to the teachings of the Buddha, to follow the Noble
Eightfold Path is the answer.  The path consists of the three-pronged
approach of moral principles, meditation, and wisdom.
	 Moral principles help to set us up for meditation.  Meditation
is the way to achieve wisdom.  But in the process, each will help to
reinforce one another.  As we progress on our own path of practice, our
minds will be more at ease, and the end of suffering will be nearer.
	 Meditation is the way to train our minds to “know.”  Appropriate
attention is required in this endeavor.  This sounds simple enough.  What
is needed for the practice, however, is persistence and an appropriate
level of effort.  The Buddha gives a simile of a musical instrument that
requires tuning the strings with proper tension in order to make the right
sound.
	 What do we train our minds to know?  The answer is to know
how we can use the realizations about impermanence, unsatisfactori-
ness, and not-self in our own practice to bring about the end of suffer-
ing.  So instead of the Buddha’s teachings being just a theory to us, we
practice so that we can know and see for ourselves.  
The Buddha himself meditated by using the method of “mindfulness
of breathing” on the night of his enlightenment.  We might ask what
is the essence of this technique.  The idea is to know the state of our own
minds in any particular moment.  We will find out eventually that our
minds move very quickly.  When the mind is more concentrated, how-
ever, it starts to be aware faster and sharper.  The mind that keeps focus-
ing on the breath properly and long enough will eventually be aware of
itself.  This is what it means when we say the mind “knows.”  This is a
basic skill that we all can develop if we try.
	 Looking back at the introductory verse, we can conclude that
in order to keep our minds on even ground, we must make use of the
knowledge from our life.  The Buddha teaches that things in life are
unstable.  We suffer because of our desire to have more or to not have
things we do not want.  The fundamental realization behind all this is
that all things are conditioned.  When we practice meditation, it helps
to change our reactions to what is happening around us, but most im-
portantly, to what is happening in our own minds.  At this point we
can develop an important quality called equanimity.  It is described as a
beginning of the ability to let go of many things that have cluttered our
minds.  By fine-tuning our knowledge we can keep our minds at ease.
	 คุณโยมกิตติ
มา Frank นิมนต์พระ
สงฆ์ไปฉันเพลที่
ร้านอาหารจีน และดู
สถานที่สร้างวัด มีคุณ
โยมสมทรง ฟ๊อก ขับ
รถพาไป อนุโมทนา
สาธุ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7
	 	 “อปฺปมตฺโต อยํ คนฺโธ ยฺวายํ ตครจนฺทนี
	 โย จ สีลวตํ คนฺโธ 		 วาติ เทเวสุ อุตฺตโมติ.
	 กลิ่นนี้ คือ กลิ่นกฤษณาและกลิ่นจันทน์ เป็นกลิ่นเพียงเล็กน้อย
ส่วนกลิ่นของผู้มีศีลทั้งหลาย เป็นกลิ่นสูงสุด ย่อมหอมฟุ้งไปในเหล่า
เทพเจ้าและเหล่ามนุษย์.”
เมื่อต้นปีนี้ ข้าพเจ้าต้องเดินทางกลับเมืองไทย เพื่อไปร่วมงาน
พระราชทานเพลิงศพของหลวงพ่อที่เคารพนับถือและถือโอกาสเยี่ยม
พ่อแม่ญาติพี่น้องด้วย หลังจากเสร็จงานศพแล้ว มีโอกาสไปเยี่ยมพระ
เพื่อนที่วัดอาวุธวิกสิตาราม เขตบางพลัด ซึ่งเป็นวัดตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ�
เจ้าพระยา เมื่อลงจากรถแท็กซี่เดินเข้าไปภายในวัดซึ่งเต็มไปด้วยหมู่กุฏิ
อาคาร ส่วนมากล้วนสร้างด้วยปูนซีเมนต์ พระมหาสัญชัย ชยสิทฺธิโกและ
ข้าพเจ้าเดินหากุฏิที่พักของเพื่อน เผอิญเจอศิษย์วัดคนหนึ่งพาไป พอย่าง
เท้าเข้าสู่ภายในกำ�แพงกุฏิของท่านก็เสมือนอยู่คนละโลก เมื่อตะกี้เรายืน
อยู่ในเมืองหลวง แต่ก้าวอีกไม่กี่ก้าวเหมือนเราอยู่ในป่าอันร่มรื่น
	 ท่านพระมหาอภิชัย อภิชโย อาจารย์ใหญ่ฝ่ายบาลี ได้ออกมา
ต้อนรับ พร้อมให้ลูกศิษย์ทำ�น้ำ�ชา-กาแฟถวาย ด้วยไมตรีจิตที่มีต่อกัน จำ�
ได้ว่าเจอกันครั้งสุดท้ายที่เมืองธรรมศาลาประเทศอินเดียเมื่อหลายปีก่อน
พวกเราเลือกสถานที่สนทนากันภายใต้ร่มไม้ และบริเวณรอบๆ ก็เต็มไป
ด้วยไม้ดอกไม้ประดับที่ท่านบรรจงจัดสรรไว้ ส่งกลิ่นหอมตลบอบอวล
ไปทั่วบริเวณ ทำ�ให้เกิดความรื่นเริงบันเทิงใจ
	 ในขณะที่จิบน้ำ�ชาสนทนากันนั้น ข้าพเจ้าสังเกตเห็นว่า รอบๆ กุฏิ
นอกจากจะเป็นรมนียสถานของคนแล้ว ยังเป็นที่สนใจของประดาสัตว์
ทั้งหลายด้วย ไม่ว่าจะเป็นเจ้าผีเสื้อแสนสวย กระรอกจอมซน พวกปักษี
ทั้งหลาย รวมถึงสัตว์อื่นๆ อีกเป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้นึกย้อนกลับมามอง
ที่ชีวิตของคนทั้งหลายในโลกนี้เปรียบกับการตกแต่งสวนให้สวยงามที่
ทำ�ให้สัตว์น้อยใหญ่พากันสนใจแวะเวียนมาเยี่ยมเยือนตลอดเวลา
	 ตามคำ�บอกเล่าของท่าน การแต่งสวนรอบกุฏินั้นใช้กำ�ลังทรัพย์
กำ�ลังคน กำ�ลังความคิดมาก และใช้เวลานานในการตกแต่งกว่าจะออก
มาสวยงาม ตอนเย็นๆ เราจะเห็นภาพคุ้นตาที่สามเณรรุ่นต่างๆ มาอ่าน
หนังสือ ท่องหนังสือ ถ้าเปรียบชีวิตกับสวน ชีวิตคนๆ หนึ่งก็เหมือนสวน
หรือพื้นดินผืนหนึ่ง ขึ้นอยู่กับเราที่เป็นเจ้าของว่าจะตกแต่งอย่างไร จะ
ปลูกต้นไม้ดอกไม้อะไรหรือจะปล่อยให้วัชพืชขึ้นถ้าเรารู้จักตกแต่งชีวิต
ของเราให้งดงาม ด้วยการปลูกสิ่งที่ดีงามลงไปหมั่นดูแลรดน้้าพรวนดิน
และถอนวัชพืชที่ไม่ดีออกจากสวนคือชีวิต ความเจริญเติบโตของความ
แต่งสวนให้สวย แต่งใจให้งาม
ปิยเมธี
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9
ดี และความงามจะทำ�ให้ชีวิตของผู้นั้นเป็นประโยชน์ต่อสังคมโลก มีคำ�
สุภาษิตฝรั่งว่า
	 	 Your mind is a Garden
	 Your Thoughts are the seeds,
	 You can grow flowers or
	 You can grow weeds.
แปลเป็นภาษากลอนว่า
	 	 ถ้าเปรียบใจ ทุกคน เฉกเช่นสวน
	 ความคิดล้วน คือเมล็ด ที่เผล็ดผล
	 ปลูกดอกไม้ หรือวัชพืช ในสวนตน
	 อยู่ที่คน ทุกคน เลือกปลูกเองฯ
	 ถ้าเราเป็นเจ้าของสวนจะแต่งสวนคือชีวิตอย่างไรให้สวยงาม
ร่มรื่น นี้คือคำ�ถามที่ท้าทายชาวโลก แต่ชาวพุทธมีโชคมหาศาลที่มีหลัก
ในการดำ�เนินชีวิตหรือตกแต่งชีวิตที่พระพุทธเจ้าทรงประทานไว้ให้ เรา
สามารถแบ่งออกสวนชีวิตออกเป็น 3 ส่วน คือ
	 ส่วนที่ 1 ประดับตกแต่งด้วยต้นไม้คือศีล ต้นไม้จะให้ออกซิเจน
และร่มเงา ทำ�ให้สวนของเราร่มรื่นน่าอยู่ ต้นไม้คือศีลเมื่อเรานำ�มาแต่ง
สวนชีวิตจะทำ�ให้เรามีพฤติกรรมที่ดี ไม่เบียดเบียน เบียดบังคนอื่นทาง
ด้านชีวิต ทรัพย์สิน ครอบครัว แม้กระทั่งด้วยวาจา รวมถึงไม่เบียดเบียน
สุขภาพตนเอง ชีวิตจะร่มรื่นน่าอยู่ คนที่เข้ามาในสวนของเราจะปลอดภัย
ไร้กังวล เราควรแต่งชีวิตด้วยการฝึกหัดกายวาจาด้วยศีล 5
	 ส่วนที่ 2 ประดับตกแต่งด้วยดอกไม้คือสมาธิ ดอกไม้ให้ความ
สดชื่นและสวยงามเวลาที่เรามอง ชีวิตของเราจะสดชื่นถ้าเราแต่งด้วย
สมาธิ เพราะสมาธิจะทำ�ให้จิตใจของเราสงบ ตั้งมั่น สดชื่น และมีพลังใน
การประกอบการงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เราควรแต่งใจของ
เราให้สงบด้วยการหมั่นทำ�สมาธิอย่างน้อยวันละ 5-10 นาที
	 ส่วนที่ 3 ประดับตกแต่งด้วยน้ำ�คือปัญญา ในสวนของเราควรจะมี
ส่วนหนึ่งที่ขุดสระ หรือทำ�น้ำ�พุ เพราะน้ำ�จะดับความร้อนระอุ ทำ�ให้เย็น
สบาย โปร่งโล่ง ปัญญาคือการรู้เท่าทันความเป็นจริงจะทำ�ให้ชีวิตของเรา
เบาสบาย ไม่ยึดติด ปฏิบัติต่อสิ่งต่างๆ ด้วยความรู้ความเข้าใจ
	 สวนคือชีวิตของเรา ถ้าออกแบบและแต่งให้ดี จะเป็นสวนที่
สวยงามเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นอย่างแท้จริง มิเสียทีที่ได้เกิดมา
ชาติหนึ่ง
คุณสิริชัย จิระเชิดชูวงศ์ อาสา
ขับรถพาพระมหาปิยะ อุตฺ
ตมปญฺโญไปส่งสนามบิน
เพื่อเดินทางกลับประเทศไทย
ไปร่วมงานพระราชทานเพลิง
ศพหลวงพ่อเจ้าอาวาสที่วัด
ต้นสังกัด จ.สมุทรปราการ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11
นามสิทธิชาดก............ชื่อนั้นสำ�คัญไฉน
ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้า ประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภ
พระภิกษุผู้หวังความสำ�เร็จโดยชื่อรูปหนึ่ง ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก
ว่า...
	 กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์
อยู่ในเมืองตักกสิลา มีลูกศิษย์คนหนึ่งชื่อว่า ปาปกะ (นายบาป) เขาคิดว่าชื่อ
ของเขาไม่เป็นมงคล จึงเข้าไปหาอาจารย์ และขอให้อาจารย์ตั้งชื่อให้ใหม่
อาจารย์จึงบอกให้ไปเที่ยวแสวงหาชื่อที่ตนเองชอบใจมาแล้วจะทำ�พิธีเปลี่ยน
ชื่อให้
	 เขาได้ออกเดินทางไปแสวงหาชื่อใหม่ จนถึงเมืองหนึ่ง เดินผ่านขบวน
ญาติหามศพไปป่าช้า จึงถามถึงชื่อคนตาย พวกญาติจึงบอกชื่อว่า ชีวกะ(นาย
บุญรอด)เขาถามว่า"ชื่อชีวกะก็ตายหรือ?"พวกญาติจึงกล่าวว่า"จะชื่ออะไร
ๆ ก็ตายทั้งนั้น ชื่อเป็นเพียงบัญญัติสำ�หรับเรียกกันเท่านั้น "
	 พอเดินเข้าไปในเมือง พบเห็นพวกนายทุนกำ�ลังจับนางทาสีเฆี่ยนด้วย
เชือกอยู่ จึงถามความนั้นทราบว่านางไม่ยอมให้ดอกเบี้ยจึงถูกลงโทษแทน
เพชรจาก......พระไตรปิฎก
ถามถึงชื่อนางทาสีนั้น ทราบว่าชื่อนางธนปาลี (นางรวย) จึงถามว่า " ชื่อรวย
ยังไม่มีเงินดอกเบี้ยหรือ ? " พวกนายทุนจึงตอบว่า " จะชื่อรวยหรือจน เป็น
คนยากจนได้ทั้งนั้น ชื่อเป็นเพียงบัญญัติเรียกกันเท่านั้น " เขาเริ่มรู้สึกเฉยๆ ใน
เรื่องชื่อยิ่งขึ้น
	 เขาได้เดินทางออกจากเมืองไป ในระหว่างทางพบคนหลงทางคน
หนึ่ง จึงถามชื่อ ทราบว่าชื่อ ปันถกะ(นายชำ�นาญทาง) จึงถามว่า " ขนาดชื่อ
ชำ�นาญทางยังหลงทางอยู่หรือ ? " คนหลงทางจึงตอบว่า " จะชื่อชำ�นาญทาง
หรือไม่ชำ�นาญทาง ก็มีโอกาสหลงทางได้เท่ากัน เพราะชื่อเป็นบัญญัติสำ�หรับ
เรียกกันเท่านั้น "
	 เขาจึงวางเฉยในเรื่องชื่อ เดินทางกลับไปพบอาจารย์ แล้วเล่าเรื่องที่ตน
พบเห็นมาให้ฟัง และขอให้ชื่อนายบาปเช่นเดิม อาจารย์จึงกล่าวคาถานี้ว่า
	 " เพระเห็นคนชื่อเป็นได้ตายไป หญิงชื่อรวยกลับตกยาก
และคนชื่อว่านักเดินทางแต่กลับหลงทางอยู่ในป่า นายปาปกะจึงได้กลับมา "
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า .........ชื่อนั้นไม่ใช่สิ่งสำ�คัญ
	 พระอาจารย์ U Pu Nar
Nanda และลูกศิษย์ 3 ท่าน มา
เยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ เพื่อปลูก
ไมตรีและดูการบริหารวัดป่า
ธรรมรัตน์
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13
			 Puja ca pujaniyanam
		Etammangalamuttamam
			 Homage to those deserving homage:
		 This is the highest blessing.
I'm now going to give a Dhamma talk, discussing the teachings of the
Buddha, as an adornment to the mindfulness and discernment of all
those gathered here to listen, so that you will take the Dhamma and put
it into practice as a way of achieving the benefits that are supposed to
come from listening to the Dhamma.
	 Today, Visakha Puja, is an extremely important day in the Bud-
dhist tradition, for it was on this day that the Buddha was born, and 35
years later awoke to the unexcelled right self-awakening, and another
45 years later passed away into total nibbana. In each case, these events
took place on the full-moon day in May, when the moon is in the Vi-
sakha asterism, which is why the day is called Visakha Puja.
	 Every year when this important day comes around again, we
Buddhists take the opportunity to pay homage to the Buddha as a way
of expressing our gratitude for his goodness. We sacrifice our daily af-
fairs to make merit in a skillful way by doing such things as practicing
generosity, observing the precepts, and listening to the Dhamma. This
is called paying homage to the virtues of the Triple Gem: the Buddha,
Dhamma, and Sangha. The Buddha is like our father, while the Dhamma
is like our mother — in that it's what gives birth to our knowledge of the
Buddha's teachings. At present our father has passed away, leaving only
our mother still alive. Both of them have been protecting us, looking
after us, so that we've been able to stay free and happy up to the present.
We're thus greatly in their debt and should find a way of showing our
gratitude in keeping with the fact that we are their children.
	 Ordinarily, when people's parents die, they have to cry and la-
ment, wear black, etc., as a way of showing their mourning. On Visakha
Puja — which is the anniversary of the day on which our father, the
Buddha, passed away — we show our mourning too, but we do it in a
different way. Instead of crying, we chant the passages reflecting on the
virtues of the Buddha, Dhamma, and Sangha. Instead of dressing up in
black, we take off our pretty jewels, go without perfume and cologne,
and dress very simply. As for the comfortable beds and mattresses on
which we normally lie, we abstain from them. Instead of eating three
or four times a day, as we normally like to do, we cut back to only two
times or one. We have to give up our habitual pleasures if we're going
to show our mourning for the Buddha — our father — in a sincere and
genuine way.
	 In addition to this, we bring flowers, candles, and incense to of-
fer in homage to the Buddha, Dhamma, and Sangha. This is called ami-
sa-puja, or material homage. This is a form of practice on the external
level — a matter of our words and deeds. It comes under the headings
of generosity and virtue, but doesn't count as the highest form of hom-
age. There's still another level of homage — patipatti-puja, or homage
through the practice — which the Buddha said was supreme: i.e., medi-
tation, or the development of the mind so that it can stand firmly in its
own inner goodness, independent of any and all outside objects. This is
the crucial point that the Buddha wanted us to focus on as much as pos-
sible, for this kind of practice was what enabled him to reach the high-
est attainment, becoming a Rightly Self-awakened Buddha, and enabled
Visakha Puja
by Ajaan Lee Dhammadharo
translated from the Thai by
Thanissaro Bhikkhu
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15
many of his noble disciples to become arahants as well. So we should all
take an interest and set our minds on following their example, as a way
of following the footsteps of our father and mother. In this way we can
be called their grateful, loyal heirs, because we listen respectfully to our
parents' teachings and put them into practice.
	 The verse from the Mangala Sutta that I quoted at the beginning
of the talk, Puja ca pujaniyanam etammangalamuttamam, means "Hom-
age to those deserving homage: This is the highest blessing." There are
two kinds of homage, as we've already mentioned: material homage and
homage through the practice.And along with these two kinds of homage,
people aim their hopes at two kinds of happiness. Some of them practice
for the sake of continuing in the cycle of death and rebirth, for the sake
of worldly happiness. This kind of practice is called vattagamini-kusala,
or skillfulness leading into the cycle. For instance, they observe the pre-
cepts so that they'll be reborn as beautiful or handsome human beings,
or as devas in the heavenly realms. They practice generosity so that they
won't have to be poor, so that they can be reborn wealthy, as bankers or
kings. This kind of skillfulness goes only as far as the qualifications for
human or heavenly rebirths. It keeps spinning around in the world with-
out ever getting anywhere at all.
	 The other reason that people can have for paying homage is so
that they will gain release from suffering. They don't want to keep spin-
ning through death and rebirth in the world. This is called vivattagamini-
kusala, skillfulness leading out of the cycle.
	 In both kinds of practice, the aim is at happiness, but one kind of
happiness is the pleasure found in the world, and the other is the happi-
ness that lies above and beyond the world. When we pay homage to the
Buddha, Dhamma, and Sangha, it's not the case that we have to take the
results of our practice and try to push the Triple Gem any higher. Actu-
ally, what we're doing is to give rise to goodness that will benefit our-
selves. So in searching for goodness for our own sakes, we have to keep
yet another point in mind, as the Buddha taught us: Asevana ca balanam
panditanañca sevana, which means, "Don't associate with fools. Associ-
ate only with wise people." Only then will we be safe and happy.
	 "Fools" here means people whose minds and actions are shoddy
and evil. They behave shoddily in their actions — killing, stealing, hav-
ing illicit sex — and shoddily in their words: telling lies, creating dis-
harmony, deceiving other people. In other words, they act as enemies to
the society of good people at large. That's what we mean by fools. If you
associate with people of this sort, it's as if you're letting them pull you
into a cave where there's nothing but darkness. The deeper you go, the
darker it gets, to the point where you can't see any light at all. There's no
way out. The more you associate with fools, the stupider you get, and
you find yourself slipping into ways that lead to nothing but pain and
suffering. But if you associate with wise people and sages, they'll bring
you back out into the light, so that you'll be able to become more intel-
ligent. You'll have the eyes to see what's good, what's bad, what's right,
what's wrong. You'll be able to help yourself gain freedom from suffer-
ing and turmoil, and will meet with nothing but happiness, progress, and
peace. This is why we're taught to associate only with good people and
to avoid associating with bad.
	 If we associate with bad people, we'll meet up with trouble and
pain. If we associate with good people, we'll meet up with happiness.
This is a way of giving a protective blessing to ourselves. This sort of
protective blessing is something we can provide for ourselves at any
time, at any place at all. We'll gain protection wherever, whenever, we
provide it. For this reason we should provide a protective blessing for
ourselves at all times and all places for the sake of our own security and
well-being.
	 As for things deserving homage: whether they're the sorts of
things that deserve material homage or homage through the practice,
the act of homage provides a protective blessing in the same way. It pro-
vides happiness in the same way. The happiness that lies in the world,
that depends on people and external things, has to suffer death and re-
birth; but the happiness of the Dhamma is an internal happiness that
depends entirely on the mind. It's a release from suffering and stress that
doesn't require us to return to any more death and rebirth in the world
ever again. These two forms of happiness come from material homage
and homage through the practice, things that can either make us come
back to be reborn or free us from having to be reborn. The difference lies
in one little thing: whether we want to be reborn or not.
	 If we create long, drawn-out causes, the results will have to be
long and drawn-out as well. If we create short causes, the results will
have to be short, too. Long, drawn-out results are those that involve
death and rebirth without end. This refers to the mind whose defilements
haven't been polished away, the mind that has cravings and attachments
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17
fastened on the good and bad actions of people and things in the world.
If people die when their minds are like this, they have to come back
and be reborn in the world. To create short causes, though, means to
cut through and destroy the process of becoming and birth so as never
to give rise to the process again. This refers to the mind whose inner
defilements have been polished off and washed away. This comes from
examining the faults and forms of darkness that arise in our own hearts,
keeping in mind the virtues of the Buddha, Dhamma, and Sangha, or
any of the 40 meditation topics that are set out in the texts, to the point
where we can see through all mental fabrications in line with their nature
as events. In other words, we see them as arising, remaining, and then
disintegrating. We keep the range of our awareness short and close to
home — our own body, from head to foot — without latching onto any
of the good or bad actions of anyone or anything in the world. We look
for a solid foundation for the mind, so that it can stay fixed and secure
entirely within itself, with no attachment at all, even for the body. When
we've reached this state, then when we die we won't have to come swim-
ming back to be reborn in the world ever again.
	 Whether we give material homage or homage through the prac-
tice, if we pull the focal point of the mind out and place it in our actions
— i.e., if we get attached to our good actions, as in practicing virtue,
generosity, etc. — then that's called vattagamini-kusala, skillfulness
leading into the cycle. The mind isn't free. It has to become the slave of
this or that thing, this or that action, this or that preoccupation. This is
a long, drawn-out cause that will force us to come back and be reborn.
But if we take the results of our good actions in terms of virtue, generos-
ity, etc., and bring them into the mind's inner foundation, so that they're
stashed away in the mind, without letting the mind run out after external
causes, this is going to help cut down on our states of becoming and
birth so that eventually we don't have to come back and be reborn. This
is vivattagamini-kusala, skillfulness leading out of the cycle. This is the
difference between these two forms of skillfulness.
	 The human mind is like a bael fruit. When it's fully ripe it can no
longer stay on the tree. It has to fall off, hit the ground, and eventually
decay into the soil. Then, when it's been exposed to the right amount of
air and water, the seed gradually sprouts again into a trunk with branch-
es, flowers, and fruit containing all its ancestry in the seeds. Eventually
the fruit falls to the ground and sprouts as yet another tree. It keeps going
around and around in this way, without ever getting annihilated. If we
don't destroy the juices in the seeds that allow them to germinate, they'll
have to keep their genetic inheritance alive for an eon.
	 If we want to gain release from suffering and stress, we have to
make our minds shoot out of the world, instead of letting them fall back
into the world the way bael fruits do. When the mind shoots out of the
world, it will find its landing spot in a place that won't let it come back
and be reborn. It will stay there aloft in total freedom, free from attach-
ment of any sort.
	 Freedom here means sovereignty. The mind is sovereign within
itself. In charge of itself. It doesn't have to depend on anyone, and doesn't
have to fall slave to anything at all. Within ourselves we find the mind
paired with the body. The body isn't all that important, because it doesn't
last. When it dies, the various elements — earth, water, wind, and fire
— fall apart and return to their original condition. The mind, though, is
very important, because it lasts. It's the truly elemental thing residing in
the body. It's what gives rise to states of becoming and birth. It's what ex-
periences pleasure and pain. It doesn't disintegrate along with the body.
It remains in existence, but as something amazing that can't be seen. It's
like the flame of a lit candle: When the candle goes out, the fire element
is still there, but it doesn't give off any light. Only when we light a new
candle will the fire appear and give light again.
	 When we take the body — composed of elements, aggregates,
sense media, and its 32 parts — and the mind — or awareness itself —
and simplify them to their most basic terms, we're left with name and
form (nama, rupa). Form is another term for the body made up of the
four elements. Name is a term for the mind residing in the body, the ele-
ment that creates the body. If we want to cut back on states of becoming
and birth, we should take as our frame of reference just these two things
— name and form — as they're experienced in the present. How does
form — the body — stay alive? It stays alive because of the breath. Thus
the breath is the most important thing in life. As soon as the breath stops,
the body has to die. If the breath comes in without going out, we have to
die. If it goes out without coming back in, we have to die.
	 So think about the breath in this way with every moment, at all
times, regardless of whether you're sitting, standing, walking, or lying
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 19
down. Don't let the body breathe without your mind getting some good
use out of it. A person who doesn't know his or her own breath is said to
be dead. Heedless. Lacking in mindfulness. As the Buddha said, heed-
lessness is the path to danger, to death. We can't let our minds run out
and get stuck on external preoccupations, i.e., thoughts of past or future,
whether they're good or bad. We have to keep our awareness right in
the present, at the breath coming in and out. This is called singleness of
preoccupation (ekaggatarammana). We can't let the mind slip off into
any other thoughts or preoccupations at all. Our mindfulness has to be
firmly established in our awareness of the present. The mind will then
be able to develop strength, able to withstand any preoccupations that
come striking against it, giving rise to feelings of good, bad, liking, and
disliking — the hindrances that would defile the mind.
	 We have to keep our awareness exclusively in the present, alert
and quick to sense the arising and passing away of preoccupations, let-
ting go of both good and bad preoccupations without getting attached to
them. When the mind stays firmly focused in its one preoccupation —
the breath — it will give rise to concentration, to the point where the eye
of inner knowledge appears. For example, it might give rise to powers of
clairvoyance or clairaudience, enabling us to see events past and future,
near and far. Or it might give rise to knowledge of previous lives, so that
we can know how we and other beings have been born, died, come, and
gone, and how all these things have come about from good and bad ac-
tions. This will give rise to a sense of dismay and disenchantment with
states of becoming and birth, and will dissuade us from ever wanting to
create bad kamma ever again.
	 This kind of disenchantment is something useful and good, with-
out any drawbacks. It's not the same thing as its near cousin, weariness.
Weariness is what happens when a person, say, eats today to the point of
getting so full that the thought of eating any more makes him weary. But
tomorrow, his weariness will wear off and he'll feel like eating again.
Disenchantment, though, doesn't wear off. You'll never again see any
pleasure in the objects of your disenchantment. You see birth, aging,
illness, and death as stress and suffering, and so you don't ever want to
give rise to the conditions that will force you to come back and undergo
birth, aging, illness, and death ever again.
	 The important factors for anyone practicing to gain release from
all stress and suffering are persistence and endurance, for every kind of
goodness has to have obstacles blocking the way, always ready to de-
stroy it. Even when the Buddha himself was putting his effort into the
practice, the armies of Mara were right on his heels, pestering him all
the time, trying to keep him from attaining his goal. Still, he never wa-
vered, never got discouraged, never abandoned his efforts. He took his
perfection of truthfulness and used it to drive away the forces of Mara
until they were utterly defeated. He was willing to put his life on the line
in order to do battle with the forces of Mara, his heart solid, unflinch-
ing, and brave. This was why he was eventually able to attain a glori-
ous victory, realizing the unexcelled right self-awakening, becoming our
Buddha. This is an important example that he as our "father" set for his
descendants to see and to take to heart.
	 So when we're intent on training our minds to be good, there are
bound to be obstacles — the forces of Mara — just as in the case of the
Buddha, but we simply have to slash our way through them, using our
powers of endurance and the full extent of our abilities to fight them off.
It's only normal that when we have something good, there are going to
be other people who want what we've got, in the same way that sweet
fruit tends to have worms and insects trying to eat it. A person walking
along the road empty-handed doesn't attract anyone's attention, but if
we're carrying something of value, there are sure to be others who will
want what we've got, and will even try to steal it from us. If we're car-
rying food in our hand, dogs or cats will try to snatch it. But if we don't
have any food in our hand, they won't pounce on us.
	 It's the same way when we practice. When we do good, we have
to contend with obstacles if we want to succeed. We have to make our
hearts hard and solid like diamond or rock, which don't burn when you
try to set them on fire. Even when they get smashed, the pieces maintain
their hardness as diamond and rock. The Buddha made his heart so hard
and solid that when his body was cremated, parts of it didn't burn and
still remain as relics for us to admire even today. This was through the
power of his purity and truthfulness.
	 So we should set our minds on purifying our bodies and minds
until they become so truly elemental that fire won't burn them, just like
the Buddha's relics. Even if we can't get them to be that hard, at least
we should make them like tamarind seeds in their casing: even if insects
bore through the casing and eat all the flesh of the tamarind fruit, they
can't do anything to the seeds, which maintain their hardness as always.
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21
	 So, to summarize: Cutting down on states of becoming and birth
means retracting our awareness inward. We have to take the mind's
foundation and plant it firmly in the body, without getting attached to
any outside activity at all. We have to let go of every thing of every sort
that follows the laws of events, arising and passing away in line with
its nature. We do good, but don't let the mind go running out after the
good. We have to let the results of our goodness come running into the
mind. We pull in every thing of every sort to stash it away in our mind,
and don't let the mind get scattered outside, getting happy or sad over
the results of its actions or anything else external. We do this in the same
way that the bael fruit keeps the trunk, branches, flowers, and leaves of
the bael tree curled up inside the seed. If we can then prevent outside
conditions of soil and water from combining with the inside potential of
the seed, it won't be able to unfurl into a new bael tree.
	 Whoever practices in the way I've discussed here is paying hom-
age to our lord Buddha in the correct way. Such a person will be en-
dowed with blessings providing happiness throughout time.
	 Here I've discussed some verses from the Mangala Sutta as a
way of developing our discernment, so that we will take these lessons
and put them into practice as a way of paying homage to the Buddha,
Dhamma, and Sangha on this Visakha Puja day.
	 That's enough for now, so I'll stop here. Evam.
	 ไม่ใช่เพียงแค่"ส้ม"แต่คือ"ผลไม้ตระกูลส้ม"(Citrus)ซึ่งหมายถึง
ผลไม้อื่น ๆ อีกหลายชนิด เช่น มะนาว เลมอน มะกรูด ส้มโอ เกรปฟรุต
ฯลฯ มาดูประโยชน์ที่เราอาจจะไม่เคยรู้มาก่อน
บำ�รุงผิว
	 ส้มเป็นผลไม้นางเอก เพราะพืชผลในครอบครัวส้มจะมีสารไฟโต
นิวเทรียนต์มากมาย ที่ทำ�หน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ รวมถึงสารกลุ่ม
ฟลาวาโนนส์ สารแอนโธไชยานินส์ สารโพลีฟีนอลส์ และวิตามินซี ที่
ช่วยทำ�ให้ผิวสวยกระจ่างใสค่ะ
เสริมสร้างกระดูก
	 เชื่อหรือไม่ว่าน้ำ�ส้มสามารถให้แคลเซียม และวิตามินดีแก่ร่างกาย
ได้ดีพอๆกับนมและแคลเซียมจะไปเสริมสร้างกระดูกแต่ถ้าไม่มีวิตามิน
ดี ร่างกายจะไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมจากอาหารได้ นอกจากนี้ น้ำ�ส้ม
ข้อดี
ของผลไม้สารพัดส้ม
ร้านอาหารไทย
เอราวัณทำ�บุญครบ
รอบ 13 ปีของการ
เปิดร้านด้วยการ
นิมนต์พระสงฆ์เจริญ
พระพุทธมนต์ฉันเพล
13 Anniversary of
Thai Erawan Restau-
rant, Virginia.
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23
ยังมีวิตามินซี ซึ่งจะช่วยเพิ่มกระบวนการดังกล่าวอีกด้วย แต่จำ�ไว้ว่า กรด
อะซีติกในผลไม้จำ�พวกนี้อาจทำ�ลายสารเคลือบฟันได้ จึงไม่ควรแปรงฟัน
ภายในหนึ่งชั่วโมงหลังจากดื่มน้ำ�ผลไม้
ปกป้องหัวใจ
	 เปลือกของผลไม้ตระกูลส้มมีสารมหัศจรรย์อยู่มากมาย และหนึ่ง
ในนั้นคือการ Polymethoxylated Flavones (PMFs) และสาร D-Limonene
ซึ่งจะช่วยลดคอเลสเตอรอล ปรับระดับน้ำ�ตาลในเลือด และกระตุ้นการก
รองสารพิษของตับ นอกจากนี้ การศึกษายังชี้ว่า เม็ดสีในส้มเขียวหวาน
จะช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดเลว (LDL) โดยไม่ส่งผลต่อคอเลสเตอรอล
ชนิดดี (HDL) แล้วก็อย่าเอ็ดไปนะคะ ความจริงแล้วเปลือกส้มอาจลด
คอเลสเตอรอลได้ดีกว่ายาปฏิชีวนะบางตัว ที่ขายกันตามท้องตลาดเสียอีก
ขับง่ายถ่ายคล่อง
	 ตำ�รับจีนมักจะเสิร์ฟเปลือกส้มคู่กับอาหาร เนื้อสัตว์ เพื่อย่อย
อาหารที่มีไขมันสูง บางตำ�ราแนะนำ�ให้เริ่มวันใหม่ด้วยน้ำ�เลมอน 12
ออนซ์ ผสมกับน้ำ�กรองแล้วที่อุณหภูมิปกติ จะช่วยชะล้างของเสียใน
ระบบย่อยอาหารและลำ�ไส้ได้ เพราะมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ
ดูแลสายตา
	 ผลไม้ตระกูลส้มอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งจะช่วย
ปกป้องแก้วตาจากโรคต้อกระจก และการศึกษายังพบว่าการบริโภค
วิตามินอีและซีในปริมาณมาก จะช่วยป้องกันโรคต้อกระจกได้ แม้แต่ใน
กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคนี้สูง
อารมณ์ดี๊-ดี
	 จะทานก็ได้ จะดมก็ดี เพราะส้มมีสารโฟเลต ซึ่งจะช่วยให้สมอง
หลั่งฮอร์โมนซีโรโทนิน อันเป็นสารแห่งความสุข กลิ่นของผลไม้
ครอบครัวนี้ก็สามารถทำ�ให้เราเบิกบานได้เช่นกัน ลองแต้มน้ำ�มันหอมที่
สกัดจากผลไม้เหล่านี้บริเวณท้ายทอยสิคะ รับรองสดชื่นแน่นอน
ที่มา http://www.oknation.net/blog/kanis/2013/04/14/entry-1
นักศึกษาสนใจสมาธิ
Students interested in
meditation.
พุทธศาสนิกชนพาแฟนมา
นั่งสมาธิ
Buddhists and husbands
love meditation .
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25
***บทเรียนชีวิตจากเด็กหญิง***
	 คิม ฟุค คือเด็กหญิงชาวเวียดนามใต้(ไม่ใส่เสื้อผ้า)คนนั้นซึ่งช่าง
ภาพอเมริกันได้ถ่ายไว้ขณะที่เธอและเพื่อนบ้านกำ�ลังแตกตื่นหนีภัย แม้
เธอจะรอดตายจากระเบิดนาปาล์มที่ทิ้งลงหมู่บ้านของเธอ
แต่ไฟก็ได้เผาลวกผิวหนังของเธอถึง 65 เปอร์เซ็นต์ เธอต้องรักษาตัวอยู่
ในโรงพยาบาลถึง 14 เดือน และผ่านการผ่าตัดถึง 17 ครั้ง กว่าจะหายเป็น
ปรกติ
	 เธอยังโชคดีเมื่อเทียบกับลูกพี่ลูกน้องอีก 2 คนซึ่งตายเพราะทนพิษ
บาดแผลไม่ไหว นั่นคือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2515 เมื่อเวียดนามกลาย
เป็นคอมมิวนิสต์ 3 ปี ต่อมาก็ไม่มีข่าวคราวของเธอปรากฏสู่โลกภายนอก
อีกเลย
	 แต่แล้ววันหนึ่งในปี 2539 คิม ฟุค ก็ได้มาปรากฏตัวอยู่ต่อหน้า
ชาวอเมริกันซึ่งเคยผ่านสมรภูมิเวียดนาม เธอได้รับเชิญให้มาพูดเนื่องใน
โอกาสวันทหารผ่านศึก ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
	 การได้มาเผชิญหน้ากับกลุ่มคนซึ่งครั้งหนึ่งเคยมาทำ�ลายบ้านเกิด
เมืองนอนของเธอ ทำ�ให้ญาติพี่น้องของเธอต้องตาย และเกือบฆ่าเธอให้
ตายไปด้วยนั้น ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ทำ�ใจได้ง่ายนักแต่เธอมาก็เพื่อจะบอกให้
พวกเรารู้ว่า สงครามนั้นได้ก่อความทุกข์ทรมานแก่ผู้คนอย่างไรบ้าง
	 หลังจากที่เล่าถึงประสบการณ์อันเจ็บปวดของเธอแล้ว เธอก็ได้
เผยความในใจว่า มีเรื่องหนึ่งที่เธออยากจะบอกต่อหน้านักบินที่ทิ้งระเบิด
ใส่หมู่บ้านของเธอ พูดมาถึงตรงนี้ก็มีคนส่งข้อความมาบอกว่าคนที่เธอ
ต้องการพบกำ�ลังนั่งอยู่ในห้องประชุมนี้ เธอจึงเผยความในใจออกมาว่า
"ฉันอยากบอกเขาว่า เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์ได้ แต่เรา
ควรพยายามทำ�สิ่งดี ๆ เพื่อส่งเสริมสันติภาพทั้งในปัจจุบันและอนาคต"
เมื่อเธอบรรยายเสร็จ ลงมาจากเวที อดีตนักบินที่เกือบฆ่าเธอก็มายืนอยู่
เบื้องหน้าเธอ เขามิใช่ทหารอีกต่อไปแล้ว แต่เป็นศาสนาจารย์ประจำ�
โบสถ์แห่งหนึ่ง เขาพูดด้วยสีหน้าเจ็บปวดว่า "ผมขอโทษ ผมขอโทษจริง
ๆ"
	 คิมเข้าไปโอบกอดเขาแล้วตอบว่า "ไม่เป็นไร ฉันให้อภัย ฉันให้
อภัย" ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่เราจะให้อภัย โดยเฉพาะกับคนที่ทำ�ร้ายเราปาง
ตาย
	 คิม ฟุค เล่าว่าเหตุการณ์ครั้งนั้นสร้างความทุกข์ทรมานแก่เธอทั้ง
กายและใจ จนเธอเองก็ไม่รู้ว่าจะมีชีวิตอยู่ต่อไปได้อย่างไร แต่แล้วเธอก็
พบว่าสิ่งที่ทำ�ร้ายเธอจริง ๆ มิใช่ใครที่ไหน หากได้แก่ความเกลียดที่ฝัง
แน่นในใจเธอนั่นเอง
	 " ฉันพบว่าการบ่มเพาะความเกลียดเอาไว้สามารถฆ่าฉันได้"
	 เธอพยายามสวดมนต์และแผ่เมตตาให้ศัตรู และแก่คนที่ก่อความ
ทุกข์ให้เธอ แล้วเธอก็พบว่า
	 " หัวใจฉันมีความอ่อนโยนมากขึ้น เรื่อย ๆ เดี๋ยวนี้ฉันสามารถอยู่
ไม่เป็นไร
ฉันให้อภัย
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27
ได้โดยไม่ต้องเกลียด"
	 เราไม่อาจควบคุมกำ�กับผู้คนให้ทำ�ดีหรือไม่ทำ�ชั่วกับเราได้ แต่เรา
สามารถควบคุมกำ�กับจิตใจของเราได้เราไม่อาจเลือกได้ว่ารอบตัวเราต้อง
มีแต่คนน่ารักพูดจาอ่อนหวาน แต่เราสามารถเลือกได้ว่าจะทำ�ใจอย่างไร
เมื่อประสบกับสิ่งไม่พึงปรารถนา
	 คิม ฟุคได้เรียนรู้จากประสบการณ์ของตัวเองว่า "ฉันน่าจะโกรธ
แต่ฉันเลือกอีกทางหนึ่งแล้วชีวิตของฉันก็ดีขึ้น"
	 บทเรียนของ คิม ฟุค คือ ในเมื่อเราเปลี่ยนแปลงอดีตไม่ได้ เราจึง
ไม่ควรปักใจอยู่กับอดีตแต่เราสามารถเรียนรู้จากอดีตเพื่อทำ�  ปัจจุบันและ
อนาคตให้ดีขึ้นได้ บทเรียนจากอดีตอย่างหนึ่งที่เธอได้เรียนรู้มา ก็คือ
	 "การอยู่กับความโกรธ ความเกลียด และความขมขื่นนั้น ทำ�ให้ฉัน
เห็นคุณค่าของการให้อภัย"
ที่มา : board.agalico.com/by สาระแห่งสุขภาพ
สวดมนต์ข้ามปีทำ�ความดีข้ามทวีป
	 คืนวันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม 2555 จากเวลาประมาณ 19.00 น.จนถึง
วันใหม่ 1 มกราคม 2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ คือ พระมหาพิรุฬห์ พทฺธ
สีโล, พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ พร้อมด้วย
พุทธบริษัทชาวเมืองพิทส์เบิร์กและเมืองไกล้เคืองประมาณ70ท่านพร้อมใจ
กันสวดมนต์ สาธยายบทพุทธคุณ108 จบ เจริญสมาธิภาวนา ร่วมแผ่เมตตา
ฟังบรรยายธรรมภาคภาษาอังกฤษโดยพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ฉายวีดิโอ
การเจริญวิปัสสนาภาคภาษาอังกฤษ พระสงฆ์ทั้ง 3 รูป ให้พรญาติโยมและ
แจกชีดีวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ภาคภาษาอังกฤษ ผูกข้อมือ พรมน้ำ�
พระพุทธมนต์แก่ผู้ร่วมพิธีสวดมนต์ข้ามปีทำ�ความดีข้ามทวีป
ทำ�บุญครบรอบ 13 ปี
	 ร้านอาหารไทยเอราวัณ มีคุณเบญจมาศ บุญเสน่ห์ และทีมงานมีคุณสุ
พัฒน์ อินทร์สามรัตน์ เป็นต้น ทำ�บุญครบรอบ 13 ปีของร้าน โดยนิมนต์พระ
สงฆ์จากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และวัดป่าธรรมรัตน์ เจริญพระพุทธมนต์
และฉันภัตตาหารเพล มีคุณโยมจำ�ลอง แม็คคาซี่ และโยมสมทรง ฟ๊อก ขับรถ
สรุปข่าว
เดือนมกราคม-
กุมภาพันธ์-มีนาคม
	 พระมหาดร.พิรุฬห์ พทฺธสีโล เดินทางกลับประเทศไทย เพื่อกลับ
ไปปฏิบัติศาสนกิจที่ประเทศไทยต่อไป ขอกราบขอบพระคุณพระอาจารย์ที่
เมตตามาโปรดชาวเมืองพิทส์เบิร์ก
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29
พาไปถึงเวอร์จีเนีย
ชาวอเมริกันสนใจเจริญสมาธิภาวนา
	 17 มกราคม - 25 มีนาคม คุณทอมชาวอเมริกันผู้อาศัยในเมืองพิทส์
เบิร์กเดินทางจากบ้านด้วยรถโดยสารประจำ�ทางมาถึงวัดเวลา 16.00 น. ฟัง
แนวทางการปฏิบัติแนะนำ�โดยพระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และวีดีโอ
แนวทางการเจริญสมาธิภาวนาของท่านโกเอ็นก้า เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ทุกวัน
จากนั้นก็เจริญสมาธิภาวนาเป็นเวลา 1 ชั่วโมง และทำ�วัตรเย็นเวลา 18.00 น.
ถึง 18.30 น. หลังจากนั้นก็สนทนาธรรมกัน จากที่เคยนั่งได้ครั้งละ 15 นาที
ในช่วงแรกๆ พอปฏิบัติมาได้สักอาทิตย์ก็สามารถนั่งได้นานถึง1 ชั่วโมง จาก
การทดสอบอารมณ์และเฝ้าดู สามารถนั่งสมาธิภาวนาได้อย่างดีมากเลยทีเดียว
และยังสนใจเรียนรู้ธรรมะควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะความหมายของบทสวด
แต่ละพระสูตรช่วงทำ�วัตรเย็น
พบเพื่อพราก จากเพื่อพบไหม่ วาสนานำ�ชัก มั่นคงต่อความดี
	 - วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พุทธศาสนิกชนพร้อมใจกันทำ�บุญและกราบ
ลาท่านพระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ที่จะเดิน
ทางกลับไทยในวันต่อมา วันนี้แม้ไม่เห็นโลงศพ แต่พระก็ได้เห็นน้ำ�ตาโยมผู้
อาลัยอาวรณ์ในการเดินทางกลับประเทศไทย ญาติโยมก็ร่วมกันขอขมาท่าน
ทั้งสองหากการกระทำ�ใดๆ ผิดพลาดพลั้งเผลอต่อท่าน ขอให้ท่านได้ยกโทษ
ให้และขอโอกาสอวยพรให้ท่านเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
	 - วันที่ 20 มกราคม พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ
อุตฺตมปญฺโญ เดินทางไปส่งท่านพระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล เดินทางกลับสู่
ประเทศไทย หลังจากที่ท่านได้มาจำ�พรรษาปฏิบัติศาสนกิจเป็นเวลาถึง 6
เดือน ที่สนามบินเมืองพิทส์เบิร์ก ขออนุโมทนาบุญกับคุณโยมสิริชัย จิระเชิด
ชูวงศ์ พลขับรับส่งพระคุณเจ้าถึงจุดหมายปลายทาง
	 - วันที่ 21 มกราคม พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ เดินทางไปส่งพระ
มหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ที่สนามบินพิทส์เบิร์ก เดินทางกลับสู่ประเทศไทยเพื่อ
ไปร่วมงานพระราชทานเพลิงอดีตเจ้าอาวาสวัดโปรดเกษเชฏฐาราม จังหวัด
สมุทรปราการ ชึ่งเป็นวัดสังกัดท่าน ขออนุโมทนาบุญกับคุณโยมสิริชัย จิระ
เชิดชูวงศ์ พลขับรับส่งพระถึงจุดหมายปลายทาง   ฝากวัดป่าธรรมรัตน์ให้ท่า
นพระมหาสายันต์และญาติโยมดูแลต่อไป
	 	 	 คณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนวัดป่าธรรมรัตน์
	 	 น้อมดอกบัวทั้งกอมาบูชาครู
	 	 ผู้มั่นอยู่ในบวรพระพุทธศาสนา
	 	 ขอคุณพระธรรมรัตน์หนุนนำ�พา
	 	 ให้ครูบาเบิกบานสำ�ราญธรรม... ตลอดกาลนาน
	 วันเสาร์-อาทิตย์ที่ 2 - 3 กุมภาพันธ์ 2556 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ
ในนามคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และตัวแทนพุทธศาสนิกชนชาวเมืองพิทส์
เบิร์ก โดยมีโยมสมทรง ฟ๊อก, โยมจำ�ลอง(น้อย) แมคคาชี่, โยมจิม(Jim) และ
โยมแหม่ม เบอมิ่งแฮม เดินทางไปร่วมถวายมุทิตาสักการะเเด่ ดร.พระมหา
ถนัด อตฺถจารี เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในอเมริกา, ประธานอำ�นวยการ
วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และประธานอำ�นวยการสร้างวัดป่าธรรมรัตน์ ใน
โอกาสที่ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบเท่า
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษในพระราชทินนามที่ "พระครูสิริ
อรรถวิเทศ" พิธีมุทิตาสักการะจัดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2556 ณ วัด
ไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. นำ�ความปลื้มปีติยินดีแด่ศิษยานุศิษย์มาโดยทั่วกัน
ไม่เพียงเว้นชั่ว ทำ�ความดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องชำ�ระใจตนเองให้สะอาด
บริสุทธิ์ด้วย
	 วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 ตรงกับวันมาฆบูชา เป็นวันสำ�คัญ
ทางพระพุทธศาสานาอีกวันหนึ่ง ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana30 31
ทางวัดก็จัดให้มีการทำ�บุญปฏิบัติธรรม ฟังธรรมเทศนาสองภาษาไทย-อังกฤษ
แสดงธรรมโดยพระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ มีพุทธศาสนิกชนชาวเมืองพิทส์
เบิร์ก และเมืองใกล้เคียงชาวพุทธไทย เขมร ลาว และนานาชาติ ร่วมงานไม่
ต่ำ�กว่า 60 ท่าน ในงานนี้มีนักเรียนนักศึกษาไทยมาร่วมจำ�นวนมาก ญาติธรรม
จากเมืองโอไฮโอ โยมประนอม(แมว) จาบกุล, โยม Sumalee Charoentra และ
คณะประมาณ 10 ท่าน ญาติโยมต่างอิ่มบุญอย่างทั่วหน้า ขออนุโมทนาบุญกับ
ทุกท่าน
วัดนานาชาติเยี่ยมวัด
	 วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม Dhamma Gone Yee Buddhist Temple หรือวัด
ไตรรัตนาราม วัดพม่าในเมืองพิทส์เบิร์ก นำ�โดยพระอาจารย์ U Pu Nar Nanda
และลูกศิษย์ 3 ท่าน มาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ เพื่อปลูกไมตรีและดูการบริหาร
วัดป่าธรรมรัตน์ ทางวัดได้ถวายหนังสือทำ�วัตรเช้า-เย็นฉบับภาษาอังกฤษ
สบู่ ยาสีฟัน ผ้าเช็ดตัว ยารักษาโรค และน้ำ�ดื่ม แก่ท่าน ขอให้ทุกๆ ท่านร่วม
อนุโมทนา
เจริญจิตภาวนาสั่งสมบุญบารมี
	 โยมเก๋ วระญา แซ่เตียว และสามี คุณจอร์น แมชเวล มาทำ�บุญนั่งสมาธิ
ที่วัด หลังจากตั้งความปรารถนาอยากมีลูกสืบสกุล ตั้งจิตบริสุทธิ์ขอความ
เมตตาต่อพระพุทธเมตตาเหรียญพระพุทธรูปจากอินเดียที่พระอาจารย์วัดป่า
ธรรมรัตน์มอบให้เป็นที่สักการะบูชา ก็ได้ดั่งใจหวังมีครรภ์มาหลายเดือน
พร้อมกันนี้โยมหลินและโยมTim ก็มาทำ�บุญเจริญสมาธิภาวนาอุทิศส่วนส่วน
กุศลไปให้แด่โยมแม่ผู้บังเกิดเกล้า
ทำ�บุญวันเกิด เสริมสร้างบารมี
	 30 มีนาคม 2556 โยมวิเชียร น้ำ�ใส นิมนต์พระสงฆ์ และเชิญญาติพี่
น้องผองเพื่อน เลี้ยงฉลองทำ�บุญครบรอบวันเกิดในวันที่ 26 มีนาคม ที่ผ่านมา
แต่โยมน้อยต้องเดินทางกลับไปประเทศไทยในวันที่ 9 เมษายน ที่จะถึง จึงขอ
อนุโมทนา ขอให้ประสบแด่ความสุข ความเจริญ สุขภาพแข็งแรง มั่งมีศรีสุข
ตลอดไป
สนใจพุทธศาสนา
	 วันที่ 20 มีนาคม 2556 โยมมด พาสามีเข้าวัดปฏิบัติธรรม สนทนา
ธรรม นำ�ความรู้ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน อนุโมทนาสาธุ
นักศึกษาต่างชาติ-ไทย สนใจสมาธิ
	 วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม 2556  เมืองพิทส์เบิร์กเป็นเมืองที่มีความสำ�คัญ
ทางด้านการศึกษามีนักศึกษาจากประเทศไทยและอีกหลายประเทศมาเรียน
ที่นี้ พอมีเวลาว่างก็ไม่ลืมวัดวาศาสนา จะพากันมานั่งสมาธิปฎิบัติธรรมตาม
หลักพุทธศาสนาไม่เคยขาด และบางครั้งก็พาเพื่อนชาวต่างชาติที่มีความสนใจ
มาศึกษาปฏิบัติธรรมด้วย ขออนุโมทนา สาธุ
	 คุณทอมชาวอเมริกันสนใจศึกษาปฏิบัติธรรม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana32 33
	 ยุงกัดปัญหาระดับชาติ อยู่บ้านหรือไปไหนก็ต้องเจอ แต่ถ้าใครไม่
อยากตบ ไม่อยากฆ่าสัตว์ มีวิธีธรรมชาติในการไล่ยุงมาฝาก
	 มนุษย์ดึงดูดยุงให้เข้ามาหาจากคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา
จากลมหายใจ กลิ่นเหงื่อ กลิ่นตัว และความร้อนจากร่างกาย คนเราไม่สามารถ
กำ�จัดยุงให้หมดไปจากโลกนี้ได้ และคนบางคนก็มีสารเคมีในร่างกายไม่
เหมือนกัน ทำ�ให้สูตรการไล่ยุงสูตรหนึ่งอาจใช้ไม่ได้ผลกับทุกคน วันนี้เราเลย
มีเคล็ดลับไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติที่หลากหลายมาฝากไปให้เลือกใช้กัน
	 - วานิลลา ให้ใช้ทาที่จุดชีพจร หรือถ้ามีปริมาณมากให้ทาทั่วผิวหนัง
และแต้มลงบนเสื้อผ้า จะเลือกใช้แบบเข้มข้น หรือผสมน้ำ�ก่อนแล้วฉีดบนผิว
ก็ได้
	 - กระเทียม เวลาไปแค้มป์ปิ้ง ไปเที่ยวนอกสถานที่ที่มียุงชุม ให้ลองใช้
กระเทียมผงซึ่งหาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ต ผสมกับน้ำ� ทาลงที่จุดชีพจร หรือ
บนใบหน้า แต่ระวังอย่าให้เข้าตา
	 - น้ำ�มันหอมระเหย ใช้ผสมกับแอลกอฮอล์เช็ดแผลหรือน้ำ�กลั่น แล้ว
ฉีดลงบนร่างกายหรือผ้าแล้วใช้เช็ดบริเวณผิวที่โดนยุงตอม หรือเติมน้ำ�มัน
หอมระเหยสองสามหยดลงในเบบี้ออยล์ หรือน้ำ�มันมะกอกแล้วทาบนผิว แต่
ระวังอย่าให้เข้าตาและปาก ก็จะแก้ปัญหายุงกัดได้ โดยกลิ่นน้ำ�มันหอมระเหย
ที่แนะนำ� คือ ลาเวนเดอร์ ยูคาลิปตัส มะนาว ตะไคร้ ทีทรีไธม์ เปปเปอร์มินต์
และเบซิล
	 - กระเทียม ส่วนที่บ้านถ้ายุงเยอะ ให้ฉีดกระเทียมผงผสมน้ำ�ตาม
สนามหญ้าและพุ่มไม้ เพื่อไล่ยุง ควรทำ�สองสัปดาห์ต่อ 1 ครั้ง หรือหลังจาก
ฝนตกหนัก จะลดปริมาณยุงได้
	 - เปลือกส้ม หลังจากที่ปลอกส้มแล้ว อย่าทิ้ง ให้นำ�ไปตากแดดให้แห้ง
แล้วนำ�มาเผาในชามอ่าง ตั้งไว้บริเวณที่ยุงชุม กลิ่นจากเปลือกส้มจะช่วยกำ�จัด
ยุงไม่ไห้มารบกวนได้ และยังไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายอีกด้วย
http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/healthtips/22386
ไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติ
	 คุณวิเชียร
น้ำ�ใส ทำ�บุญคล้าย
วันเกิดโดยนิมนต์
พระสงฆ์และญาติ
พี่น้อง ไปทานที่
ร้านอาหารข้างๆ
วัด สาธุ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana35
รายรับเดือนมกราคม 2556
กิตติมา-Fred-Narlasue-Susi-Jira Frank	 	 $  100.00
Jim-Pimjai Birmingham	 	 	 	 $ 25.00
นางบรรลุ แมนแนลล์ 		 	 	 	 $ 100.00
น.ส.จันทิมา จิระเชิดชูวงศ์	 	 	 	 $ 100.00
ตู่-ตั้ม Wade	 	 	 	 	 	 $ 100.00
Richard-Piyaporn Keatibut Peper	 	 	 $ 20.00
พรรณี พรมเพ็ง	 	 	 	 	 $ 100.00
Usa Jirachertchoowong	 	 	 	 $ 100.00
ชัยวุฒิ เลิศวิชัยวรวิชย์	 	 	 	 	 $ 40.00
ผู้ไม่ประสงค์จะออกนาม	 	 	 	 $ 30.00
น.ส.พรพรรณ นาวีประเสริฐ และครอบครัว(ซื้อที่ดิน)$ 50.00
สุจิตรา เทียมเมืองแพน		 	 	 	 $ 5.00
Jumlong Megyesy(ค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 $ 50.00
Manus Sands(ประกันสุขภาพพระ)	 	 	 $ 100.00	
Manus Sands(ค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 $ 50.00
Thai Papaya Restaurant	 	 	 	 $ 500.00
Thai Erawan Restaurant	 	 	 	 $ 550.00
Kim Eng Hong	 	 	 	 	 $ 240.00
Parinya S.Spry		 	 	 	 	 $ 30.00
Jintana Kessler, คุณแม่สะอาด สรรพอาษา	 	 $ 40.00
Lynn Thommsa Fisher	 	 	 	 $ 25.00
นายเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ		 	 	 	 $ 59.00
Pittsburgh Thai Food, Inc.	 	 	 	 $ 100.00
ณัฎฐพงศ์ จันทร์อยู่	 	 	 	 	 $ 30.00
Milosavljevic Family	 	 	 	 	 $ 25.00
Methinee Yeampeka	 	 	 	 	 $ 30.00
Somornrat Kiefaber	 	 	 	 	 $ 30.00
คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ประกันสุขภาพพระ)	 $ 30.00
คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 $ 20.00
คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ทำ�บุญวันมาฆบูชา)	 $ 20.00
คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ค่าเดินทางพระ)	 	 $ 20.00
คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(สมทบทุนซื้อที่ดินถวายวัด)$ 100.00
Richar L Farr & Rahsri S Farr(Donation for buying the land)$ 100.00
รายรับเดือนกุมภาพันธ์ 2556
คุณมนัส ดี แซนด์(ประกันสุขภาพพระ)	 	 $ 100.00
คุณมนัส ดี แซนด์(ค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 $ 50.00
Somsong Fox	 	 	 	 	 	 $ 50.00
Bungon P Fontaine 	 	 	 	 	 $ 20.00
Pranom Jabkul		 	 	 	 	 $ 100.00
รายรับ-รายจ่าย
ประจำ�เดือนมกราคม - มีนาคม
ปี 2556/2013
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37
Dr.Claening Service Inc.	 	 	 	 $ 500.00
Sumalee Charoentra	 	 	 	 	 $ 100.00
Sawid Bartko	 	 	 	 	 	 $ 50.00
ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม		 	 	 	 $ 20.00
Aunchalin Teeranijviriya	 	 	 	 $ 50.00
Aunchalin Teeranijviriya	 	 	 	 $ 100.00
รายรับเดือนมีนาคม 2556
เจน ชูแนม	 	 	 	 	 	 $ 141.00
Usa Jirachertchoowong	 	 	 	 $ 100.00
ธิดายศ ธีระเนตร	 	 	 	 	 $ 40.00
พิทักษ์-รัตนา สุวรรณเสวตร(พิมพ์หนังสือ)	 	 $ 2,000.00
มนัส แซนด์(ค่าน้ำ�ไฟ)		 	 	 	 $ 50.00
มนัส แซนด์(ประกันสุขภาพพระ)	 	 	 $ 100.00
Pimjai-Pim James Birmingham	 	 	 $ 30.00
Channa-Dar Marith Kimly	 	 	 	 $ 20.00
Thai Spoon, LLC	 	 	 	 	 $ 100.00
Mike-Tanaporn	 	 	 	 	 $ 40.00
Gon E. Maxwell	 	 	 	 	 $ 100.00
Gon E. Maxwell	 	 	 	 	 $ 40.00
คุณบริสุทธิ์ แสนแก้ว Pittsburgh Thai Restaurant	 $ 100.00
Phoc Vong(Tim)	 	 	 	 	 $ 100.00
ณัฏฐพงศ์ จันทร์อยู่	 	 	 	 	 $ 30.00
Tim-Rin	 	 	 	 	 	 $ 15.00
แม๊ค เงินฝรั่ง	 	 	 	 	 	 $ 20.00
Vilavan Anan Vong, Phoc Vong	 	 	 $ 500.00
เจน ชูแนม, นีน่า โกลด์	 	 	 	 $ 96.00
Frank Reed Larkey	 	 	 	 	 $ 20.00
ปิยาภรณ์ เกียรติบุตร, ริชาร์ด เป๊ปเปอร์	 	 $ 20.00
รายจ่ายเดือนมกราคม 2556
01/08/2013	 Monk food	 	 	 	 $ 79.14*
01/09/2013	 Post Office(Sending Newsletter)	 $ 112.20*
01/09/2013	 Printer Ink 	 	 	 	 $ 74.88*
01/09/2013	 Wat Thai DC(R1 Visa for monk)	 $ 325.00*
01/09/2013	 Offering to Phramahapirun	 	 $ 500.00*
01/16/2013	 ซื้อผลไม้	 	 	 	 $ 82.63*
01/19/2013	 Guardian Protection	 	 	 $ 31.95*
01/29/2013	 Nationwide Insurance 		 	 $ 100.00
01/30/2013	 Verizon	 	 	 	 $ 59.49
01/30/2013	 Celebration for the title	 	 $ 500.00*
01/30/2013	 Aetna	 	 	 	 	 $ 133.00*
01/31/2013 	 Duquesne Light	 	 	 $ 329.39
หมายเหตุ...* ทางวัดเขียนเช็คจ่าย นอกจากนั้นญาติโยมร่วมกันเป็นเจ้า
ภาพจ่าย
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
อนุโมทนาบุญ
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ
วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันจันทร์	 Thai Cuisine, Thai Spoon ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์
วันอังคาร	 คุณคิม,คุณใจ วงศ์คำ�และเพื่อนๆ(อังคารที่ ๑ ของเดือน)
วันพุธ	 	 คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม,คุณนีน่า โกลด์ และเพื่อน
วันพฤหัสบดี	 คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์, คุณเจน ซูนัม,   	                  	
	 	 Thai Me Up Restaurant  
วันศุกร์		 คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ
วันเสาร์	 คุณวิลาวรรณ วอง และครอบครัว
วันอาทิตย์	 ญาติโยมทั้งหลายร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล
*หมายเหตุในแต่ละวันอาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตามโอกาสจะ
เอื้ออำ�นวย
	 อันนะโท พะละโท โหติ	 วัตถะโท โหติ วัณณะโท
ยานะโท สุขะโท โหติ			 ทีปะโท โหติ จักขุโท.
	 ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยาน
พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ
38
รายจ่ายเดือนกุมภาพันธ์ 2556
02/11/2013	 Peoples Natural Gas	 	 	 	 $ 391.00
02/11/2013	 PWSA quality water	 	 	 	 $ 120.00
02/18/2013	 Guardian Protection	 	 	 	 $ 31.95*
02/18/2013	 Erie Insurance 	 	 	 	 $ 97.00*
02/18/2013	 Property tax	 	 	 	 	 $ 319.53
02/22/2013	 Nationwide Insurance		 	 	 $ 112.00
หมายเหตุ...* ทางวัดเขียนเช็คจ่าย นอกจากนั้นญาติโยมร่วมกันเป็นเจ้า
ภาพจ่าย
รายจ่ายเดือนมีนาคม 2556
03/04/2013	 Verizon	 	 	 	 	 $ 53.83
03/07/2013	 Peoples Natural Gas	 	 	 	 $ 300.00
03/13/2013	 Duquesne Light	 	 	 	 $ 74.00
03/13/2013 	 PSWA water quality	 	 	 	 $ 24.00
03/18/2013	 Aetna Health Insurance	 	 	 $ 133.00*
03/22/2013	 Duquesne Light	 	 	 	 $ 73.04
หมายเหตุ...* ทางวัดเขียนเช็คจ่าย นอกจากนั้นญาติโยมร่วมกันเป็นเจ้า
ภาพจ่าย
--------------------------------------------------
	 หากมีรายชื่อท่านใดขาดตกบกพร่องไป ทางวัดขออภัยมา ณ
โอกาสนี้ด้วย โปรดแจ้งให้ทางวัดทราบ เพื่อดำ�เนินการแก้ไขให้ถูกต้องต่อ
ไป
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ทำ�บุญปีใหม่ 2556 - Happy New Year Ceremony 2013 ทำ�บุญฉลองสมณศักดิ์ พระครูสิริอรรถวิเทศ(ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี)
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
กิจกรรมทั่วไปในรอบ 3 เดือน ทำ�บุญวันมาฆบูชา - Magha Puja Ceremony
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6

More Related Content

What's hot

วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)monthsut
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
Teacher Sophonnawit
 
049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2
niralai
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
Mindfulness in-organization
Mindfulness in-organizationMindfulness in-organization
Mindfulness in-organization
weraratapiwatanasawe
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Wat Thai Washington, D.C.
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
Rath Saadying
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Wat Thai Washington, D.C.
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
niralai
 

What's hot (19)

วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
 
Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Mindfulness in-organization
Mindfulness in-organizationMindfulness in-organization
Mindfulness in-organization
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 

Viewers also liked

Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10
Watpadhammaratana Pittsburgh
 

Viewers also liked (15)

Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
 
วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
 
1 years
1 years1 years
1 years
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
 
Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5
 
Buddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburghBuddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburgh
 
Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10
 

Similar to Dhammaratana journal 6

Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
Sarawut Sangnarin
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
Panuwat Beforetwo
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
khumtan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
kruchayanon
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 

Similar to Dhammaratana journal 6 (17)

Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Dhammaratana journal 6

  • 1. Dhammaratana Journal Vol.2 No.6 April-June 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๖ เดือนเมษา-มิ.ย. ๒๕๕๖ วารสารธรรมรัตน์ 19 พ.ค. ๒๕๕๖ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ วันวิสาขบูชา ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก - สวดมนต์ ภาวนา - ตักบาตร - ฟังเทศน์ - น้อมรำ�ลึกถึงพุทธคุณ ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . . VISAKHA PUJA CEREMONY (THE BUDDHA'S DAY) Sunday, May 19, 2013 All Members are welcome
  • 2. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana C O N T E N T S ส า ร บ ั ญ OBJECTIVES - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Bud- dhist culture and traditions - To be a center of all Bud- dhists, regardless of nationalities วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่ดีงามของชาวพุทธ - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ บทบรรณาธิการ พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words 1 มุทิตาสักการะ 2 Satisfaction 3 แต่งสวนให้สวย แต่งใจให้งาม 6 เพชรจากพระไตรปิฎก 10 Visakha Puja 12 ข้อดีของผลไม้สารพัดส้ม 21 ไม่เป็นไร ฉันให้อภัย 24 สรุปข่าวเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม 27 ไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติ 32 รายรับ-รายจ่ายเดือนมกราคม-มีนาคม 34 ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ 39 ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities 40-43 Visakha Puja Ceremony 44 กำ�หนดการวันวิสาขะบูชา 45 กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2555 - Religious Ceremony 2012 46 Activities of BMCP 47 วัดป่าธรรมรัตน์ ก้าวย่างแห่งการฝึกตน คติธรรมประจำ�วัด สติมโต สทา ภทฺทํ คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา The mind is very hard to check and swift, it falls on what it wants. The training of the mind is good, a mind so tamed brings happiness. เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พระราชพุทธิวิเทศ พระครูปริยัติธรรมาภิราม พระครูสิริอรรถวิเทศ พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม กองบรรณาธิการ : พระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ และอุบาสก-อุบาสิกา รูปเล่ม/รูปภาพ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ Dhammaratana Journal is published by Wat Padhammaratana The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 Tel(412)521-5095 E-mail : bmcpitts@hotmail.com bmcpitts@yahoo.com Homepage : www.bmcpitts.org www.facebook.com/bmcpitts www.youtube.com/bmcpitts ธรรมรัตน์-Dhammaratana วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๖ ประจำ�เดือนเม.ย. - มิ.ย. ๒๕๕๖ Vol.2 No.6 April - May 2013
  • 3. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1 พระพุทธพจน์ The Buddha's Words สุโข พุทฺธานมุปฺปาโท สุขา สทฺธมฺมเทสนา สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี สมคฺคานํ ตโป สุโข ฯ๑๙๔ฯ การเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายให้เกิดสุข การแสดง พระสัทธรรมให้เกิดสุข ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข ความ พยายามของหมู่ที่พร้อมเพรียงกันให้เกิดสุข Happy is the birth of the Buddha, Happy is the preaching of the Sublime Dhamma, Happy is the unity of the community Happy is the striving of the united ones. บทบรรณาธิการ "กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวิตํ กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท กิจฺฉํ สทฺ ธมฺมสฺสวนํ" ยาก 4 อย่าง คือ การได้เกิดเป็นมนุษย์ การดำ�รงชีวิตอยู่ การเกิดขึ้น ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และการได้ฟังสัจธรรมความจริง เป็นเรื่องที่หาได้ยาก" วารสารธรรมรัตน์ฉบับไตรมาสกลับมาพบกับสมาชิกอีกครั้งหนึ่ง เป็น ครั้งที่สองในรอบปี 2556 มีสาระธรรม กิจกรรม และเรื่องอีกมากมายมาฝาก เพื่อ แจ้งให้สมาชิกได้ทราบว่าภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาทางวัดทำ�อะไรบ้าง และใน อีก 3 เดือนหน้าจะมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในรอบเดือนมกรา-กุมภา-มีนา-เมษาที่ผ่านมานั้น มีกิจกรรมบุญต่างๆ มากมาย เป็นต้นว่า ต้นปีมีกิจกรรมทำ�บุญตอบรับปีใหม่แบบพุทธของเรา และ เดือนกุมภาพันธ์มีงานมุทิตาสักการะพระดร.มหาถนัด อตฺถจารี ที่ท่านได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์ที่ "พระครูสิริอรรถวิเทศ" ขอแสดงความยินดีกับพระ อาจารย์มา ณ โอกาสนี้ นอกจากนั้นยังมีการจัดทำ�บุญวันมาฆบูชาวันสำ�คัญทาง พระพุทธศาสนาที่พระพุทธองค์ทรงประกาศหลักศาสนา คือ ละชั่ว ทำ�ดี ทำ�จิตของ ตนให้ผ่องแผ้ว ส่วนเดือนมีนาคมนั้นก็มีกิจกรรมบุญคือการถือศีลปฏิบัติธรรม อัน เป็นกิจกรรมหลักของวัดป่าธรรมรัตน์ เดือนเมษายนนั้นทางวัดจัดให้มีการทำ�บุญปีใหม่ คือ วันสงกรานต์ในช่วง ต้นเดือนซึ่งมีครูบาอาจารย์และญาติธรรมจากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.เดินทาง มาร่วมงานด้วย หลังจากนั้นทางคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และญาติโยมเมืองพิทส์ เบิร์กก็ได้เดินทางไปร่วมงานประเพณีสงกรานต์ที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.อีกด้วย กิจกรรมที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนนั้น มีกิจกรรมทำ�บุญ วันวิสาขะบูชาที่จะจัดขึ้นในวันที่ 19 พฤษภาคมนี้ ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน ทำ�บุญวิสาขะกับทางวัด ส่วนในเดือนมิถุนายนนั้นจะมีงานใหญ่ คือ งานประชุม สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัยสามัญและงานทำ�บุญอายุวัฒนมงคลครบ88 ปีของพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) องค์อุปถัมภ์วัดป่าธรรมรัตน์ ขอแจ้งข่าวให้ทุกท่านเดินทางไปร่วมทำ�บุญด้วยกัน ระหว่างวันที่ 6 - 9 มิถุนายน 2556 นี้ ขอเชิญญาติโยมทุกท่านพลิกไปอ่านสาระธรรม และกิจกรรมต่างๆ ใน รอบ ๓ เดือนที่ผ่านมาได้ในวารสารเล่มนี้ ด้วยไมตรีธรรม
  • 4. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana3 “Where can we find people to satisfy us We can’t even satisfy ourselves Impermanence, Unsatisfactoriness, and Not-self Knowing them beforehand will ease our minds.” The above is a translation of a Thai verse often recited by one of our parents. It says at least three things. The first one is that things always change. There is the truth of suffering in one form or another, subtle or obvious. And then all phenomena are conditioned and not in our complete control. The second message is that if we look outside of ourselves in order to gain satisfaction, we will be disappointed. The third is the hope that we can be at ease with ourselves if we look inward and focus on our own minds. The Buddha encourages us to apply the three perceptions of impermanence, unsatisfactoriness, and not-self to all phenomena. The teaching on not-self is the most fundamental and unique. SATISFACTION BY TAWACHAI ONSANIT ในวโรกาสที่่ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครู สัญญาบัตร เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษ ในพระราชทินนามที่ "พระครูสิริอรรถวิเทศ" คณะสงฆ์/ศิษยานุศิษย์วัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก ขอแสดง มุทิตาสักการะพระครูสิริอรรถวิเทศ(ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี) เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ประธานอำ�นวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. ประธานอำ�นวยการวัดป่าธรรมรัตน์
  • 5. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5 Not-self means a process of being conditioned. Being condi- tioned involves a process of formation into an entity from many compo- nents that often can not be easily recognized once transformed. And this entity will not be under its own control since it faces impermanence. Impermanence and unsatisfactoriness are actually rooted in not-self. Since any thing conditioned can not stay in its original status forever, it bounds to cause suffering to a certain degree whether we can recog- nize it or not. To know this ahead of time, then, is to be ready when it happens and to give us time to find the remedy. The next question is how to spot and know these three percep- tions. According to the teachings of the Buddha, to follow the Noble Eightfold Path is the answer. The path consists of the three-pronged approach of moral principles, meditation, and wisdom. Moral principles help to set us up for meditation. Meditation is the way to achieve wisdom. But in the process, each will help to reinforce one another. As we progress on our own path of practice, our minds will be more at ease, and the end of suffering will be nearer. Meditation is the way to train our minds to “know.” Appropriate attention is required in this endeavor. This sounds simple enough. What is needed for the practice, however, is persistence and an appropriate level of effort. The Buddha gives a simile of a musical instrument that requires tuning the strings with proper tension in order to make the right sound. What do we train our minds to know? The answer is to know how we can use the realizations about impermanence, unsatisfactori- ness, and not-self in our own practice to bring about the end of suffer- ing. So instead of the Buddha’s teachings being just a theory to us, we practice so that we can know and see for ourselves. The Buddha himself meditated by using the method of “mindfulness of breathing” on the night of his enlightenment. We might ask what is the essence of this technique. The idea is to know the state of our own minds in any particular moment. We will find out eventually that our minds move very quickly. When the mind is more concentrated, how- ever, it starts to be aware faster and sharper. The mind that keeps focus- ing on the breath properly and long enough will eventually be aware of itself. This is what it means when we say the mind “knows.” This is a basic skill that we all can develop if we try. Looking back at the introductory verse, we can conclude that in order to keep our minds on even ground, we must make use of the knowledge from our life. The Buddha teaches that things in life are unstable. We suffer because of our desire to have more or to not have things we do not want. The fundamental realization behind all this is that all things are conditioned. When we practice meditation, it helps to change our reactions to what is happening around us, but most im- portantly, to what is happening in our own minds. At this point we can develop an important quality called equanimity. It is described as a beginning of the ability to let go of many things that have cluttered our minds. By fine-tuning our knowledge we can keep our minds at ease. คุณโยมกิตติ มา Frank นิมนต์พระ สงฆ์ไปฉันเพลที่ ร้านอาหารจีน และดู สถานที่สร้างวัด มีคุณ โยมสมทรง ฟ๊อก ขับ รถพาไป อนุโมทนา สาธุ
  • 6. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7 “อปฺปมตฺโต อยํ คนฺโธ ยฺวายํ ตครจนฺทนี โย จ สีลวตํ คนฺโธ วาติ เทเวสุ อุตฺตโมติ. กลิ่นนี้ คือ กลิ่นกฤษณาและกลิ่นจันทน์ เป็นกลิ่นเพียงเล็กน้อย ส่วนกลิ่นของผู้มีศีลทั้งหลาย เป็นกลิ่นสูงสุด ย่อมหอมฟุ้งไปในเหล่า เทพเจ้าและเหล่ามนุษย์.” เมื่อต้นปีนี้ ข้าพเจ้าต้องเดินทางกลับเมืองไทย เพื่อไปร่วมงาน พระราชทานเพลิงศพของหลวงพ่อที่เคารพนับถือและถือโอกาสเยี่ยม พ่อแม่ญาติพี่น้องด้วย หลังจากเสร็จงานศพแล้ว มีโอกาสไปเยี่ยมพระ เพื่อนที่วัดอาวุธวิกสิตาราม เขตบางพลัด ซึ่งเป็นวัดตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ� เจ้าพระยา เมื่อลงจากรถแท็กซี่เดินเข้าไปภายในวัดซึ่งเต็มไปด้วยหมู่กุฏิ อาคาร ส่วนมากล้วนสร้างด้วยปูนซีเมนต์ พระมหาสัญชัย ชยสิทฺธิโกและ ข้าพเจ้าเดินหากุฏิที่พักของเพื่อน เผอิญเจอศิษย์วัดคนหนึ่งพาไป พอย่าง เท้าเข้าสู่ภายในกำ�แพงกุฏิของท่านก็เสมือนอยู่คนละโลก เมื่อตะกี้เรายืน อยู่ในเมืองหลวง แต่ก้าวอีกไม่กี่ก้าวเหมือนเราอยู่ในป่าอันร่มรื่น ท่านพระมหาอภิชัย อภิชโย อาจารย์ใหญ่ฝ่ายบาลี ได้ออกมา ต้อนรับ พร้อมให้ลูกศิษย์ทำ�น้ำ�ชา-กาแฟถวาย ด้วยไมตรีจิตที่มีต่อกัน จำ� ได้ว่าเจอกันครั้งสุดท้ายที่เมืองธรรมศาลาประเทศอินเดียเมื่อหลายปีก่อน พวกเราเลือกสถานที่สนทนากันภายใต้ร่มไม้ และบริเวณรอบๆ ก็เต็มไป ด้วยไม้ดอกไม้ประดับที่ท่านบรรจงจัดสรรไว้ ส่งกลิ่นหอมตลบอบอวล ไปทั่วบริเวณ ทำ�ให้เกิดความรื่นเริงบันเทิงใจ ในขณะที่จิบน้ำ�ชาสนทนากันนั้น ข้าพเจ้าสังเกตเห็นว่า รอบๆ กุฏิ นอกจากจะเป็นรมนียสถานของคนแล้ว ยังเป็นที่สนใจของประดาสัตว์ ทั้งหลายด้วย ไม่ว่าจะเป็นเจ้าผีเสื้อแสนสวย กระรอกจอมซน พวกปักษี ทั้งหลาย รวมถึงสัตว์อื่นๆ อีกเป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้นึกย้อนกลับมามอง ที่ชีวิตของคนทั้งหลายในโลกนี้เปรียบกับการตกแต่งสวนให้สวยงามที่ ทำ�ให้สัตว์น้อยใหญ่พากันสนใจแวะเวียนมาเยี่ยมเยือนตลอดเวลา ตามคำ�บอกเล่าของท่าน การแต่งสวนรอบกุฏินั้นใช้กำ�ลังทรัพย์ กำ�ลังคน กำ�ลังความคิดมาก และใช้เวลานานในการตกแต่งกว่าจะออก มาสวยงาม ตอนเย็นๆ เราจะเห็นภาพคุ้นตาที่สามเณรรุ่นต่างๆ มาอ่าน หนังสือ ท่องหนังสือ ถ้าเปรียบชีวิตกับสวน ชีวิตคนๆ หนึ่งก็เหมือนสวน หรือพื้นดินผืนหนึ่ง ขึ้นอยู่กับเราที่เป็นเจ้าของว่าจะตกแต่งอย่างไร จะ ปลูกต้นไม้ดอกไม้อะไรหรือจะปล่อยให้วัชพืชขึ้นถ้าเรารู้จักตกแต่งชีวิต ของเราให้งดงาม ด้วยการปลูกสิ่งที่ดีงามลงไปหมั่นดูแลรดน้้าพรวนดิน และถอนวัชพืชที่ไม่ดีออกจากสวนคือชีวิต ความเจริญเติบโตของความ แต่งสวนให้สวย แต่งใจให้งาม ปิยเมธี
  • 7. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9 ดี และความงามจะทำ�ให้ชีวิตของผู้นั้นเป็นประโยชน์ต่อสังคมโลก มีคำ� สุภาษิตฝรั่งว่า Your mind is a Garden Your Thoughts are the seeds, You can grow flowers or You can grow weeds. แปลเป็นภาษากลอนว่า ถ้าเปรียบใจ ทุกคน เฉกเช่นสวน ความคิดล้วน คือเมล็ด ที่เผล็ดผล ปลูกดอกไม้ หรือวัชพืช ในสวนตน อยู่ที่คน ทุกคน เลือกปลูกเองฯ ถ้าเราเป็นเจ้าของสวนจะแต่งสวนคือชีวิตอย่างไรให้สวยงาม ร่มรื่น นี้คือคำ�ถามที่ท้าทายชาวโลก แต่ชาวพุทธมีโชคมหาศาลที่มีหลัก ในการดำ�เนินชีวิตหรือตกแต่งชีวิตที่พระพุทธเจ้าทรงประทานไว้ให้ เรา สามารถแบ่งออกสวนชีวิตออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ประดับตกแต่งด้วยต้นไม้คือศีล ต้นไม้จะให้ออกซิเจน และร่มเงา ทำ�ให้สวนของเราร่มรื่นน่าอยู่ ต้นไม้คือศีลเมื่อเรานำ�มาแต่ง สวนชีวิตจะทำ�ให้เรามีพฤติกรรมที่ดี ไม่เบียดเบียน เบียดบังคนอื่นทาง ด้านชีวิต ทรัพย์สิน ครอบครัว แม้กระทั่งด้วยวาจา รวมถึงไม่เบียดเบียน สุขภาพตนเอง ชีวิตจะร่มรื่นน่าอยู่ คนที่เข้ามาในสวนของเราจะปลอดภัย ไร้กังวล เราควรแต่งชีวิตด้วยการฝึกหัดกายวาจาด้วยศีล 5 ส่วนที่ 2 ประดับตกแต่งด้วยดอกไม้คือสมาธิ ดอกไม้ให้ความ สดชื่นและสวยงามเวลาที่เรามอง ชีวิตของเราจะสดชื่นถ้าเราแต่งด้วย สมาธิ เพราะสมาธิจะทำ�ให้จิตใจของเราสงบ ตั้งมั่น สดชื่น และมีพลังใน การประกอบการงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เราควรแต่งใจของ เราให้สงบด้วยการหมั่นทำ�สมาธิอย่างน้อยวันละ 5-10 นาที ส่วนที่ 3 ประดับตกแต่งด้วยน้ำ�คือปัญญา ในสวนของเราควรจะมี ส่วนหนึ่งที่ขุดสระ หรือทำ�น้ำ�พุ เพราะน้ำ�จะดับความร้อนระอุ ทำ�ให้เย็น สบาย โปร่งโล่ง ปัญญาคือการรู้เท่าทันความเป็นจริงจะทำ�ให้ชีวิตของเรา เบาสบาย ไม่ยึดติด ปฏิบัติต่อสิ่งต่างๆ ด้วยความรู้ความเข้าใจ สวนคือชีวิตของเรา ถ้าออกแบบและแต่งให้ดี จะเป็นสวนที่ สวยงามเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นอย่างแท้จริง มิเสียทีที่ได้เกิดมา ชาติหนึ่ง คุณสิริชัย จิระเชิดชูวงศ์ อาสา ขับรถพาพระมหาปิยะ อุตฺ ตมปญฺโญไปส่งสนามบิน เพื่อเดินทางกลับประเทศไทย ไปร่วมงานพระราชทานเพลิง ศพหลวงพ่อเจ้าอาวาสที่วัด ต้นสังกัด จ.สมุทรปราการ
  • 8. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11 นามสิทธิชาดก............ชื่อนั้นสำ�คัญไฉน ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้า ประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภ พระภิกษุผู้หวังความสำ�เร็จโดยชื่อรูปหนึ่ง ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า... กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ อยู่ในเมืองตักกสิลา มีลูกศิษย์คนหนึ่งชื่อว่า ปาปกะ (นายบาป) เขาคิดว่าชื่อ ของเขาไม่เป็นมงคล จึงเข้าไปหาอาจารย์ และขอให้อาจารย์ตั้งชื่อให้ใหม่ อาจารย์จึงบอกให้ไปเที่ยวแสวงหาชื่อที่ตนเองชอบใจมาแล้วจะทำ�พิธีเปลี่ยน ชื่อให้ เขาได้ออกเดินทางไปแสวงหาชื่อใหม่ จนถึงเมืองหนึ่ง เดินผ่านขบวน ญาติหามศพไปป่าช้า จึงถามถึงชื่อคนตาย พวกญาติจึงบอกชื่อว่า ชีวกะ(นาย บุญรอด)เขาถามว่า"ชื่อชีวกะก็ตายหรือ?"พวกญาติจึงกล่าวว่า"จะชื่ออะไร ๆ ก็ตายทั้งนั้น ชื่อเป็นเพียงบัญญัติสำ�หรับเรียกกันเท่านั้น " พอเดินเข้าไปในเมือง พบเห็นพวกนายทุนกำ�ลังจับนางทาสีเฆี่ยนด้วย เชือกอยู่ จึงถามความนั้นทราบว่านางไม่ยอมให้ดอกเบี้ยจึงถูกลงโทษแทน เพชรจาก......พระไตรปิฎก ถามถึงชื่อนางทาสีนั้น ทราบว่าชื่อนางธนปาลี (นางรวย) จึงถามว่า " ชื่อรวย ยังไม่มีเงินดอกเบี้ยหรือ ? " พวกนายทุนจึงตอบว่า " จะชื่อรวยหรือจน เป็น คนยากจนได้ทั้งนั้น ชื่อเป็นเพียงบัญญัติเรียกกันเท่านั้น " เขาเริ่มรู้สึกเฉยๆ ใน เรื่องชื่อยิ่งขึ้น เขาได้เดินทางออกจากเมืองไป ในระหว่างทางพบคนหลงทางคน หนึ่ง จึงถามชื่อ ทราบว่าชื่อ ปันถกะ(นายชำ�นาญทาง) จึงถามว่า " ขนาดชื่อ ชำ�นาญทางยังหลงทางอยู่หรือ ? " คนหลงทางจึงตอบว่า " จะชื่อชำ�นาญทาง หรือไม่ชำ�นาญทาง ก็มีโอกาสหลงทางได้เท่ากัน เพราะชื่อเป็นบัญญัติสำ�หรับ เรียกกันเท่านั้น " เขาจึงวางเฉยในเรื่องชื่อ เดินทางกลับไปพบอาจารย์ แล้วเล่าเรื่องที่ตน พบเห็นมาให้ฟัง และขอให้ชื่อนายบาปเช่นเดิม อาจารย์จึงกล่าวคาถานี้ว่า " เพระเห็นคนชื่อเป็นได้ตายไป หญิงชื่อรวยกลับตกยาก และคนชื่อว่านักเดินทางแต่กลับหลงทางอยู่ในป่า นายปาปกะจึงได้กลับมา " นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า .........ชื่อนั้นไม่ใช่สิ่งสำ�คัญ พระอาจารย์ U Pu Nar Nanda และลูกศิษย์ 3 ท่าน มา เยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ เพื่อปลูก ไมตรีและดูการบริหารวัดป่า ธรรมรัตน์
  • 9. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13 Puja ca pujaniyanam Etammangalamuttamam Homage to those deserving homage: This is the highest blessing. I'm now going to give a Dhamma talk, discussing the teachings of the Buddha, as an adornment to the mindfulness and discernment of all those gathered here to listen, so that you will take the Dhamma and put it into practice as a way of achieving the benefits that are supposed to come from listening to the Dhamma. Today, Visakha Puja, is an extremely important day in the Bud- dhist tradition, for it was on this day that the Buddha was born, and 35 years later awoke to the unexcelled right self-awakening, and another 45 years later passed away into total nibbana. In each case, these events took place on the full-moon day in May, when the moon is in the Vi- sakha asterism, which is why the day is called Visakha Puja. Every year when this important day comes around again, we Buddhists take the opportunity to pay homage to the Buddha as a way of expressing our gratitude for his goodness. We sacrifice our daily af- fairs to make merit in a skillful way by doing such things as practicing generosity, observing the precepts, and listening to the Dhamma. This is called paying homage to the virtues of the Triple Gem: the Buddha, Dhamma, and Sangha. The Buddha is like our father, while the Dhamma is like our mother — in that it's what gives birth to our knowledge of the Buddha's teachings. At present our father has passed away, leaving only our mother still alive. Both of them have been protecting us, looking after us, so that we've been able to stay free and happy up to the present. We're thus greatly in their debt and should find a way of showing our gratitude in keeping with the fact that we are their children. Ordinarily, when people's parents die, they have to cry and la- ment, wear black, etc., as a way of showing their mourning. On Visakha Puja — which is the anniversary of the day on which our father, the Buddha, passed away — we show our mourning too, but we do it in a different way. Instead of crying, we chant the passages reflecting on the virtues of the Buddha, Dhamma, and Sangha. Instead of dressing up in black, we take off our pretty jewels, go without perfume and cologne, and dress very simply. As for the comfortable beds and mattresses on which we normally lie, we abstain from them. Instead of eating three or four times a day, as we normally like to do, we cut back to only two times or one. We have to give up our habitual pleasures if we're going to show our mourning for the Buddha — our father — in a sincere and genuine way. In addition to this, we bring flowers, candles, and incense to of- fer in homage to the Buddha, Dhamma, and Sangha. This is called ami- sa-puja, or material homage. This is a form of practice on the external level — a matter of our words and deeds. It comes under the headings of generosity and virtue, but doesn't count as the highest form of hom- age. There's still another level of homage — patipatti-puja, or homage through the practice — which the Buddha said was supreme: i.e., medi- tation, or the development of the mind so that it can stand firmly in its own inner goodness, independent of any and all outside objects. This is the crucial point that the Buddha wanted us to focus on as much as pos- sible, for this kind of practice was what enabled him to reach the high- est attainment, becoming a Rightly Self-awakened Buddha, and enabled Visakha Puja by Ajaan Lee Dhammadharo translated from the Thai by Thanissaro Bhikkhu
  • 10. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15 many of his noble disciples to become arahants as well. So we should all take an interest and set our minds on following their example, as a way of following the footsteps of our father and mother. In this way we can be called their grateful, loyal heirs, because we listen respectfully to our parents' teachings and put them into practice. The verse from the Mangala Sutta that I quoted at the beginning of the talk, Puja ca pujaniyanam etammangalamuttamam, means "Hom- age to those deserving homage: This is the highest blessing." There are two kinds of homage, as we've already mentioned: material homage and homage through the practice.And along with these two kinds of homage, people aim their hopes at two kinds of happiness. Some of them practice for the sake of continuing in the cycle of death and rebirth, for the sake of worldly happiness. This kind of practice is called vattagamini-kusala, or skillfulness leading into the cycle. For instance, they observe the pre- cepts so that they'll be reborn as beautiful or handsome human beings, or as devas in the heavenly realms. They practice generosity so that they won't have to be poor, so that they can be reborn wealthy, as bankers or kings. This kind of skillfulness goes only as far as the qualifications for human or heavenly rebirths. It keeps spinning around in the world with- out ever getting anywhere at all. The other reason that people can have for paying homage is so that they will gain release from suffering. They don't want to keep spin- ning through death and rebirth in the world. This is called vivattagamini- kusala, skillfulness leading out of the cycle. In both kinds of practice, the aim is at happiness, but one kind of happiness is the pleasure found in the world, and the other is the happi- ness that lies above and beyond the world. When we pay homage to the Buddha, Dhamma, and Sangha, it's not the case that we have to take the results of our practice and try to push the Triple Gem any higher. Actu- ally, what we're doing is to give rise to goodness that will benefit our- selves. So in searching for goodness for our own sakes, we have to keep yet another point in mind, as the Buddha taught us: Asevana ca balanam panditanañca sevana, which means, "Don't associate with fools. Associ- ate only with wise people." Only then will we be safe and happy. "Fools" here means people whose minds and actions are shoddy and evil. They behave shoddily in their actions — killing, stealing, hav- ing illicit sex — and shoddily in their words: telling lies, creating dis- harmony, deceiving other people. In other words, they act as enemies to the society of good people at large. That's what we mean by fools. If you associate with people of this sort, it's as if you're letting them pull you into a cave where there's nothing but darkness. The deeper you go, the darker it gets, to the point where you can't see any light at all. There's no way out. The more you associate with fools, the stupider you get, and you find yourself slipping into ways that lead to nothing but pain and suffering. But if you associate with wise people and sages, they'll bring you back out into the light, so that you'll be able to become more intel- ligent. You'll have the eyes to see what's good, what's bad, what's right, what's wrong. You'll be able to help yourself gain freedom from suffer- ing and turmoil, and will meet with nothing but happiness, progress, and peace. This is why we're taught to associate only with good people and to avoid associating with bad. If we associate with bad people, we'll meet up with trouble and pain. If we associate with good people, we'll meet up with happiness. This is a way of giving a protective blessing to ourselves. This sort of protective blessing is something we can provide for ourselves at any time, at any place at all. We'll gain protection wherever, whenever, we provide it. For this reason we should provide a protective blessing for ourselves at all times and all places for the sake of our own security and well-being. As for things deserving homage: whether they're the sorts of things that deserve material homage or homage through the practice, the act of homage provides a protective blessing in the same way. It pro- vides happiness in the same way. The happiness that lies in the world, that depends on people and external things, has to suffer death and re- birth; but the happiness of the Dhamma is an internal happiness that depends entirely on the mind. It's a release from suffering and stress that doesn't require us to return to any more death and rebirth in the world ever again. These two forms of happiness come from material homage and homage through the practice, things that can either make us come back to be reborn or free us from having to be reborn. The difference lies in one little thing: whether we want to be reborn or not. If we create long, drawn-out causes, the results will have to be long and drawn-out as well. If we create short causes, the results will have to be short, too. Long, drawn-out results are those that involve death and rebirth without end. This refers to the mind whose defilements haven't been polished away, the mind that has cravings and attachments
  • 11. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17 fastened on the good and bad actions of people and things in the world. If people die when their minds are like this, they have to come back and be reborn in the world. To create short causes, though, means to cut through and destroy the process of becoming and birth so as never to give rise to the process again. This refers to the mind whose inner defilements have been polished off and washed away. This comes from examining the faults and forms of darkness that arise in our own hearts, keeping in mind the virtues of the Buddha, Dhamma, and Sangha, or any of the 40 meditation topics that are set out in the texts, to the point where we can see through all mental fabrications in line with their nature as events. In other words, we see them as arising, remaining, and then disintegrating. We keep the range of our awareness short and close to home — our own body, from head to foot — without latching onto any of the good or bad actions of anyone or anything in the world. We look for a solid foundation for the mind, so that it can stay fixed and secure entirely within itself, with no attachment at all, even for the body. When we've reached this state, then when we die we won't have to come swim- ming back to be reborn in the world ever again. Whether we give material homage or homage through the prac- tice, if we pull the focal point of the mind out and place it in our actions — i.e., if we get attached to our good actions, as in practicing virtue, generosity, etc. — then that's called vattagamini-kusala, skillfulness leading into the cycle. The mind isn't free. It has to become the slave of this or that thing, this or that action, this or that preoccupation. This is a long, drawn-out cause that will force us to come back and be reborn. But if we take the results of our good actions in terms of virtue, generos- ity, etc., and bring them into the mind's inner foundation, so that they're stashed away in the mind, without letting the mind run out after external causes, this is going to help cut down on our states of becoming and birth so that eventually we don't have to come back and be reborn. This is vivattagamini-kusala, skillfulness leading out of the cycle. This is the difference between these two forms of skillfulness. The human mind is like a bael fruit. When it's fully ripe it can no longer stay on the tree. It has to fall off, hit the ground, and eventually decay into the soil. Then, when it's been exposed to the right amount of air and water, the seed gradually sprouts again into a trunk with branch- es, flowers, and fruit containing all its ancestry in the seeds. Eventually the fruit falls to the ground and sprouts as yet another tree. It keeps going around and around in this way, without ever getting annihilated. If we don't destroy the juices in the seeds that allow them to germinate, they'll have to keep their genetic inheritance alive for an eon. If we want to gain release from suffering and stress, we have to make our minds shoot out of the world, instead of letting them fall back into the world the way bael fruits do. When the mind shoots out of the world, it will find its landing spot in a place that won't let it come back and be reborn. It will stay there aloft in total freedom, free from attach- ment of any sort. Freedom here means sovereignty. The mind is sovereign within itself. In charge of itself. It doesn't have to depend on anyone, and doesn't have to fall slave to anything at all. Within ourselves we find the mind paired with the body. The body isn't all that important, because it doesn't last. When it dies, the various elements — earth, water, wind, and fire — fall apart and return to their original condition. The mind, though, is very important, because it lasts. It's the truly elemental thing residing in the body. It's what gives rise to states of becoming and birth. It's what ex- periences pleasure and pain. It doesn't disintegrate along with the body. It remains in existence, but as something amazing that can't be seen. It's like the flame of a lit candle: When the candle goes out, the fire element is still there, but it doesn't give off any light. Only when we light a new candle will the fire appear and give light again. When we take the body — composed of elements, aggregates, sense media, and its 32 parts — and the mind — or awareness itself — and simplify them to their most basic terms, we're left with name and form (nama, rupa). Form is another term for the body made up of the four elements. Name is a term for the mind residing in the body, the ele- ment that creates the body. If we want to cut back on states of becoming and birth, we should take as our frame of reference just these two things — name and form — as they're experienced in the present. How does form — the body — stay alive? It stays alive because of the breath. Thus the breath is the most important thing in life. As soon as the breath stops, the body has to die. If the breath comes in without going out, we have to die. If it goes out without coming back in, we have to die. So think about the breath in this way with every moment, at all times, regardless of whether you're sitting, standing, walking, or lying
  • 12. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 19 down. Don't let the body breathe without your mind getting some good use out of it. A person who doesn't know his or her own breath is said to be dead. Heedless. Lacking in mindfulness. As the Buddha said, heed- lessness is the path to danger, to death. We can't let our minds run out and get stuck on external preoccupations, i.e., thoughts of past or future, whether they're good or bad. We have to keep our awareness right in the present, at the breath coming in and out. This is called singleness of preoccupation (ekaggatarammana). We can't let the mind slip off into any other thoughts or preoccupations at all. Our mindfulness has to be firmly established in our awareness of the present. The mind will then be able to develop strength, able to withstand any preoccupations that come striking against it, giving rise to feelings of good, bad, liking, and disliking — the hindrances that would defile the mind. We have to keep our awareness exclusively in the present, alert and quick to sense the arising and passing away of preoccupations, let- ting go of both good and bad preoccupations without getting attached to them. When the mind stays firmly focused in its one preoccupation — the breath — it will give rise to concentration, to the point where the eye of inner knowledge appears. For example, it might give rise to powers of clairvoyance or clairaudience, enabling us to see events past and future, near and far. Or it might give rise to knowledge of previous lives, so that we can know how we and other beings have been born, died, come, and gone, and how all these things have come about from good and bad ac- tions. This will give rise to a sense of dismay and disenchantment with states of becoming and birth, and will dissuade us from ever wanting to create bad kamma ever again. This kind of disenchantment is something useful and good, with- out any drawbacks. It's not the same thing as its near cousin, weariness. Weariness is what happens when a person, say, eats today to the point of getting so full that the thought of eating any more makes him weary. But tomorrow, his weariness will wear off and he'll feel like eating again. Disenchantment, though, doesn't wear off. You'll never again see any pleasure in the objects of your disenchantment. You see birth, aging, illness, and death as stress and suffering, and so you don't ever want to give rise to the conditions that will force you to come back and undergo birth, aging, illness, and death ever again. The important factors for anyone practicing to gain release from all stress and suffering are persistence and endurance, for every kind of goodness has to have obstacles blocking the way, always ready to de- stroy it. Even when the Buddha himself was putting his effort into the practice, the armies of Mara were right on his heels, pestering him all the time, trying to keep him from attaining his goal. Still, he never wa- vered, never got discouraged, never abandoned his efforts. He took his perfection of truthfulness and used it to drive away the forces of Mara until they were utterly defeated. He was willing to put his life on the line in order to do battle with the forces of Mara, his heart solid, unflinch- ing, and brave. This was why he was eventually able to attain a glori- ous victory, realizing the unexcelled right self-awakening, becoming our Buddha. This is an important example that he as our "father" set for his descendants to see and to take to heart. So when we're intent on training our minds to be good, there are bound to be obstacles — the forces of Mara — just as in the case of the Buddha, but we simply have to slash our way through them, using our powers of endurance and the full extent of our abilities to fight them off. It's only normal that when we have something good, there are going to be other people who want what we've got, in the same way that sweet fruit tends to have worms and insects trying to eat it. A person walking along the road empty-handed doesn't attract anyone's attention, but if we're carrying something of value, there are sure to be others who will want what we've got, and will even try to steal it from us. If we're car- rying food in our hand, dogs or cats will try to snatch it. But if we don't have any food in our hand, they won't pounce on us. It's the same way when we practice. When we do good, we have to contend with obstacles if we want to succeed. We have to make our hearts hard and solid like diamond or rock, which don't burn when you try to set them on fire. Even when they get smashed, the pieces maintain their hardness as diamond and rock. The Buddha made his heart so hard and solid that when his body was cremated, parts of it didn't burn and still remain as relics for us to admire even today. This was through the power of his purity and truthfulness. So we should set our minds on purifying our bodies and minds until they become so truly elemental that fire won't burn them, just like the Buddha's relics. Even if we can't get them to be that hard, at least we should make them like tamarind seeds in their casing: even if insects bore through the casing and eat all the flesh of the tamarind fruit, they can't do anything to the seeds, which maintain their hardness as always.
  • 13. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21 So, to summarize: Cutting down on states of becoming and birth means retracting our awareness inward. We have to take the mind's foundation and plant it firmly in the body, without getting attached to any outside activity at all. We have to let go of every thing of every sort that follows the laws of events, arising and passing away in line with its nature. We do good, but don't let the mind go running out after the good. We have to let the results of our goodness come running into the mind. We pull in every thing of every sort to stash it away in our mind, and don't let the mind get scattered outside, getting happy or sad over the results of its actions or anything else external. We do this in the same way that the bael fruit keeps the trunk, branches, flowers, and leaves of the bael tree curled up inside the seed. If we can then prevent outside conditions of soil and water from combining with the inside potential of the seed, it won't be able to unfurl into a new bael tree. Whoever practices in the way I've discussed here is paying hom- age to our lord Buddha in the correct way. Such a person will be en- dowed with blessings providing happiness throughout time. Here I've discussed some verses from the Mangala Sutta as a way of developing our discernment, so that we will take these lessons and put them into practice as a way of paying homage to the Buddha, Dhamma, and Sangha on this Visakha Puja day. That's enough for now, so I'll stop here. Evam. ไม่ใช่เพียงแค่"ส้ม"แต่คือ"ผลไม้ตระกูลส้ม"(Citrus)ซึ่งหมายถึง ผลไม้อื่น ๆ อีกหลายชนิด เช่น มะนาว เลมอน มะกรูด ส้มโอ เกรปฟรุต ฯลฯ มาดูประโยชน์ที่เราอาจจะไม่เคยรู้มาก่อน บำ�รุงผิว ส้มเป็นผลไม้นางเอก เพราะพืชผลในครอบครัวส้มจะมีสารไฟโต นิวเทรียนต์มากมาย ที่ทำ�หน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ รวมถึงสารกลุ่ม ฟลาวาโนนส์ สารแอนโธไชยานินส์ สารโพลีฟีนอลส์ และวิตามินซี ที่ ช่วยทำ�ให้ผิวสวยกระจ่างใสค่ะ เสริมสร้างกระดูก เชื่อหรือไม่ว่าน้ำ�ส้มสามารถให้แคลเซียม และวิตามินดีแก่ร่างกาย ได้ดีพอๆกับนมและแคลเซียมจะไปเสริมสร้างกระดูกแต่ถ้าไม่มีวิตามิน ดี ร่างกายจะไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมจากอาหารได้ นอกจากนี้ น้ำ�ส้ม ข้อดี ของผลไม้สารพัดส้ม ร้านอาหารไทย เอราวัณทำ�บุญครบ รอบ 13 ปีของการ เปิดร้านด้วยการ นิมนต์พระสงฆ์เจริญ พระพุทธมนต์ฉันเพล 13 Anniversary of Thai Erawan Restau- rant, Virginia.
  • 14. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23 ยังมีวิตามินซี ซึ่งจะช่วยเพิ่มกระบวนการดังกล่าวอีกด้วย แต่จำ�ไว้ว่า กรด อะซีติกในผลไม้จำ�พวกนี้อาจทำ�ลายสารเคลือบฟันได้ จึงไม่ควรแปรงฟัน ภายในหนึ่งชั่วโมงหลังจากดื่มน้ำ�ผลไม้ ปกป้องหัวใจ เปลือกของผลไม้ตระกูลส้มมีสารมหัศจรรย์อยู่มากมาย และหนึ่ง ในนั้นคือการ Polymethoxylated Flavones (PMFs) และสาร D-Limonene ซึ่งจะช่วยลดคอเลสเตอรอล ปรับระดับน้ำ�ตาลในเลือด และกระตุ้นการก รองสารพิษของตับ นอกจากนี้ การศึกษายังชี้ว่า เม็ดสีในส้มเขียวหวาน จะช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดเลว (LDL) โดยไม่ส่งผลต่อคอเลสเตอรอล ชนิดดี (HDL) แล้วก็อย่าเอ็ดไปนะคะ ความจริงแล้วเปลือกส้มอาจลด คอเลสเตอรอลได้ดีกว่ายาปฏิชีวนะบางตัว ที่ขายกันตามท้องตลาดเสียอีก ขับง่ายถ่ายคล่อง ตำ�รับจีนมักจะเสิร์ฟเปลือกส้มคู่กับอาหาร เนื้อสัตว์ เพื่อย่อย อาหารที่มีไขมันสูง บางตำ�ราแนะนำ�ให้เริ่มวันใหม่ด้วยน้ำ�เลมอน 12 ออนซ์ ผสมกับน้ำ�กรองแล้วที่อุณหภูมิปกติ จะช่วยชะล้างของเสียใน ระบบย่อยอาหารและลำ�ไส้ได้ เพราะมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ ดูแลสายตา ผลไม้ตระกูลส้มอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งจะช่วย ปกป้องแก้วตาจากโรคต้อกระจก และการศึกษายังพบว่าการบริโภค วิตามินอีและซีในปริมาณมาก จะช่วยป้องกันโรคต้อกระจกได้ แม้แต่ใน กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคนี้สูง อารมณ์ดี๊-ดี จะทานก็ได้ จะดมก็ดี เพราะส้มมีสารโฟเลต ซึ่งจะช่วยให้สมอง หลั่งฮอร์โมนซีโรโทนิน อันเป็นสารแห่งความสุข กลิ่นของผลไม้ ครอบครัวนี้ก็สามารถทำ�ให้เราเบิกบานได้เช่นกัน ลองแต้มน้ำ�มันหอมที่ สกัดจากผลไม้เหล่านี้บริเวณท้ายทอยสิคะ รับรองสดชื่นแน่นอน ที่มา http://www.oknation.net/blog/kanis/2013/04/14/entry-1 นักศึกษาสนใจสมาธิ Students interested in meditation. พุทธศาสนิกชนพาแฟนมา นั่งสมาธิ Buddhists and husbands love meditation .
  • 15. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25 ***บทเรียนชีวิตจากเด็กหญิง*** คิม ฟุค คือเด็กหญิงชาวเวียดนามใต้(ไม่ใส่เสื้อผ้า)คนนั้นซึ่งช่าง ภาพอเมริกันได้ถ่ายไว้ขณะที่เธอและเพื่อนบ้านกำ�ลังแตกตื่นหนีภัย แม้ เธอจะรอดตายจากระเบิดนาปาล์มที่ทิ้งลงหมู่บ้านของเธอ แต่ไฟก็ได้เผาลวกผิวหนังของเธอถึง 65 เปอร์เซ็นต์ เธอต้องรักษาตัวอยู่ ในโรงพยาบาลถึง 14 เดือน และผ่านการผ่าตัดถึง 17 ครั้ง กว่าจะหายเป็น ปรกติ เธอยังโชคดีเมื่อเทียบกับลูกพี่ลูกน้องอีก 2 คนซึ่งตายเพราะทนพิษ บาดแผลไม่ไหว นั่นคือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2515 เมื่อเวียดนามกลาย เป็นคอมมิวนิสต์ 3 ปี ต่อมาก็ไม่มีข่าวคราวของเธอปรากฏสู่โลกภายนอก อีกเลย แต่แล้ววันหนึ่งในปี 2539 คิม ฟุค ก็ได้มาปรากฏตัวอยู่ต่อหน้า ชาวอเมริกันซึ่งเคยผ่านสมรภูมิเวียดนาม เธอได้รับเชิญให้มาพูดเนื่องใน โอกาสวันทหารผ่านศึก ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. การได้มาเผชิญหน้ากับกลุ่มคนซึ่งครั้งหนึ่งเคยมาทำ�ลายบ้านเกิด เมืองนอนของเธอ ทำ�ให้ญาติพี่น้องของเธอต้องตาย และเกือบฆ่าเธอให้ ตายไปด้วยนั้น ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ทำ�ใจได้ง่ายนักแต่เธอมาก็เพื่อจะบอกให้ พวกเรารู้ว่า สงครามนั้นได้ก่อความทุกข์ทรมานแก่ผู้คนอย่างไรบ้าง หลังจากที่เล่าถึงประสบการณ์อันเจ็บปวดของเธอแล้ว เธอก็ได้ เผยความในใจว่า มีเรื่องหนึ่งที่เธออยากจะบอกต่อหน้านักบินที่ทิ้งระเบิด ใส่หมู่บ้านของเธอ พูดมาถึงตรงนี้ก็มีคนส่งข้อความมาบอกว่าคนที่เธอ ต้องการพบกำ�ลังนั่งอยู่ในห้องประชุมนี้ เธอจึงเผยความในใจออกมาว่า "ฉันอยากบอกเขาว่า เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์ได้ แต่เรา ควรพยายามทำ�สิ่งดี ๆ เพื่อส่งเสริมสันติภาพทั้งในปัจจุบันและอนาคต" เมื่อเธอบรรยายเสร็จ ลงมาจากเวที อดีตนักบินที่เกือบฆ่าเธอก็มายืนอยู่ เบื้องหน้าเธอ เขามิใช่ทหารอีกต่อไปแล้ว แต่เป็นศาสนาจารย์ประจำ� โบสถ์แห่งหนึ่ง เขาพูดด้วยสีหน้าเจ็บปวดว่า "ผมขอโทษ ผมขอโทษจริง ๆ" คิมเข้าไปโอบกอดเขาแล้วตอบว่า "ไม่เป็นไร ฉันให้อภัย ฉันให้ อภัย" ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่เราจะให้อภัย โดยเฉพาะกับคนที่ทำ�ร้ายเราปาง ตาย คิม ฟุค เล่าว่าเหตุการณ์ครั้งนั้นสร้างความทุกข์ทรมานแก่เธอทั้ง กายและใจ จนเธอเองก็ไม่รู้ว่าจะมีชีวิตอยู่ต่อไปได้อย่างไร แต่แล้วเธอก็ พบว่าสิ่งที่ทำ�ร้ายเธอจริง ๆ มิใช่ใครที่ไหน หากได้แก่ความเกลียดที่ฝัง แน่นในใจเธอนั่นเอง " ฉันพบว่าการบ่มเพาะความเกลียดเอาไว้สามารถฆ่าฉันได้" เธอพยายามสวดมนต์และแผ่เมตตาให้ศัตรู และแก่คนที่ก่อความ ทุกข์ให้เธอ แล้วเธอก็พบว่า " หัวใจฉันมีความอ่อนโยนมากขึ้น เรื่อย ๆ เดี๋ยวนี้ฉันสามารถอยู่ ไม่เป็นไร ฉันให้อภัย
  • 16. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27 ได้โดยไม่ต้องเกลียด" เราไม่อาจควบคุมกำ�กับผู้คนให้ทำ�ดีหรือไม่ทำ�ชั่วกับเราได้ แต่เรา สามารถควบคุมกำ�กับจิตใจของเราได้เราไม่อาจเลือกได้ว่ารอบตัวเราต้อง มีแต่คนน่ารักพูดจาอ่อนหวาน แต่เราสามารถเลือกได้ว่าจะทำ�ใจอย่างไร เมื่อประสบกับสิ่งไม่พึงปรารถนา คิม ฟุคได้เรียนรู้จากประสบการณ์ของตัวเองว่า "ฉันน่าจะโกรธ แต่ฉันเลือกอีกทางหนึ่งแล้วชีวิตของฉันก็ดีขึ้น" บทเรียนของ คิม ฟุค คือ ในเมื่อเราเปลี่ยนแปลงอดีตไม่ได้ เราจึง ไม่ควรปักใจอยู่กับอดีตแต่เราสามารถเรียนรู้จากอดีตเพื่อทำ� ปัจจุบันและ อนาคตให้ดีขึ้นได้ บทเรียนจากอดีตอย่างหนึ่งที่เธอได้เรียนรู้มา ก็คือ "การอยู่กับความโกรธ ความเกลียด และความขมขื่นนั้น ทำ�ให้ฉัน เห็นคุณค่าของการให้อภัย" ที่มา : board.agalico.com/by สาระแห่งสุขภาพ สวดมนต์ข้ามปีทำ�ความดีข้ามทวีป คืนวันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม 2555 จากเวลาประมาณ 19.00 น.จนถึง วันใหม่ 1 มกราคม 2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ คือ พระมหาพิรุฬห์ พทฺธ สีโล, พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ พร้อมด้วย พุทธบริษัทชาวเมืองพิทส์เบิร์กและเมืองไกล้เคืองประมาณ70ท่านพร้อมใจ กันสวดมนต์ สาธยายบทพุทธคุณ108 จบ เจริญสมาธิภาวนา ร่วมแผ่เมตตา ฟังบรรยายธรรมภาคภาษาอังกฤษโดยพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ฉายวีดิโอ การเจริญวิปัสสนาภาคภาษาอังกฤษ พระสงฆ์ทั้ง 3 รูป ให้พรญาติโยมและ แจกชีดีวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ภาคภาษาอังกฤษ ผูกข้อมือ พรมน้ำ� พระพุทธมนต์แก่ผู้ร่วมพิธีสวดมนต์ข้ามปีทำ�ความดีข้ามทวีป ทำ�บุญครบรอบ 13 ปี ร้านอาหารไทยเอราวัณ มีคุณเบญจมาศ บุญเสน่ห์ และทีมงานมีคุณสุ พัฒน์ อินทร์สามรัตน์ เป็นต้น ทำ�บุญครบรอบ 13 ปีของร้าน โดยนิมนต์พระ สงฆ์จากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และวัดป่าธรรมรัตน์ เจริญพระพุทธมนต์ และฉันภัตตาหารเพล มีคุณโยมจำ�ลอง แม็คคาซี่ และโยมสมทรง ฟ๊อก ขับรถ สรุปข่าว เดือนมกราคม- กุมภาพันธ์-มีนาคม พระมหาดร.พิรุฬห์ พทฺธสีโล เดินทางกลับประเทศไทย เพื่อกลับ ไปปฏิบัติศาสนกิจที่ประเทศไทยต่อไป ขอกราบขอบพระคุณพระอาจารย์ที่ เมตตามาโปรดชาวเมืองพิทส์เบิร์ก
  • 17. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29 พาไปถึงเวอร์จีเนีย ชาวอเมริกันสนใจเจริญสมาธิภาวนา 17 มกราคม - 25 มีนาคม คุณทอมชาวอเมริกันผู้อาศัยในเมืองพิทส์ เบิร์กเดินทางจากบ้านด้วยรถโดยสารประจำ�ทางมาถึงวัดเวลา 16.00 น. ฟัง แนวทางการปฏิบัติแนะนำ�โดยพระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และวีดีโอ แนวทางการเจริญสมาธิภาวนาของท่านโกเอ็นก้า เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ทุกวัน จากนั้นก็เจริญสมาธิภาวนาเป็นเวลา 1 ชั่วโมง และทำ�วัตรเย็นเวลา 18.00 น. ถึง 18.30 น. หลังจากนั้นก็สนทนาธรรมกัน จากที่เคยนั่งได้ครั้งละ 15 นาที ในช่วงแรกๆ พอปฏิบัติมาได้สักอาทิตย์ก็สามารถนั่งได้นานถึง1 ชั่วโมง จาก การทดสอบอารมณ์และเฝ้าดู สามารถนั่งสมาธิภาวนาได้อย่างดีมากเลยทีเดียว และยังสนใจเรียนรู้ธรรมะควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะความหมายของบทสวด แต่ละพระสูตรช่วงทำ�วัตรเย็น พบเพื่อพราก จากเพื่อพบไหม่ วาสนานำ�ชัก มั่นคงต่อความดี - วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พุทธศาสนิกชนพร้อมใจกันทำ�บุญและกราบ ลาท่านพระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ที่จะเดิน ทางกลับไทยในวันต่อมา วันนี้แม้ไม่เห็นโลงศพ แต่พระก็ได้เห็นน้ำ�ตาโยมผู้ อาลัยอาวรณ์ในการเดินทางกลับประเทศไทย ญาติโยมก็ร่วมกันขอขมาท่าน ทั้งสองหากการกระทำ�ใดๆ ผิดพลาดพลั้งเผลอต่อท่าน ขอให้ท่านได้ยกโทษ ให้และขอโอกาสอวยพรให้ท่านเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ - วันที่ 20 มกราคม พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ เดินทางไปส่งท่านพระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล เดินทางกลับสู่ ประเทศไทย หลังจากที่ท่านได้มาจำ�พรรษาปฏิบัติศาสนกิจเป็นเวลาถึง 6 เดือน ที่สนามบินเมืองพิทส์เบิร์ก ขออนุโมทนาบุญกับคุณโยมสิริชัย จิระเชิด ชูวงศ์ พลขับรับส่งพระคุณเจ้าถึงจุดหมายปลายทาง - วันที่ 21 มกราคม พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ เดินทางไปส่งพระ มหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ที่สนามบินพิทส์เบิร์ก เดินทางกลับสู่ประเทศไทยเพื่อ ไปร่วมงานพระราชทานเพลิงอดีตเจ้าอาวาสวัดโปรดเกษเชฏฐาราม จังหวัด สมุทรปราการ ชึ่งเป็นวัดสังกัดท่าน ขออนุโมทนาบุญกับคุณโยมสิริชัย จิระ เชิดชูวงศ์ พลขับรับส่งพระถึงจุดหมายปลายทาง ฝากวัดป่าธรรมรัตน์ให้ท่า นพระมหาสายันต์และญาติโยมดูแลต่อไป คณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนวัดป่าธรรมรัตน์ น้อมดอกบัวทั้งกอมาบูชาครู ผู้มั่นอยู่ในบวรพระพุทธศาสนา ขอคุณพระธรรมรัตน์หนุนนำ�พา ให้ครูบาเบิกบานสำ�ราญธรรม... ตลอดกาลนาน วันเสาร์-อาทิตย์ที่ 2 - 3 กุมภาพันธ์ 2556 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ ในนามคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และตัวแทนพุทธศาสนิกชนชาวเมืองพิทส์ เบิร์ก โดยมีโยมสมทรง ฟ๊อก, โยมจำ�ลอง(น้อย) แมคคาชี่, โยมจิม(Jim) และ โยมแหม่ม เบอมิ่งแฮม เดินทางไปร่วมถวายมุทิตาสักการะเเด่ ดร.พระมหา ถนัด อตฺถจารี เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในอเมริกา, ประธานอำ�นวยการ วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และประธานอำ�นวยการสร้างวัดป่าธรรมรัตน์ ใน โอกาสที่ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบเท่า ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษในพระราชทินนามที่ "พระครูสิริ อรรถวิเทศ" พิธีมุทิตาสักการะจัดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2556 ณ วัด ไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. นำ�ความปลื้มปีติยินดีแด่ศิษยานุศิษย์มาโดยทั่วกัน ไม่เพียงเว้นชั่ว ทำ�ความดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องชำ�ระใจตนเองให้สะอาด บริสุทธิ์ด้วย วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 ตรงกับวันมาฆบูชา เป็นวันสำ�คัญ ทางพระพุทธศาสานาอีกวันหนึ่ง ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
  • 18. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana30 31 ทางวัดก็จัดให้มีการทำ�บุญปฏิบัติธรรม ฟังธรรมเทศนาสองภาษาไทย-อังกฤษ แสดงธรรมโดยพระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ มีพุทธศาสนิกชนชาวเมืองพิทส์ เบิร์ก และเมืองใกล้เคียงชาวพุทธไทย เขมร ลาว และนานาชาติ ร่วมงานไม่ ต่ำ�กว่า 60 ท่าน ในงานนี้มีนักเรียนนักศึกษาไทยมาร่วมจำ�นวนมาก ญาติธรรม จากเมืองโอไฮโอ โยมประนอม(แมว) จาบกุล, โยม Sumalee Charoentra และ คณะประมาณ 10 ท่าน ญาติโยมต่างอิ่มบุญอย่างทั่วหน้า ขออนุโมทนาบุญกับ ทุกท่าน วัดนานาชาติเยี่ยมวัด วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม Dhamma Gone Yee Buddhist Temple หรือวัด ไตรรัตนาราม วัดพม่าในเมืองพิทส์เบิร์ก นำ�โดยพระอาจารย์ U Pu Nar Nanda และลูกศิษย์ 3 ท่าน มาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ เพื่อปลูกไมตรีและดูการบริหาร วัดป่าธรรมรัตน์ ทางวัดได้ถวายหนังสือทำ�วัตรเช้า-เย็นฉบับภาษาอังกฤษ สบู่ ยาสีฟัน ผ้าเช็ดตัว ยารักษาโรค และน้ำ�ดื่ม แก่ท่าน ขอให้ทุกๆ ท่านร่วม อนุโมทนา เจริญจิตภาวนาสั่งสมบุญบารมี โยมเก๋ วระญา แซ่เตียว และสามี คุณจอร์น แมชเวล มาทำ�บุญนั่งสมาธิ ที่วัด หลังจากตั้งความปรารถนาอยากมีลูกสืบสกุล ตั้งจิตบริสุทธิ์ขอความ เมตตาต่อพระพุทธเมตตาเหรียญพระพุทธรูปจากอินเดียที่พระอาจารย์วัดป่า ธรรมรัตน์มอบให้เป็นที่สักการะบูชา ก็ได้ดั่งใจหวังมีครรภ์มาหลายเดือน พร้อมกันนี้โยมหลินและโยมTim ก็มาทำ�บุญเจริญสมาธิภาวนาอุทิศส่วนส่วน กุศลไปให้แด่โยมแม่ผู้บังเกิดเกล้า ทำ�บุญวันเกิด เสริมสร้างบารมี 30 มีนาคม 2556 โยมวิเชียร น้ำ�ใส นิมนต์พระสงฆ์ และเชิญญาติพี่ น้องผองเพื่อน เลี้ยงฉลองทำ�บุญครบรอบวันเกิดในวันที่ 26 มีนาคม ที่ผ่านมา แต่โยมน้อยต้องเดินทางกลับไปประเทศไทยในวันที่ 9 เมษายน ที่จะถึง จึงขอ อนุโมทนา ขอให้ประสบแด่ความสุข ความเจริญ สุขภาพแข็งแรง มั่งมีศรีสุข ตลอดไป สนใจพุทธศาสนา วันที่ 20 มีนาคม 2556 โยมมด พาสามีเข้าวัดปฏิบัติธรรม สนทนา ธรรม นำ�ความรู้ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน อนุโมทนาสาธุ นักศึกษาต่างชาติ-ไทย สนใจสมาธิ วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม 2556 เมืองพิทส์เบิร์กเป็นเมืองที่มีความสำ�คัญ ทางด้านการศึกษามีนักศึกษาจากประเทศไทยและอีกหลายประเทศมาเรียน ที่นี้ พอมีเวลาว่างก็ไม่ลืมวัดวาศาสนา จะพากันมานั่งสมาธิปฎิบัติธรรมตาม หลักพุทธศาสนาไม่เคยขาด และบางครั้งก็พาเพื่อนชาวต่างชาติที่มีความสนใจ มาศึกษาปฏิบัติธรรมด้วย ขออนุโมทนา สาธุ คุณทอมชาวอเมริกันสนใจศึกษาปฏิบัติธรรม
  • 19. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana32 33 ยุงกัดปัญหาระดับชาติ อยู่บ้านหรือไปไหนก็ต้องเจอ แต่ถ้าใครไม่ อยากตบ ไม่อยากฆ่าสัตว์ มีวิธีธรรมชาติในการไล่ยุงมาฝาก มนุษย์ดึงดูดยุงให้เข้ามาหาจากคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา จากลมหายใจ กลิ่นเหงื่อ กลิ่นตัว และความร้อนจากร่างกาย คนเราไม่สามารถ กำ�จัดยุงให้หมดไปจากโลกนี้ได้ และคนบางคนก็มีสารเคมีในร่างกายไม่ เหมือนกัน ทำ�ให้สูตรการไล่ยุงสูตรหนึ่งอาจใช้ไม่ได้ผลกับทุกคน วันนี้เราเลย มีเคล็ดลับไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติที่หลากหลายมาฝากไปให้เลือกใช้กัน - วานิลลา ให้ใช้ทาที่จุดชีพจร หรือถ้ามีปริมาณมากให้ทาทั่วผิวหนัง และแต้มลงบนเสื้อผ้า จะเลือกใช้แบบเข้มข้น หรือผสมน้ำ�ก่อนแล้วฉีดบนผิว ก็ได้ - กระเทียม เวลาไปแค้มป์ปิ้ง ไปเที่ยวนอกสถานที่ที่มียุงชุม ให้ลองใช้ กระเทียมผงซึ่งหาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ต ผสมกับน้ำ� ทาลงที่จุดชีพจร หรือ บนใบหน้า แต่ระวังอย่าให้เข้าตา - น้ำ�มันหอมระเหย ใช้ผสมกับแอลกอฮอล์เช็ดแผลหรือน้ำ�กลั่น แล้ว ฉีดลงบนร่างกายหรือผ้าแล้วใช้เช็ดบริเวณผิวที่โดนยุงตอม หรือเติมน้ำ�มัน หอมระเหยสองสามหยดลงในเบบี้ออยล์ หรือน้ำ�มันมะกอกแล้วทาบนผิว แต่ ระวังอย่าให้เข้าตาและปาก ก็จะแก้ปัญหายุงกัดได้ โดยกลิ่นน้ำ�มันหอมระเหย ที่แนะนำ� คือ ลาเวนเดอร์ ยูคาลิปตัส มะนาว ตะไคร้ ทีทรีไธม์ เปปเปอร์มินต์ และเบซิล - กระเทียม ส่วนที่บ้านถ้ายุงเยอะ ให้ฉีดกระเทียมผงผสมน้ำ�ตาม สนามหญ้าและพุ่มไม้ เพื่อไล่ยุง ควรทำ�สองสัปดาห์ต่อ 1 ครั้ง หรือหลังจาก ฝนตกหนัก จะลดปริมาณยุงได้ - เปลือกส้ม หลังจากที่ปลอกส้มแล้ว อย่าทิ้ง ให้นำ�ไปตากแดดให้แห้ง แล้วนำ�มาเผาในชามอ่าง ตั้งไว้บริเวณที่ยุงชุม กลิ่นจากเปลือกส้มจะช่วยกำ�จัด ยุงไม่ไห้มารบกวนได้ และยังไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายอีกด้วย http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/healthtips/22386 ไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติ คุณวิเชียร น้ำ�ใส ทำ�บุญคล้าย วันเกิดโดยนิมนต์ พระสงฆ์และญาติ พี่น้อง ไปทานที่ ร้านอาหารข้างๆ วัด สาธุ
  • 20. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana35 รายรับเดือนมกราคม 2556 กิตติมา-Fred-Narlasue-Susi-Jira Frank $ 100.00 Jim-Pimjai Birmingham $ 25.00 นางบรรลุ แมนแนลล์ $ 100.00 น.ส.จันทิมา จิระเชิดชูวงศ์ $ 100.00 ตู่-ตั้ม Wade $ 100.00 Richard-Piyaporn Keatibut Peper $ 20.00 พรรณี พรมเพ็ง $ 100.00 Usa Jirachertchoowong $ 100.00 ชัยวุฒิ เลิศวิชัยวรวิชย์ $ 40.00 ผู้ไม่ประสงค์จะออกนาม $ 30.00 น.ส.พรพรรณ นาวีประเสริฐ และครอบครัว(ซื้อที่ดิน)$ 50.00 สุจิตรา เทียมเมืองแพน $ 5.00 Jumlong Megyesy(ค่าน้ำ�ไฟ) $ 50.00 Manus Sands(ประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 Manus Sands(ค่าน้ำ�ไฟ) $ 50.00 Thai Papaya Restaurant $ 500.00 Thai Erawan Restaurant $ 550.00 Kim Eng Hong $ 240.00 Parinya S.Spry $ 30.00 Jintana Kessler, คุณแม่สะอาด สรรพอาษา $ 40.00 Lynn Thommsa Fisher $ 25.00 นายเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ $ 59.00 Pittsburgh Thai Food, Inc. $ 100.00 ณัฎฐพงศ์ จันทร์อยู่ $ 30.00 Milosavljevic Family $ 25.00 Methinee Yeampeka $ 30.00 Somornrat Kiefaber $ 30.00 คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ประกันสุขภาพพระ) $ 30.00 คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ค่าน้ำ�ไฟ) $ 20.00 คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ทำ�บุญวันมาฆบูชา) $ 20.00 คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(ค่าเดินทางพระ) $ 20.00 คุณแม่สะอาด สรรพอาษา(สมทบทุนซื้อที่ดินถวายวัด)$ 100.00 Richar L Farr & Rahsri S Farr(Donation for buying the land)$ 100.00 รายรับเดือนกุมภาพันธ์ 2556 คุณมนัส ดี แซนด์(ประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 คุณมนัส ดี แซนด์(ค่าน้ำ�ไฟ) $ 50.00 Somsong Fox $ 50.00 Bungon P Fontaine $ 20.00 Pranom Jabkul $ 100.00 รายรับ-รายจ่าย ประจำ�เดือนมกราคม - มีนาคม ปี 2556/2013
  • 21. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37 Dr.Claening Service Inc. $ 500.00 Sumalee Charoentra $ 100.00 Sawid Bartko $ 50.00 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม $ 20.00 Aunchalin Teeranijviriya $ 50.00 Aunchalin Teeranijviriya $ 100.00 รายรับเดือนมีนาคม 2556 เจน ชูแนม $ 141.00 Usa Jirachertchoowong $ 100.00 ธิดายศ ธีระเนตร $ 40.00 พิทักษ์-รัตนา สุวรรณเสวตร(พิมพ์หนังสือ) $ 2,000.00 มนัส แซนด์(ค่าน้ำ�ไฟ) $ 50.00 มนัส แซนด์(ประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 Pimjai-Pim James Birmingham $ 30.00 Channa-Dar Marith Kimly $ 20.00 Thai Spoon, LLC $ 100.00 Mike-Tanaporn $ 40.00 Gon E. Maxwell $ 100.00 Gon E. Maxwell $ 40.00 คุณบริสุทธิ์ แสนแก้ว Pittsburgh Thai Restaurant $ 100.00 Phoc Vong(Tim) $ 100.00 ณัฏฐพงศ์ จันทร์อยู่ $ 30.00 Tim-Rin $ 15.00 แม๊ค เงินฝรั่ง $ 20.00 Vilavan Anan Vong, Phoc Vong $ 500.00 เจน ชูแนม, นีน่า โกลด์ $ 96.00 Frank Reed Larkey $ 20.00 ปิยาภรณ์ เกียรติบุตร, ริชาร์ด เป๊ปเปอร์ $ 20.00 รายจ่ายเดือนมกราคม 2556 01/08/2013 Monk food $ 79.14* 01/09/2013 Post Office(Sending Newsletter) $ 112.20* 01/09/2013 Printer Ink $ 74.88* 01/09/2013 Wat Thai DC(R1 Visa for monk) $ 325.00* 01/09/2013 Offering to Phramahapirun $ 500.00* 01/16/2013 ซื้อผลไม้ $ 82.63* 01/19/2013 Guardian Protection $ 31.95* 01/29/2013 Nationwide Insurance $ 100.00 01/30/2013 Verizon $ 59.49 01/30/2013 Celebration for the title $ 500.00* 01/30/2013 Aetna $ 133.00* 01/31/2013 Duquesne Light $ 329.39 หมายเหตุ...* ทางวัดเขียนเช็คจ่าย นอกจากนั้นญาติโยมร่วมกันเป็นเจ้า ภาพจ่าย
  • 22. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana อนุโมทนาบุญ ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันจันทร์ Thai Cuisine, Thai Spoon ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์ วันอังคาร คุณคิม,คุณใจ วงศ์คำ�และเพื่อนๆ(อังคารที่ ๑ ของเดือน) วันพุธ คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม,คุณนีน่า โกลด์ และเพื่อน วันพฤหัสบดี คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์, คุณเจน ซูนัม, Thai Me Up Restaurant วันศุกร์ คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ วันเสาร์ คุณวิลาวรรณ วอง และครอบครัว วันอาทิตย์ ญาติโยมทั้งหลายร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล *หมายเหตุในแต่ละวันอาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตามโอกาสจะ เอื้ออำ�นวย อันนะโท พะละโท โหติ วัตถะโท โหติ วัณณะโท ยานะโท สุขะโท โหติ ทีปะโท โหติ จักขุโท. ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยาน พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ 38 รายจ่ายเดือนกุมภาพันธ์ 2556 02/11/2013 Peoples Natural Gas $ 391.00 02/11/2013 PWSA quality water $ 120.00 02/18/2013 Guardian Protection $ 31.95* 02/18/2013 Erie Insurance $ 97.00* 02/18/2013 Property tax $ 319.53 02/22/2013 Nationwide Insurance $ 112.00 หมายเหตุ...* ทางวัดเขียนเช็คจ่าย นอกจากนั้นญาติโยมร่วมกันเป็นเจ้า ภาพจ่าย รายจ่ายเดือนมีนาคม 2556 03/04/2013 Verizon $ 53.83 03/07/2013 Peoples Natural Gas $ 300.00 03/13/2013 Duquesne Light $ 74.00 03/13/2013 PSWA water quality $ 24.00 03/18/2013 Aetna Health Insurance $ 133.00* 03/22/2013 Duquesne Light $ 73.04 หมายเหตุ...* ทางวัดเขียนเช็คจ่าย นอกจากนั้นญาติโยมร่วมกันเป็นเจ้า ภาพจ่าย -------------------------------------------------- หากมีรายชื่อท่านใดขาดตกบกพร่องไป ทางวัดขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย โปรดแจ้งให้ทางวัดทราบ เพื่อดำ�เนินการแก้ไขให้ถูกต้องต่อ ไป
  • 23. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ทำ�บุญปีใหม่ 2556 - Happy New Year Ceremony 2013 ทำ�บุญฉลองสมณศักดิ์ พระครูสิริอรรถวิเทศ(ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี)
  • 24. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana กิจกรรมทั่วไปในรอบ 3 เดือน ทำ�บุญวันมาฆบูชา - Magha Puja Ceremony