SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
5. ยารักษาความผิดปกติ
การแข็งตัวของเลือด
(Drugs Used in Disorder
of Coagulation)
ยารักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
Anticoagulant drugs
(ยาต้านการแข็งตัวของเลือด )
Heparin, warfarin, hirudin
Fibrinolytic drugs (ยาที่สลายลิ่มเลือด )
streptokinase, urokinase
Antiplatelet agents (ยาต้านเกล็ดเลือด)
 aspirin (ASA), clopedogrel, ticlopidine
Coagulation Pathway
XII
Contact (Eg: with glass)
XIIa
XI XIa
IX IXa
X Xa
VIIIa
Ca++
Intrinsic Pathway
Tissue factor (TF)
VII VIIa- TF
IX IXa
X Xa
XIa
VIIIa
Extrinsic Pathway
Fibrin
Coagulation Pathway
Extrinsic pathway
(Tissue factor)
Prothrombin Thrombin
Fibrinogen
Intrinsic pathway
(Contact)
X XaXa
Thrombin
Fibrin
Prothrombin Thrombin
Fibrinogen
X Xa
IX IXa
VII VIIa- TF
Tissue factor (TF)
Site of Action of Drugs
Heparin
Warfarin VIIIa
Va
-
-
-
-
-
-
-
Hirudin
5.1 Anticoagulant drugs
(ยาที่ต้านการแข็งตัวของเลือด)
Heparins
enoxaparin, dalteparin, tinzaparin
กลไกการออกฤทธิ์
**ออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของ thrombin โดยกระตุ้น การทางานของ
antithrombin III ให้มากขึ้น 1000 เท่า
ในขนาดสูงยับยั้งการทางานของ clotting factor หลายชนิด
ในขนาดต่ายับยั้งได้เฉพาะ Factor XA (Factor X ที่ถูกกระตุ้นให้พร้อม
ทางาน)
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 IV, SC ห้ามให้ยาทาง IM
ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดที่ปอด (pulmonary embolism)
เส้นเลือดดาอุดตัน (deep vein thrombosis)
โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย
อาการข้างเคียง
เกิดภาวะเลือดออกง่าย
หากเกิดภาวะเลือดออกรุนแรงควรใช้ **protamine sulphate เป็ น
ยาต้านพิษของ heparin ฉีด IVช้าๆ ภายใน 3 ชั่วโมง หลังฉีด heparin
พบน้อย; เกิดภาวะกระดูกพรุน (osteoporosis), ผมร่วง, ภาวะ
เกล็ดเลือดต่า (thrombocytopenia)
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่ วยความดันโลหิตสูงรุนแรง
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด เช่นhemophillia
เลือดออกในเยื่อหุ้มสมอง
มีภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
มะเร็งที่อวัยวะภายใน
โรคตับ ไต
หลังการผ่าตัดสมอง กระดูกไขสันหลัง ตา เจาะน้าไขสันหลัง
Warfarin
 Warfarin มีโครงสร้างคล้าย vitamin K
 vitamin Kช่วยสร้าง prothrombin และ factor II,VII,IX,X ในตับ
 กลไกการออกฤทธิ์
 ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ epoxide reductase ซึ่งเป็ นเอนไซม์ที่จาเป็ นใน
การเปลี่ยน vitamin K ที่ยังไม่พร้อมออกฤทธิ์ (inactive form) เป็ น
vitamin K ที่พร้อมออกฤทธิ์ (active form)
 ส่งผลให้ vitamin K ที่พร้อมออกฤทธิ์ในตับมีปริมาณลดลง
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดที่ปอด
 การรักษาและป้ องกันเส้นเลือดดาอุดตัน เช่น ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดที่ขา
 โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะเพื่อป้ องกันการเกิดลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือด และป้ องกัน
การเกิดอัมพาต
 ใช้ป้ องกันการเกิดลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือด ในผู้ป่ วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย
 ใช้ลดการเกิดลิ่มเลือดในผู้ป่ วยที่ได้รับ การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียม
 ผู้ป่ วยลิ้นหัวใจตีบ ผู้ป่ วยหลอดเลือดสมองตีบ
การนาไปใช้ทางคลีนิก
อาการข้างเคียง
เลือดออกผิดปกติตามอวัยวะต่างๆ เช่น สมอง กระเพาะอาหาร
กล้ามเนื้อ
คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ
ข้อห้ามใช้
ผู้ที่ตั้งครรภ์เพราะจะทาให้เด็กพิการได้
ผู้ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
ผู้ที่มีภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบหรือมีน้าในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ผู้ป่ วยโรคตับชนิดรุนแรง
Fibrinolytic system
Basic & Clinical Pharmacology, 8th edition, Katzung BG
Plasminogen
Plasmin
Thrombin Fibrin
Fibrin split
productsFibrinogen
Degradation
products
t-PA, Urokinase,
Streptokinase
t-PA
5.2 Fibrinolytic drugs
ยาที่ออกฤทธิ์สลายลิ่มเลือด
Streptokinase, urokinase
Streptokinase
กลไกการออกฤทธิ์
เป็ นเอนไซม์ที่ได้จาก -hemolytic streptococci
จะเข้าไปรวมตัวกับplasminogen ทาให้ plasminogen เปลี่ยนไปเป็ น
plasmin ซึ่งเป็ นเอนไซม์ที่ทาหน้าที่ในการสลาย-ลิ่มเลือด(fibrin)
การนาไปใช้ทางคลีนิก
IV drip
ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดง
(arterial thrombosis)
ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดา
ใช้ในผู้ป่ วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
(acute myocardial infraction)
อาการข้างเคียง
 ภาวะเลือดออก
 ความดันโลหิตต่า
 อาจเกิดการแพ้ยา : มีไข้ ผื่นคัน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
 อาจการแพ้ยาแบบรุนแรง anaphylactic
 ปฏิกริยาต่อกันระหว่างยา
 aspirin, NSAIDs, heparin การใช้ร่วมกันจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออก
5.3 Antiplatelet agents
(ยาที่ออกฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือด)
1.Aspirin (ASA)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ thromboxane A2 (TxA2)
ส่งผลยับยั้งการรวมตัว ของเกล็ดเลือด
พบว่าขนาดที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งเกล็ดเลือดคือ 160-
320 mg/วัน
Antiplatelet agents
(ยาที่ออกฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือด)
2. Thienopyridine group :Ticlopidine , Clopidogrel
กลไกการออกฤทธิ์
ปิ ดกั้น ADP (Adenosine Diphosphate) receptor บนผิวเกล็ดเลือด
ช่วยลดการหลั่งสารจากเกล็ดเลือด และลดการกระตุ้นและการเกาะกลุ่มของเกร็ด
เลือด (aggregation)
การนาไปใช้ทางคลีนิก
ป้ องกันการเกิดการลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดง
หลอดเลือดสมองตีบ (cerebral thrombosis)
สมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว (transient ischemic attack;TIA)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
โดยนิยมใช้เพื่อป้ องกันการกลับเป็ นซ้า (secondary prevention)
การนาไปใช้ทางคลีนิก
Ticlopidine,Clopidogrel ใช้ร่วมกับ aspirin สามารถลด
อัตราการ เสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด, MI รวมทั้ง stroke ได้
ร้อยละ 20
**Clopidogrel นิยมให้ยาตัวนี้ในกรณีที่มีข้อห้ามในการใช้
aspirin
อาการข้างเคียง
ASA:การระคายเคืองกระเพาะอาหาร อาจพบแผลหรือมีเลือดออกใน
กระเพาะอาหารได้,พิษต่อตับ ,หลอดลมตีบผู้ที่ไวต่อยา,เลือดเป็ นกรด
 Ticlopidine: neutropenia, thrombocytopenia,
ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
Clopidogrel: เหมือน Ticlopidineแต่โอกาสเกิด
thrombocytopenia น้อยกว่า
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
 ควรสังเกตผู้ป่ วยว่ามีการตกเลือดหรือไม่
 โดยสังเกตอาการเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ ดวงเลือดซึมใต้ผิวหนัง มีเลือดออกที่จมูก ปัสสาวะหรืออุ
จาระมีเลือดปน
 หากมีการตกเลือดอย่างเห็นได้ชัด ต้องรีบรายงานแพทย์ วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อตรวจสอบ
การตกเลือดภายใน
 ควรแนะนาให้ผู้ป่ วยระมัดระวังไม่ให้เกิดบาดแผลขึ้น หลีกเลี่ยงของมีคม และการทางานที่
ต้องเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
 ควรมีการติดตามผล clotting time เมื่อจะให้ยาครั้งต่อไป
 ควรเตรียมไวตามินเค ไว้ในกรณีฉุกเฉิน และให้ขนาด 2-20 มิลลิกรัม ทันทีที่เกิดการตก
เลือด
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (anticoagulant) เช่น heparin
 เตรียมยาต้านพิษ (antidote) ให้พร้อมใช้เสมอ เช่น protamine, vitamin
K เพื่อใช้ได้ทันทีกรณีเกิดภาวะเลือดออก
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
 ควรหลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อขณะที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
 กรณีได้รับยา warfarin แนะนาให้จากัดการรับประทานอาหารที่มี vitamin K สูง
เช่น ผักใบเขียว เพราะการรับประทานอาหารที่มี vitamin K จานวนมากอาจมีผลลด
ฤทธิ์ของยาได้
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
ยาที่ออกฤทธิ์สลายลิ่มเลือด เช่น streptokinase
 ประเมินและสังเกตอาการข้างเคียงหลังรับยา กรณีได้รับยา streptokinase มักพบ
อาการข้างเคียงได้บ่อย โดยเฉพาะอาการแพ้ยาแบบ anaphylactic รักษาด้วยการใช้
adrenaline, ยาต้านฮีสตามีน (antihistamine), ยากลุ่ม
corticosteroids และควรเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยชีวิตให้พร้อมใช้เสมอ
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
 จัดเตรียมยาต้านพิษ เช่น tranxeminic acid, aminocapronic acid
ให้พร้อมใช้เสมอ
 หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เนื่องจากอาจทาให้เกิดอาการช้า มีจ้าเลือดหรือมี
เลือดออกผิดปกติได้ และหลีกเลี่ยงการทาหัตถการเจาะหลอดเลือดแดง (arterial
puncture)
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
 กรณีมีความจาเป็ นต้องเจาะหลอดเลือดดา ควรกด pressure บริเวณที่เจาะไว้อย่าง
น้อย 30 นาที
 ยาที่มีคุณสมบัติเป็ นเอนไซม์ เช่น SK, UK ควรเก็บรักษาอย่างระมัดระวังในที่เย็น ไม่
จาเป็ นต้องแช่ตู้เย็นหากอุณหภูมิห้องไม่เกิน 21 องศาเซลเซียส
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
ยาที่ออกฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือด เช่น aspirin
 กรณีได้รับยา aspirin แนะนาให้รับประทานยาพร้อมอาหารและดื่มน้าตามมาก ๆ เพื่อ
ป้ องกันการระคายเคืองทางเดินอาหาร
 ควรหยุดยาอย่างน้อย 7 วันก่อนการผ่าตัดหรือการทาฟัน
 หลีกเลี่ยงการใช้ยา aspirin หรือ ยากลุ่ม NSAIDs อื่นร่วมกับยาต้านการแข็งตัว
ของเลือดหรือยาสลายลิ่มเลือด
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยา
รักษาความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
แบบฝึกหัด
• 1.ผู้หญิงอายุ 59 มาตรวจร่างกายประจาปี พบว่ามีความดันเลือดสูง เมื่อนัดมาวัดอีก 3 ครั้ง
พบว่ายังสูงอยู่ จึงได้รับคาแนะนาให้คุมอาหารและออกกาลังกายและออกกาลังกาย
– หลังจากนั้น 1 ปี ยังพบความดันเลือดสูงอยู่ จึงได้รับยาขับปัสสาวะตัวหนึ่งไปกิน
– ในครั้งนี้ซึ้งเป็ นการนัดมาตรวจประจา พบว่าผู้ป่ วยมีระดับโพแทสเซียมสูงผิดปกติในเลือด ยาขับปัสสาวะ
ที่ผู้ป่ วยได้รับน่าจะเป็ นยาชนิดใด
• 1 Acetazolamide
• 2 Furosemide
• 3 HCTZ
• 4 Spironolactone
• 2 การรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง ด้วยยา Gemfibrozil ร่วมกับ
lovastatin คู่กัน เพิ่มความเสียงต่อการเกิดภาวะใด
• 1 Hyperglycemia
• 2 Myopathy (กล้ามเนื้ออักเสบ)
• 3 Hepatitis (ตับอักเสบ)
• 4 Hypotension

More Related Content

What's hot

Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059Aphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
22
2222
22
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 

Viewers also liked

เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูDashodragon KaoKaen
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560tungmsu
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.Pairot Sreerata
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์Ann Ann
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงู
 
Circulation1
Circulation1 Circulation1
Circulation1
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
CPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use ThailandCPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use Thailand
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 

More from Sirinoot Jantharangkul

More from Sirinoot Jantharangkul (10)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 

Drugs used in disorders of coagulation