SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
TOPICS
ระบบการไหลเวียน
Internal transport
(Circulatory system)
3. INTERNAL TRANSPORT
(CIRCULATORY SYSTEM)
การขนส่งสารมีหลายวิธี โดยจะขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต ดังนี้
1. การแพร่ (diffusion)
2. Gastrovascular cavity
3. ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด
(open circulatory system)
4. ระบบไหลเวียนเลือดแบบปิด
(close circulatory system)
ระบบไหลเวียนเลือด ประกอบด้วย
-เลือด(blood)
-หลอดเลือด(blood vessel)
-หัวใจ (heart)
Gastrovascular cavity
-พบในพวก cnidarians, พลานาเรีย และหนอนตัวแบนอื่น ๆ
-Gastrovascular cavity มักมีการแตกแขนงแทรกไปในชั้นของเซลล์
-มีการแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ ภายในตัวกับสิ่งแวดล้อมโดยตรง จากนั้นมี
การขนส่งสารต่าง ๆ ระหว่างเซลล์โดยการแพร่ เนื่องจากระยะห่างระหว่าง
ชั้นของเซลล์ มีระยะทางสั้น ๆ
ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด (open circulatory system)
-พบในแมลงและพวก mollusk
-อวัยวะต่าง ๆ จะสัมผัสกับเลือดโดยตรง
-ไม่มีความแตกต่างระหว่างเลือดและ
interstitial fluid รวมเรียก hemolymph
-ขั้นตอนการไหลเวียน
1.หัวใจ(tubular heart)ที่อยู่ด้านหลังบีบตัว
2.Hemolymphเคลื่อนสู่หลอดเลือด(vessel)
และ sinus (แอ่งเลือดรอบๆอวัยวะ)
3.Hemolymphจากsinus แลกเปลี่ยนแก๊ส
และสารอาหารกับเซลล์โดยตรง
4.เมื่อหัวใจคลายตัว hemolymph ถูกดึงกลับ
หัวใจ ทางรูเรียก ostia (มี valveที่ปิดเมื่อหัวใจหดตัว)
ระบบไหลเวียนเลือดแบบปิด (close circulatory system)
-พบในไส้เดือน หมึกและสัตว์มีกระดูกสันหลัง
-หัวใจอาจมี >1
-เส้นเลือดมีการแตกแขนงเป็นเส้นเล็กๆ ไป
เลี้ยงอวัยวะ
-เลือดจะอยู่ในเส้นเลือดตลอดเวลา แยก
ออกจาก interstitial fluid
-มีการแพร่ของแก๊สและสารอาหารจากเลือด
สู่ interstitial fluid และจากinterstitial fluid
สู่เซลล์
เปรียบเทียบการขนส่งสารเข้าและออกจากเซลล์
ในสัตว์ที่มีระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิดและแบบปิด
extracellular fluid = interstitial fluid
Cardiovascular system
-หัวใจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1.atrium(or atria) ทาหน้าที่รับเลือดกลับสู่หัวใจ
2.ventricle ทาหน้าที่ปั๊มเลือดออกจากหัวใจ
-เส้นเลือดมี 3 ชนิด
1.artery ทาหน้าที่นาเลือดออกจากหัวใจสู่อวัยวะ
2.capillary เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารระหว่างเลือดและinterstitial
fluid เพราะเป็นเส้นเลือดที่มีผนังบางและเป็นรู
-มีการแตกของcapillaryเป็นร่างตาข่ายที่บริเวณอวัยวะเรียก capillary bed
3.vein ทาหน้าที่นาเลือดจากอวัยวะกลับสู่หัวใจ
Aorta artery arteriole capillary venule vein vena cava
Heart
(organ)
Single circuit circulation
-ปลามีหัวใจ 2 ห้อง (1atrium, 1 ventricle)
-ventricle ปั๊มเลือดออกจากหัวใจสู่เหงือก
(gill circulation)
-มีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่เหงือก
-gill capillary นาเลือดที่มี O2สูงไปเลี้ยง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย(systemic circulation)
-vein นาเลือดกลับหัวใจ
-เนื่องจากเลือดไหลจาก gill capillary สู่
systemic circulationโดยตรง ดังนั้นความดัน
เลือดจะค่อยๆลดลง เลือดจึงไหลช้าลง
Double circuit circulation
ระบบไหลเวียนเลือดในกบ
-กบมีหัวใจ 3 ห้อง (2 atria, 1 ventricle)
-ventricleปั๊มเลือดออกจากหัวใจทางเส้นเลือด
artery จากนั้นจะแยกออกเป็น 2 เส้น
-เส้นที่หนึ่งนาเลือดไปฟอกที่ปอดและผิวหนัง
เรียกวงจรนี้ว่า pulmocutaneous
(lung and skin) circulation
-อีกเส้นหนึ่งนาเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ
ร่างกายเรียกว่า systemic circulation
-รวมเรียกทั้งสองวงจรนี้ว่า double circulation
-เนื่องจากเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายถูกปั๊มออกจากหัวใจโดยตรง
ดังนั้นแรงดันเลือดจึงสูงกว่า single circulation
-ventricleมี1 ห้อง จึงมีการปนกันของเลือด
oxygen-rich และ oxygen-poor blood
-แต่ในventricleก็มีเยื่อกั้นบ้าง ดังนั้น oxygen-
rich blood ส่วนมาก(จากatriumซ้าย)จะถูกปั๊มสู่
systemic circulation และoxygen-poor blood
ส่วนมาก(จากatriumขวา)จะถูกปั๊มสู่
pulmocutaneous circulation
ระบบไหลเวียนเลือดในสัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
-สัตว์เลื้อยคลานมีหัวใจ 3 ห้อง(ยกเว้น
จระเข้) โดยหัวใจห้อง ventricle เริ่มมี
ผนังกั้น แต่ไม่สมบูรณ์
-จระเข้ นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี
หัวใจ 4 ห้อง
-การไหลเวียนเลือดแบ่งเป็น 2 วงจร คือ
pulmonary และ systemic circulation
-หัวใจด้านซ้าย รับ-ปั๊มเลือดที่มี
ออกซิเจนสูง
-หัวใจด้านขวา รับ-ปั๊มเลือดที่มี
ออกซิเจนต่า
-ในหัวใจมีลิ้นกั้นเรียก valveแบ่งเป็น
1.atrioventricular valve (AV valve)
กั้นระหว่างatriumกับventricle
2.semilunar valve กั้นระหว่างaorta
กับventricleซ้าย และ pulmonary
artery กับventricle ขวา
เปรียบเทียบ double circulation ในสัตว์ที่มีหัวใจ 3 ห้อง,
4 ห้องแต่ไม่สมบูรณ์ และ 4 ห้องสมบูรณ์
การไหลเวียนเลือดในคน
Pulmonary circulation
ventricleขวาปั๊มเลือดออกจากหัวใจ
pulmonary artery ปอด(แลก
เปลี่ยนแก๊ส) oxygen-rich blood
pulmonary vein atriumซ้าย
Systemic circulation
ventricleซ้าย aorta
เส้นเลือดแยกออกเป็น 2 เส้น
1.ไปเลี้ยงส่วนหัวและแขน
2.ไปเลี้ยงอวัยวะในช่องท้องและขา
oxygen-poor blood กลับสู่หัวใจ
(atriumขวา)ทาง anterior(superior)(1)
หรือ posterior(inferior) vena cava(2)
• The heart sounds we can
hear with a stethoscope
are caused by the closing
of the valves.
– The sound pattern is
“lub-dup, lub-dup,
lub-dup.”
– The first heart sound
(“lub”) is created by
the recoil of blood
against the closed
AV valves.
– The second sound
(“dup”) is the recoil
of blood against the
semilunar valves.
เสียงของหัวใจ (Heart sound)
-สามารถใช้ stethoscopeฟัง
เสียงของหัวใจได้ โดยจะได้
ยินเสียง lub-dup, lub-dup,
lub-dup
-lub: เป็นเสียงของเลือดที
กระแทก AV valveเมื่อ
ventricle บีบตัว
-dup: เป็นเสียงของเลือดที่
กระแทก semilunar valveเมื่อ
ventricle คลายตัว
-สภาวะที่valveผิดปกติเรียก heart murmur
วัฏจักรหัวใจ (cardiac cycle)
cardiac out put (vol/min) = heart rate (no./min) X stroke volume (vol/no.)
5.25 L/min = 70 beat/min X 75 ml/beat
-cardiac cycle: การบีบและ
คลายตัวของหัวใจเป็นรอบๆ
-ระยะที่มีการบีบตัวเรียก
systole
-ระยะที่มีการคลายตัวเรียก
diastole
-cardiac output: ปริมาณ
เลือดที่ปั๊มจาก ventricle
ซ้ายไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ
ร่างกาย
จังหวะการเต้นของหัวใจ(heart’s rhythmic beat)
-cardiac muscle ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถกระตุ้นได้เอง(self-excitable)
-sinoatrial(SA) node ควบคุมอัตราและเวลาในการบีบตัวของหัวใจ
-SA node วางตัวอยู่บนผนังของ atriumขวาใกล้กับบริเวณที่ superior vena cava
-atroventricular(AV) node วางตัวอยู่บนผนังของหัวใจระหว่าง atrium และventricleขวา
(generateelectrical
impulse)
(จากAV node สู่ventricle
จะdelay 0.1 วินาที)
Electrocardiogram (ECG/EKG)
โครงสร้างของหลอดเลือด(The structure of blood vessel)
-เส้นเลือดประกอบด้วย
เนื้อเยื่อ 3 ชั้น
1.ชั้นนอก เป็นconnective
tissueและelastic fiber
2.ชั้นกลาง เป็นsmooth
muscle และ elastic fiber
3.ชั้นใน เซลล์ชั้นเดียวแบนๆ
เรียก endothelium
-arteryมีชั้นนอกและชั้นกลางหนากว่าvein
-capillaryมีเฉพาะชั้นendometrium ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนสารระหว่างเลือด
และinterstitial fluidได้ดี (เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-10 um, RBC 7-10 um)
-veinใหญ่ๆจะมี one-way valve กั้น ที่ยอมให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจเท่านั้น
การไหลและความดันเลือด(blood flow and blood pressure)
การไหลของเลือดในหลอดเลือดขึ้นกับ
1.Law of continuity การไหลของๆเหลวใน
ท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่าจะไหลเร็วกว่า
การไหลของเลือดในcapillaryจะช้ากว่า
arteryและaorta ตามลาดับ เพราะพื้นที่
หน้าตัดรวมของcapillaryมากกว่า
-การไหลของเลือดอย่างช้าๆในcapillary
ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารได้ดี
2.ความดันเลือดในหลอดเลือดขึ้นอยู่กับ
cardiac output, peripheral resistance,
gravity
-ความดันเลือดในaorta>artery>arteriole>
capillary>venule>vein>vena cava
การวัดความดันเลือด
1.ความดันเลือดปกติในคนอายุ 20 ปี = 120/70
2.เครื่องที่ใช้วัดคือ sphygmomanometer โดยนาไปพันรอบโคนแขน บีบให้ลมเข้าไปใน
cuffจนกระทั่งความดันใน cuff สูงกว่าความดันเลือดใน artery เลือดหยุดไหล
3.ใช้stethoscopeฟังเสียงการไหลของเลือด ค่อยๆปล่อยให้ลมออกจากcuff เมื่อความ
ดันเลือดในarteryสูงกว่าในcuff จะได้ยินเสียงการไหลของเลือดเรียกsystolic pressure
4.ค่อยๆปล่อยลมในcuffออกเรื่อยๆ จนกระทั่งไม่ได้ยินเสียงการไหลของเลือด เรียก
diastolic pressure
การไหลของเลือดสู่ capillary bed
-การไหลของเลือดสู่ capillary bed ที่
อวัยวะต่างๆ ขึ้นอยู่กับความต้องการ
ของอวัยวะนั้นๆ เช่น ในขณะออกกาลัง
กายเลือดจะไปเลี้ยงที่กล้ามเนื้อมาก แต่
ไปเลี้ยงทางเดินอาหารลดลง
-การควบคุมการไหลของเลือดสู่capillary
bed คือ
1.โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของ
arteriole
2.โดยการทดตัวของ precapillary sphincter
การแลกเปลี่ยนสารที่หลอดเลือดฝอย(capillary exchange)
-การนาสารเข้า-ออกcapillary มี 4 วิธี รูป(ก)
-การนาสารผ่าน cleft จะสัมพันธ์กับ fluid pressure รูป(ข)
:บริเวณที่ใกล้กับ arteriole ของเหลวจะไหลออกจาก
capillary
:บริเวณที่ใกล้กับ venule ของเหลวจะไหลเข้าสู่capillary
ก
ข
ระบบน้าเหลือง(Lymphatic system)
-lymphatic system นาของเหลวและโปรตีนกลับสู่กระแสเลือดโดยนาเข้าทางvenae cava
-lymph: ของเหลวใน lymphatic vessel (ภายในมี valve)
-lymph node: เป็นอวัยวะทาหน้าที่กรอง lymphและทาลายเชื้อโรค ภายในประกอบด้วย
connective tissue และเม็ดเลือดขาว
องค์ประกอบของเลือด
-เลือดประกอบด้วย น้าเลือดหรือพลาสมา(plasma) และเม็ดเลือด
-เม็ดเลือด(cellular elements) ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง(erythrocyte)
เม็ดเลือดขาว(leukocyte) และเกล็ดเลือด(blood platelet)
-ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม RBC ไม่มีนิวเคลียส
และไมโตคอนเดรีย, anaerobic metabolism
-ไตสร้างerythropoietin กระตุ้นการสร้าง RBC
Pluripotent stem cells
Pluripotent: เซลล์ที่สามารถเปลี่ยนแปลง(differentiate)ไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดอื่นได้
การแข็งตัวของเลือด(blood clotting)
-An inherited defect in any step of the clotting process
causes Hemophilia
โรคหัวใจ(cardiovascular diseases)
1. Heart attack การตายของ cardiac muscleจากการขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ
เพราะเส้นเลือด coronary artery อุดตัน จาก embolus
2. Heart stroke การตายของเนื้อเยื่อประสาทในสมอง เนื่องจากการแตกหรืออุดตัน
ของเส้นเลือด artery ในสมอง
3. Atherosclerosis
4. Arteriosclerosis คล้ายกับ atherosclerosis แต่จะมี Ca มาสะสมที่ plaque
5. Hypertention สภาวะที่ความดันเลือดสูง ทาให้เกิด atherosclerosis เพิ่มขึ้น
-เกิด plaque ในผนัง artery
บริเวณชั้นกล้ามเนื้อเรียบ
และจะมี connective tissue
และcholesterolมาแทรกอยู่

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 

What's hot (20)

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 

Viewers also liked

เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูDashodragon KaoKaen
 
ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22Aobinta In
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationSirinoot Jantharangkul
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
State of the Word 2011
State of the Word 2011State of the Word 2011
State of the Word 2011photomatt
 

Viewers also liked (13)

เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงู
 
ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
ABG Interpretation
ABG InterpretationABG Interpretation
ABG Interpretation
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Slideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทยSlideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทย
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Heart Anatomy
Heart AnatomyHeart Anatomy
Heart Anatomy
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
State of the Word 2011
State of the Word 2011State of the Word 2011
State of the Word 2011
 

Similar to Circulation1

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 

Similar to Circulation1 (13)

Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Nl cvs
Nl cvsNl cvs
Nl cvs
 
Physiologic murmur 3
Physiologic murmur 3Physiologic murmur 3
Physiologic murmur 3
 
2016 CVS assessment
2016 CVS assessment2016 CVS assessment
2016 CVS assessment
 

Circulation1

  • 2. 3. INTERNAL TRANSPORT (CIRCULATORY SYSTEM) การขนส่งสารมีหลายวิธี โดยจะขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต ดังนี้ 1. การแพร่ (diffusion) 2. Gastrovascular cavity 3. ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด (open circulatory system) 4. ระบบไหลเวียนเลือดแบบปิด (close circulatory system) ระบบไหลเวียนเลือด ประกอบด้วย -เลือด(blood) -หลอดเลือด(blood vessel) -หัวใจ (heart)
  • 3. Gastrovascular cavity -พบในพวก cnidarians, พลานาเรีย และหนอนตัวแบนอื่น ๆ -Gastrovascular cavity มักมีการแตกแขนงแทรกไปในชั้นของเซลล์ -มีการแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ ภายในตัวกับสิ่งแวดล้อมโดยตรง จากนั้นมี การขนส่งสารต่าง ๆ ระหว่างเซลล์โดยการแพร่ เนื่องจากระยะห่างระหว่าง ชั้นของเซลล์ มีระยะทางสั้น ๆ
  • 4. ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด (open circulatory system) -พบในแมลงและพวก mollusk -อวัยวะต่าง ๆ จะสัมผัสกับเลือดโดยตรง -ไม่มีความแตกต่างระหว่างเลือดและ interstitial fluid รวมเรียก hemolymph -ขั้นตอนการไหลเวียน 1.หัวใจ(tubular heart)ที่อยู่ด้านหลังบีบตัว 2.Hemolymphเคลื่อนสู่หลอดเลือด(vessel) และ sinus (แอ่งเลือดรอบๆอวัยวะ) 3.Hemolymphจากsinus แลกเปลี่ยนแก๊ส และสารอาหารกับเซลล์โดยตรง 4.เมื่อหัวใจคลายตัว hemolymph ถูกดึงกลับ หัวใจ ทางรูเรียก ostia (มี valveที่ปิดเมื่อหัวใจหดตัว)
  • 5. ระบบไหลเวียนเลือดแบบปิด (close circulatory system) -พบในไส้เดือน หมึกและสัตว์มีกระดูกสันหลัง -หัวใจอาจมี >1 -เส้นเลือดมีการแตกแขนงเป็นเส้นเล็กๆ ไป เลี้ยงอวัยวะ -เลือดจะอยู่ในเส้นเลือดตลอดเวลา แยก ออกจาก interstitial fluid -มีการแพร่ของแก๊สและสารอาหารจากเลือด สู่ interstitial fluid และจากinterstitial fluid สู่เซลล์
  • 7. Cardiovascular system -หัวใจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1.atrium(or atria) ทาหน้าที่รับเลือดกลับสู่หัวใจ 2.ventricle ทาหน้าที่ปั๊มเลือดออกจากหัวใจ -เส้นเลือดมี 3 ชนิด 1.artery ทาหน้าที่นาเลือดออกจากหัวใจสู่อวัยวะ 2.capillary เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารระหว่างเลือดและinterstitial fluid เพราะเป็นเส้นเลือดที่มีผนังบางและเป็นรู -มีการแตกของcapillaryเป็นร่างตาข่ายที่บริเวณอวัยวะเรียก capillary bed 3.vein ทาหน้าที่นาเลือดจากอวัยวะกลับสู่หัวใจ Aorta artery arteriole capillary venule vein vena cava Heart (organ)
  • 8. Single circuit circulation -ปลามีหัวใจ 2 ห้อง (1atrium, 1 ventricle) -ventricle ปั๊มเลือดออกจากหัวใจสู่เหงือก (gill circulation) -มีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่เหงือก -gill capillary นาเลือดที่มี O2สูงไปเลี้ยง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย(systemic circulation) -vein นาเลือดกลับหัวใจ -เนื่องจากเลือดไหลจาก gill capillary สู่ systemic circulationโดยตรง ดังนั้นความดัน เลือดจะค่อยๆลดลง เลือดจึงไหลช้าลง
  • 10. ระบบไหลเวียนเลือดในกบ -กบมีหัวใจ 3 ห้อง (2 atria, 1 ventricle) -ventricleปั๊มเลือดออกจากหัวใจทางเส้นเลือด artery จากนั้นจะแยกออกเป็น 2 เส้น -เส้นที่หนึ่งนาเลือดไปฟอกที่ปอดและผิวหนัง เรียกวงจรนี้ว่า pulmocutaneous (lung and skin) circulation -อีกเส้นหนึ่งนาเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ ร่างกายเรียกว่า systemic circulation -รวมเรียกทั้งสองวงจรนี้ว่า double circulation
  • 11. -เนื่องจากเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายถูกปั๊มออกจากหัวใจโดยตรง ดังนั้นแรงดันเลือดจึงสูงกว่า single circulation -ventricleมี1 ห้อง จึงมีการปนกันของเลือด oxygen-rich และ oxygen-poor blood -แต่ในventricleก็มีเยื่อกั้นบ้าง ดังนั้น oxygen- rich blood ส่วนมาก(จากatriumซ้าย)จะถูกปั๊มสู่ systemic circulation และoxygen-poor blood ส่วนมาก(จากatriumขวา)จะถูกปั๊มสู่ pulmocutaneous circulation
  • 12. ระบบไหลเวียนเลือดในสัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม -สัตว์เลื้อยคลานมีหัวใจ 3 ห้อง(ยกเว้น จระเข้) โดยหัวใจห้อง ventricle เริ่มมี ผนังกั้น แต่ไม่สมบูรณ์ -จระเข้ นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี หัวใจ 4 ห้อง -การไหลเวียนเลือดแบ่งเป็น 2 วงจร คือ pulmonary และ systemic circulation -หัวใจด้านซ้าย รับ-ปั๊มเลือดที่มี ออกซิเจนสูง -หัวใจด้านขวา รับ-ปั๊มเลือดที่มี ออกซิเจนต่า
  • 13. -ในหัวใจมีลิ้นกั้นเรียก valveแบ่งเป็น 1.atrioventricular valve (AV valve) กั้นระหว่างatriumกับventricle 2.semilunar valve กั้นระหว่างaorta กับventricleซ้าย และ pulmonary artery กับventricle ขวา
  • 14. เปรียบเทียบ double circulation ในสัตว์ที่มีหัวใจ 3 ห้อง, 4 ห้องแต่ไม่สมบูรณ์ และ 4 ห้องสมบูรณ์
  • 15. การไหลเวียนเลือดในคน Pulmonary circulation ventricleขวาปั๊มเลือดออกจากหัวใจ pulmonary artery ปอด(แลก เปลี่ยนแก๊ส) oxygen-rich blood pulmonary vein atriumซ้าย Systemic circulation ventricleซ้าย aorta เส้นเลือดแยกออกเป็น 2 เส้น 1.ไปเลี้ยงส่วนหัวและแขน 2.ไปเลี้ยงอวัยวะในช่องท้องและขา oxygen-poor blood กลับสู่หัวใจ (atriumขวา)ทาง anterior(superior)(1) หรือ posterior(inferior) vena cava(2)
  • 16. • The heart sounds we can hear with a stethoscope are caused by the closing of the valves. – The sound pattern is “lub-dup, lub-dup, lub-dup.” – The first heart sound (“lub”) is created by the recoil of blood against the closed AV valves. – The second sound (“dup”) is the recoil of blood against the semilunar valves. เสียงของหัวใจ (Heart sound) -สามารถใช้ stethoscopeฟัง เสียงของหัวใจได้ โดยจะได้ ยินเสียง lub-dup, lub-dup, lub-dup -lub: เป็นเสียงของเลือดที กระแทก AV valveเมื่อ ventricle บีบตัว -dup: เป็นเสียงของเลือดที่ กระแทก semilunar valveเมื่อ ventricle คลายตัว -สภาวะที่valveผิดปกติเรียก heart murmur
  • 17. วัฏจักรหัวใจ (cardiac cycle) cardiac out put (vol/min) = heart rate (no./min) X stroke volume (vol/no.) 5.25 L/min = 70 beat/min X 75 ml/beat -cardiac cycle: การบีบและ คลายตัวของหัวใจเป็นรอบๆ -ระยะที่มีการบีบตัวเรียก systole -ระยะที่มีการคลายตัวเรียก diastole -cardiac output: ปริมาณ เลือดที่ปั๊มจาก ventricle ซ้ายไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ ร่างกาย
  • 18. จังหวะการเต้นของหัวใจ(heart’s rhythmic beat) -cardiac muscle ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถกระตุ้นได้เอง(self-excitable) -sinoatrial(SA) node ควบคุมอัตราและเวลาในการบีบตัวของหัวใจ -SA node วางตัวอยู่บนผนังของ atriumขวาใกล้กับบริเวณที่ superior vena cava -atroventricular(AV) node วางตัวอยู่บนผนังของหัวใจระหว่าง atrium และventricleขวา (generateelectrical impulse) (จากAV node สู่ventricle จะdelay 0.1 วินาที) Electrocardiogram (ECG/EKG)
  • 19. โครงสร้างของหลอดเลือด(The structure of blood vessel) -เส้นเลือดประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 3 ชั้น 1.ชั้นนอก เป็นconnective tissueและelastic fiber 2.ชั้นกลาง เป็นsmooth muscle และ elastic fiber 3.ชั้นใน เซลล์ชั้นเดียวแบนๆ เรียก endothelium -arteryมีชั้นนอกและชั้นกลางหนากว่าvein -capillaryมีเฉพาะชั้นendometrium ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนสารระหว่างเลือด และinterstitial fluidได้ดี (เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-10 um, RBC 7-10 um)
  • 20. -veinใหญ่ๆจะมี one-way valve กั้น ที่ยอมให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจเท่านั้น
  • 21. การไหลและความดันเลือด(blood flow and blood pressure) การไหลของเลือดในหลอดเลือดขึ้นกับ 1.Law of continuity การไหลของๆเหลวใน ท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่าจะไหลเร็วกว่า การไหลของเลือดในcapillaryจะช้ากว่า arteryและaorta ตามลาดับ เพราะพื้นที่ หน้าตัดรวมของcapillaryมากกว่า -การไหลของเลือดอย่างช้าๆในcapillary ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารได้ดี 2.ความดันเลือดในหลอดเลือดขึ้นอยู่กับ cardiac output, peripheral resistance, gravity -ความดันเลือดในaorta>artery>arteriole> capillary>venule>vein>vena cava
  • 22. การวัดความดันเลือด 1.ความดันเลือดปกติในคนอายุ 20 ปี = 120/70 2.เครื่องที่ใช้วัดคือ sphygmomanometer โดยนาไปพันรอบโคนแขน บีบให้ลมเข้าไปใน cuffจนกระทั่งความดันใน cuff สูงกว่าความดันเลือดใน artery เลือดหยุดไหล 3.ใช้stethoscopeฟังเสียงการไหลของเลือด ค่อยๆปล่อยให้ลมออกจากcuff เมื่อความ ดันเลือดในarteryสูงกว่าในcuff จะได้ยินเสียงการไหลของเลือดเรียกsystolic pressure 4.ค่อยๆปล่อยลมในcuffออกเรื่อยๆ จนกระทั่งไม่ได้ยินเสียงการไหลของเลือด เรียก diastolic pressure
  • 23. การไหลของเลือดสู่ capillary bed -การไหลของเลือดสู่ capillary bed ที่ อวัยวะต่างๆ ขึ้นอยู่กับความต้องการ ของอวัยวะนั้นๆ เช่น ในขณะออกกาลัง กายเลือดจะไปเลี้ยงที่กล้ามเนื้อมาก แต่ ไปเลี้ยงทางเดินอาหารลดลง -การควบคุมการไหลของเลือดสู่capillary bed คือ 1.โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของ arteriole 2.โดยการทดตัวของ precapillary sphincter
  • 24. การแลกเปลี่ยนสารที่หลอดเลือดฝอย(capillary exchange) -การนาสารเข้า-ออกcapillary มี 4 วิธี รูป(ก) -การนาสารผ่าน cleft จะสัมพันธ์กับ fluid pressure รูป(ข) :บริเวณที่ใกล้กับ arteriole ของเหลวจะไหลออกจาก capillary :บริเวณที่ใกล้กับ venule ของเหลวจะไหลเข้าสู่capillary ก ข
  • 25. ระบบน้าเหลือง(Lymphatic system) -lymphatic system นาของเหลวและโปรตีนกลับสู่กระแสเลือดโดยนาเข้าทางvenae cava -lymph: ของเหลวใน lymphatic vessel (ภายในมี valve) -lymph node: เป็นอวัยวะทาหน้าที่กรอง lymphและทาลายเชื้อโรค ภายในประกอบด้วย connective tissue และเม็ดเลือดขาว
  • 26. องค์ประกอบของเลือด -เลือดประกอบด้วย น้าเลือดหรือพลาสมา(plasma) และเม็ดเลือด -เม็ดเลือด(cellular elements) ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง(erythrocyte) เม็ดเลือดขาว(leukocyte) และเกล็ดเลือด(blood platelet) -ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม RBC ไม่มีนิวเคลียส และไมโตคอนเดรีย, anaerobic metabolism -ไตสร้างerythropoietin กระตุ้นการสร้าง RBC
  • 27. Pluripotent stem cells Pluripotent: เซลล์ที่สามารถเปลี่ยนแปลง(differentiate)ไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดอื่นได้
  • 28. การแข็งตัวของเลือด(blood clotting) -An inherited defect in any step of the clotting process causes Hemophilia
  • 29. โรคหัวใจ(cardiovascular diseases) 1. Heart attack การตายของ cardiac muscleจากการขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ เพราะเส้นเลือด coronary artery อุดตัน จาก embolus 2. Heart stroke การตายของเนื้อเยื่อประสาทในสมอง เนื่องจากการแตกหรืออุดตัน ของเส้นเลือด artery ในสมอง 3. Atherosclerosis 4. Arteriosclerosis คล้ายกับ atherosclerosis แต่จะมี Ca มาสะสมที่ plaque 5. Hypertention สภาวะที่ความดันเลือดสูง ทาให้เกิด atherosclerosis เพิ่มขึ้น -เกิด plaque ในผนัง artery บริเวณชั้นกล้ามเนื้อเรียบ และจะมี connective tissue และcholesterolมาแทรกอยู่