SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
กลุ่มยาที่ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตสูง
2.1 ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
2.2 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทซิมพาเธติค
(Sympathoplegic agents)
2.3 ยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดโดยตรง
(Direct acting vasodilators)
2.4 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบเรนิน แองจิโอเทนซิน
2.1 ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
 Hydrochlorothiazide (HCTZ),
Furosemide , Spironolactone
นิยมใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูง
ระดับเล็กน้อย ถึงปานกลาง
 ลดระดับ BP ได้ประมาณ 10-15 mm.Hg
HCTZ
furosemide
spironolactone
การนาไปใช้ทางคลินิกของยาขับปัสสาวะในการลด BP
 กลุ่มไธอะไซด์
 เช่น HCTZ ใช้ในการรักษาความดันโลหิตสูงระดับเล็กน้อย ถึง ปานกลางในผู้ป่ วยที่มีการทางานของไต
และหัวใจปกติ
 กลุ่ม loop diuretics
 เช่น furosemide ใช้ในการรักษาความดันโลหิตสูง เมื่อมีการคั่งของโซเดียมมาก และมีการทางานของ
ไตบกพร่อง หัวใจล้มเหลว
 กลุ่ม potassium-sparings
 เช่น spironolactone นิยมใช้ร่วมกับกลุ่ม thiazide และ loop diuretic เพื่อป้ องกันการ
สูญเสียโพแทสเซียม
(ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อยาขับปัสสาวะ)
2.2 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทซิมพาเธติค
(Sympathopagic agents)
2.2.1 Centrally actings
2.2.2 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่ปมประสาท
(Ganglion-blocking agents)
2.2.3 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่เซลล์ประสาทอะดรีเนอร์จิก
(Adrenergic neurone blockings)
2.2.4 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่อะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์
(Adrenergic receptor antagonists)
ปัจจุบันนิยมใช้น้อย
** ยกเว้นยากลุ่ม  -blocker ปัจจุบันยังมีการใช้อยู่
2.2.1 Centrally actings
Clonidine, Methyldopa (ปัจจุบันนิยมใช้น้อยลง)
 Clonidine ออกฤทธิ์กระตุ้น 2 adrenergic receptor ในหลอดเลือดแดง และมีฤทธิ์
กระตุ้น imidazoline receptor ซึ่งส่งผลลดระดับความดันโลหิตได้
 ใช้สาหรับรักษาภาวะความดันโลหิตสูงระดับเล็กน้อย - ปานกลางถึง รุนแรง (severe)
 อาการข้างเคียง ปากคอแห้ง ง่วงซึม ไม่ควรใช้ยาในผู้ป่ วยที่มีแนวโน้มเกิดภาวะซึมเศร้า
 Methyldopa ออกฤทธิ์ไปกระตุ้น 2 adrenergic receptorใน CNS
ลด peripheral vascular resistance ลดอัตราการเต้นของหัวใจ และ
cardiac out put
 อาการข้างเคียง : วิงเวียน (vertigo), ง่วงซึม (sedative), ฝันร้าย
(nightmares), ซึมเศร้า (depression), มือสั่น (tremor) กล้ามเนื้อ
แข็งเกร็ง (rigidity)
2.2.2 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่ปมประสาท
(Ganglion-blocking agents)
trimethaphan (ปัจจุบันไม่นิยมใช้)
 ออกฤทธิ์ยับยั้ง/ปิ ดกั้น nicotinic receptor ที่ postganglionic
neuron ของทั้งระบบ sympathetic และ parasympathetic
 อาการข้างเคียง: อาการจากการยับยั้งที่
sympathetic neuron เช่น postural hypotention, หย่อน
สมรรถภาพทางเพศ
parasympathetic effect เช่น ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง ตาพร่ามัว ปาก
คอแห้ง
2.2.3 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่เซลล์ประสาทอะดรีเนอร์จิก (Adrenergic neurone
blockings)
Guanethidine, Reserpine (ปัจจุบันนิยมใช้น้อยลง)
 Guanethidine ออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่ง norepinephrine จากปลาย
ประสาทซิมพาเธติค ช่วยลด cardiac out put ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
 อาการข้างเคียง : postural hypotension, ท้องเสีย การใช้ยาในขนาดสูงทา
ให้ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจและสมองลดลงได้
 Reserpine
 ออกฤทธิ์ : ยับยั้งการเก็บ NE ใน vesicle ปลายประสาทซิมพาเธติค ส่งผลให้ระดับ
NE, DA และซีโรโตนินลดลง
 ช่วยลด cardiac out put และลดอัตราการเต้นของหัวใจ
 ใช้ reserpine ขนาดต่า รักษาความดันโลหิตสูงระดับเล็กน้อย
 อาการข้างเคียง: ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า, ง่วงซึม, ฝันร้าย, ซึมเศร้า, ท้องเสีย
เล็กน้อย ปวดบิดในท้อง เพิ่มการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
2.2.4 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่อะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์
(Adrenergic receptor antagonists)
1. ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งที่แอลฟ่า อะดรีเนอจิกรีเซพเตอร์( antagonists) prazosin,
terazosin, doxazosin (ปัจจุบันไม่ค่อยนิยมใช้)
 ออกฤทธิ์ยับยั้ง/ปิ ดกันที่ 1 receptor ในหลอดเลือดดาและหลอดเลือดแดง ส่งผลให้หลอดเลือดขยายตัว
ลดแรงต้านทาน
 การใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม  blocker และยาขับปัสสาวะจะให้ผลในการรักษาดีกว่าใช้ยา 
antagonist เดี่ยว ๆ
 อาการข้างเคียง : ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า อาจพบภาวะน้าและ sodium ions คั่งในร่างกายได้
ควรให้ร่วมกับยาขับปัสสาวะ
prazosin
terazosin
2. ยาออกฤทธิ์ยับยั้งที่เบต้า อะดรีเนอจิกรีเซพเตอร์ ( antagonists)
 Propranolol, Nadolol (ยั้บยั้ง1 และ2 )
 Atenolol, Metoprolol (ยับยั้งเฉพาะ1)
 กลไกการออกฤทธิ์:
 ยับยั้ง 1 receptorที่หัวใจ ส่งผลลด cardiac out put >>> ลดความ
ดันโหลิต
 ยับยั้ง 1 receptorที่ไต ลดการสร้างเรนิน>>ทาให้ลดการทางานของระบบแองจิ
โอเทนซิน (renin- angiotensin)
Propranolol
Atenolol
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ใช้ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงระดับเล็กน้อย – ปานกลาง
 ใช้ป้ องกันการเกิดอาการใจสั่นจากการใช้ยาในกลุ่มขยายหลอดเลือด (direct
vasodilators)
 ใช้ในการรักษาผู้ป่ วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับมีภาวะหัวใจล้มเหลว ได้ดี พบว่าช่วยลด
อัตราการตายในผู้ป่ วยเหล่านี้ได้
 ใช้ในการรักษารักษาโรคหัวใจขาดเลือด (ischemic heart disease) ได้ดี
อาการข้างเคียง
 หัวใจเต้นช้าลง (bradycardia)
 มึนงงเวียนศีรษะ (dizziness)
 อ่อนแรง (fatigue)
 นอนไม่หลับ (insomnia)
 เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ (loss of libido)
ข้อห้ามในการใช้ยา
 ผู้ป่ วยหอบหืด (asthma)
 ผู้ป่ วยหัวใจเต้นช้า
 ผู้ที่มีความดันโลหิตต่าชนิดรุนแรง
 **ผู้ป่ วยเบาหวานที่ได้รับ insulin หรือยาลดระดับน้าตาลในเลือด
2.3 ยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดโดยตรง
(Direct acting vasodilator)
 Direct acting vasodilators:
Hydralazine, Minoxidil, Sodium nitroprusside
 ยาต้านแคลเซียม (calcium channel blockers)
Nifedipine
Hydralazine Minoxidil
Sodium nitroprusside
Nifedipine
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ทาให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือด กล้ามเนื้อเรียบของหลอด
เลือดแดงคลายตัว
ส่งผลลดแรงต้านทานของหลอดเลือด
Hydralazine, minoxidil ,diazoxide ขยายหลอดเลือด
แดง ไม่มีผลต่อหลอดเลือดดา
Sodium nitroprusside ขยายหลอดเลือดแดง และหลอดเลือด
ดา
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ใช้รับประทานระยะยาวรักษาความดันโลหิตสูงระดับรุนแรง: hydralazine ,
minoxidil,
 ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแบบเฉียบพลัน (hypertensive
emergencies): sodium nitropusside, diazoxide
 ใช้ทาภายนอกรักษาภาวะผมร่วง หัวล้าน เพื่อกระตุ้นการสร้างเส้นผม ได้แก่
minoxidil
อาการข้างเคียง
 Hydralazine :
 ปวดศีรษะ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสั่น เหงื่อออก และหน้าแดง รู้สึกร้อนๆหนาว ๆ
 การใช้ยาเป็ นระยะเวลานาน (มากกว่า 6 เดือน) อาจทาให้เกิดภาวะ lupus-like
syndrome ได้
 การใช้ยาในผู้ป่ วยโรคหัวใจขาดเลือด (ischemic heart disease) พบหัว
ใจเต้นเร็ว อาจทาให้เจ็บอก (angina), หัวใจเต้นผิดจังหวะ
อาการข้างเคียง
Minoxidyl และ diazoxide : หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เจ็บอก บวมน้า
(edema), ขนดก (hirsutism)
Sodium nitropusside :
เกิดการสะสมของ cyanide ทาให้เกิด metabolic acidosis,
หัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia),
ความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว และเสียชีวิตได้
Diazoxide :
 ความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว
 น้าและ sodium ions คั่งในร่างกาย ขาบวม น้าหนักเพิ่มอย่างรวดเร็ว
 การใช้ในขนาดสูงทาให้เกิดภาวะน้าตาลในเลือดสูง (hyperglycemia)
อาการข้างเคียง
ยาต้านแคลเซียม
(Calcium channel blockers)
Verapamil, Diltiazem, Nifedipine,
Amlodipine , Felodipine
 กลไกการออกฤทธิ์
 ยับยั้ง/ปิ ดกั้นที่ voltage operated calcium channel
 มีผลยับยั้ง calcium ionsเข้าสู่กล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดและหัวใจ
 ทาให้หลอดเลือดขยายตัวและหัวใจบีบตัวลดลง
Verapamil
Diltiazem
Nifedipine
Amlodipine
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตสูง เช่น verapamil, diltiazem, nifedipine
 ใช้รักษาภาวะเจ็บอก เช่น verapamil
 ใช้รักษาภาวะ supraventricular tachyarrhythmia
 ใช้รักษาอาการไมเกรน เช่น verapamil
 ยาบางชนิดใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว เช่น nicardipine, felodipine
อาการข้างเคียง
 การเต้นของหัวใจช้าลง หัวใจหยุดเต้น (cardiac arrest), หัวใจล้มเหลว, ความ
ดันโลหิตลดลง
 ปวดศีรษะ, มึนงงเวียนศีรษะ,
 ท้องผูก
 อาการบวมของอวัยวะส่วนปลาย (peripheral edema) เช่น ขา เท้า (จากกลไก
การปรับตัวของไตทาให้มีการดูดซึม sodium ions กลับเข้าร่างกายเพิ่มขึ้น)
2.4 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบเรนินแองจิโอเทนซิน
• 2.4.1 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอทติ้ง
(Angiotensin converting enzyme inhibitors ; ACE
inhibitors)
• Captopril, Enalapril, Lisinopril, Benazepril
Enalapril
Captopril
กลไกการออกฤทธิ์
• ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง angiotensin II โดยยับยั้งการทางานของ
angiotensin converting enzyme
• ยับยั้งการเปลี่ยน angiotensin I angiotensin II
• ยับยั้งการทาลาย bradykinin (ออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือด) ส่งผลลด
pheripheral vascular resistance
Mechanism of action
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแบบเฉียบพลัน
 ใช้ในผู้ป่ วยความดันโลหิตสูงร่วมกับภาวะ ischemic heart disease
 ใช้ในผู้ป่ วยความดันโลหิตสูงร่วมกับภาวะเส้นประสาทเสื่อมจากโรคเบาหวาน
(diabetic neuropathy) ช่วยลด protein urea และ คงสภาพการ
ทางานของไต
 รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
 รักษาผู้ป่ วยหลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
อาการข้างเคียง
 การได้รับยาในครั้งแรกอาจพบความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว ปวดเวียนศีรษะ
 **ไอแห้งๆ (dry cough)
 ไตวาย
 เกิดภาวะ hyperkalemia ไม่ควรใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะกลุ่ม potassium-
sparing
 ยาในกลุ่ม NSAIDsอาจทาให้ฤทธิ์ของ ACE inhibitors ลดลงได้จาก ยา
NSAIDs มีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandin ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้าง
bradykinin
2.4.2 ยาออกฤทธิ์ยับยั้ง/ปิ ดกั้นที่แองจิโอเทนซินรีเซพเตอร์
(Angiotensin II receptor blockers ; ARBs)
Losartan, Valsartan, Irbesartan (เออบิซาร์แทน)
 กลไกการออกฤทธิ์
 ยั้บยั้ง/ปิ ดกั้นที่ angiotensin receptor (AT1 receptor)
 ไม่มีผลต่อระบบ bradykinin
 ยับยั้งการทางานของระบบ renin angiotensin ได้ดีกว่ายาในกลุ่ม ACE inhibitors
อาการข้างเคียง
มึนงง เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ
ความดันโลหิตลดลง
ระคายเคืองทางเดินอาหาร
 ก่อให้เกิดอาการไอได้น้อยกว่า ACE inhibitors

More Related Content

What's hot

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree TantisiriUtai Sukviwatsirikul
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
A003
A003A003
A003
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 

Viewers also liked

บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยDr.yababa najra
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...Parun Rutjanathamrong
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนSurapol Imi
 
แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
 
Cpg hyperlipidemia 2558
Cpg hyperlipidemia 2558Cpg hyperlipidemia 2558
Cpg hyperlipidemia 2558
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
 
Losart (Losar
Losart (LosarLosart (Losar
Losart (Losar
 
Periset.ppt
Periset.pptPeriset.ppt
Periset.ppt
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
 
แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
 
Cpg for acne
Cpg for acneCpg for acne
Cpg for acne
 

More from Sirinoot Jantharangkul

More from Sirinoot Jantharangkul (10)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 

Drug Therapy of Hypertension