SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
การออกแบบการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และส่งเสริมกระบวนการคิด
ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วิทยากรหมวดที่ 2
ประเด็นสนทนา
มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
ประเทศไทยที่คุณอาศัยอยู่
มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงมีคุณภาพ
มีความเห็นที่ถูกต้อง เข้าใจสภาพแรงงานของประเทศไทย
มีงานทา มีอาชีพ
อาชีพในอนาคต ชีวิตที่ดีบนพื้นฐานคุณธรรมจริยธรรม
เป็นพลเมืองดี
หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอน (ต่อ)
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และส่งเสริมกระบวนการคิด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ครูผู้ช่วยมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญและส่งเสริมกระบวนการคิด สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้
เนื้อหา
๑) การจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้
๒) การจัดการเรียนรู้โดยวิธีปฏิบัติ
๓) การจัดการเรียนรู้ ที่เน้นกระบวนการคิด
๔) การจัดการเรียนรู้ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมและกระบวนการเรียนรู้อื่น ๆ
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5 on
สอศ.2
สอศ.3
สอศ.4
สอศ.5
สอศ.6
สอศ.7
แนวทางจัดการศึกษาอาชีวศึกษาช่วงโควิด19
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
และส่งเสริมกระบวนการคิด
• 1) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา
• 2) การเรียนรู้จากกระบวนการกระจ่างค่านิยม
• 3) การเรียนรู้โดยบูรณาการการปฏิบัติงานจริง
ในสถานศึกษา
• 4) การบรรยายเชิงปฏิสัมพันธ์
• 5) การเรียนรู้แบบร่วมมือ
• 6) การเรียนรู้โดยการสืบสอบ
• 7) การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีสรรสร้างนิยม
(Constructivism)
• 8) การเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล
• 9) การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
• 10) การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์/ปรากฏการณ์/ฉากทัศน์เป็นพื้นฐาน
• 11) การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
• 12) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน
• 13) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
• 14) การเรียนรู้เชิงผลิตภาพ
• 15) การเรียนรู้ด้วยการนาตนเอง
• 16) การเรียนรู้โดยวิธีโสเครติส
• 17) การเรียนรู้แบบจุลภาค
• 18) การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม
• 19) MIAP
• 20) Team-based Learning
• 21) Workplace-based Learning
• 22) MOOC (Massive Open Online Course)
ฯลฯ
Common Core
Professional Learning Community
การสอนโดยใช้คาถาม (Q/A)
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning)
•MIAP/KMUTNB
•Motivation
•Information
•Application
•Progress
การสอนแบบ MIAP
Motivation
•ขั้นสนใจปัญหา/การจูงใจผู้เรียน
•เตรียมการอย่างดี ปฏิบัติการได้ไม่ติดขัด
•นาผู้เรียนเข้าสู่หัวเรื่องและวัตถุประสงค์ได้ชัดเจน
•ใช้การรวมสื่อประกอบกับเทคนิคการถามช่วยดึงความสนใจให้มากที่สุด
•ใช้เวลากะทัดรัดอย่างเหมาะสม
•พยายามให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้มีส่วนร่วม
•การสรุปจูงใจต้องทาให้ได้อย่างเหมาะสมตรงประเด็นที่จะนาผู้เรียนศึกษาใน
เนื้อหาสาระต่อไป
Information
•ขั้นสนใจข้อมูล
•พร้อมที่จะรับเนื้อหาสาระ
•ขั้นที่ให้ผู้เรียนอ่านจากตารา เรียนรู้ด้วยตัวเอง
•เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่ควรจะได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
•ใช้อุปกรณ์ช่วยสอนและวางขั้นตอนในการให้เนื้อหา
•จากน้อยไปมาก ง่ายไปยาก
•ตรงตามวัตถุประสงค์ตามหลักสูตร
Application
•ขั้นนาข้อมูลมาทดลองใช้
• เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสทดสอบความสามารถภายหลังจากผ่านการรับเนื้อหาสาระว่าเขา มี
การรับเนื้อหาได้มากน้อยเพียงใด มีความเข้าใจเนื้อหาได้มากน้อยเพียงใด
• ก่อให้เกิดการตรวจปรับเนื้อหา ในส่วนที่ผู้เรียนยังรับเนื้อไม่ได้ซ่อมเสริมให้สมบูรณ์ ด้วย
ความถูกต้อง
• ช่วยลดภาวการณ์อิ่มตัวในการรับเนื้อหา ทาให้รับปริมาณเนื้อหาได้มากขึ้น
• ใช้เป็นการทบทวนความจาเพื่อป้องกันการเลือนหาย
• ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนฝึกการใช้สติปัญญาและการแก้ปัญหา เสริมสร้างการส่งถ่าย
การเรียนรู้
Progress
•ขั้นประเมินผล
•ขั้นตอนในการตรวจผลสาเร็จ หรือขั้นตอนในการตรวจสอบ
ความก้าวหน้าในการเรียนรู้
•การวัดและประเมินผล
•พฤติกรรม ความรู้ เจตคติ
•ทักษะ
WIL : Work-Integrated Learning
การสอนแบบสาธิต
Active Learning
พัฒนาครูอาชีวศึกษา
Project-based Learning : PjBL
STEM
STEAM
Project-based Learning (PjBL)
Imagineering
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน Blended Learning
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การเรียนแบบผสมผสาน - แนวตั้ง
. 1 4
การ รียนแ ก ิ 2 ชม. การ รียนแ ออน น 2 ชม.
1. 50% 50%
2. 50% 50%
3. 50% 50%
4. 50% 50%
5. 50% 50%
6. 50% 50%
7. 50% 50%
8. 50% 50%
9. 50% 50%
10. 50% 50%
การเรียนแบบผสมผสาน - แนวนอน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
วิ ีการเรียนรู้ การรียนแ ก ิ รอย 50 การรียนแ ออน นรอย 50
การนาเสนอเนือหาผ่านอินเทอร์เน็ต
(Online Learning)
ระดับการผสมผสาน
(Meaning)
80-100 % การ รียนการสอนออน น (Online Learning)
30-79% การ รียนแ สม สาน (Blended Learning)
1-29% การ ช ว ช่วยสอน (Web Facilitation)
0% การ รียนการสอนแ ก ิ (Tradition)
ขั้นตอนการเรียนรู้แบบผสมผสาน แนวตั้ง
การเรียนปกติ การเรียนออนไลน์
1. ขั้นการนาเข้าสู่บทเรียน
2. ขั้นเสนอเนื้อหา
3. ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4. ขั้นสรุป
5. ขั้นประเมินผล
1. ขั้นเตรียมเข้าสู่ระบบ
2. ขั้นเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. ขั้นการสื่อสารออนไลน์
4. ขั้นปฏิสัมพันธ์เครือข่าย
5. ขั้นการประเมินผล
ขั้นตอนการเรียนรู้แบบผสมผสาน แนวนอน
ขั้นการสอนปกติ – นาเข้าสู่บทเรียน F2F
ขั้นเรียนออนไลน์ – การเข้าสู่ระบบ online
ขั้นเรียนออนไลน์ – การเรียนด้วยตนเอง online
ขั้นเรียนออนไลน์ – การสื่อสารในสังคมออนไลน์ online
ขั้นเรียนออนไลน์ – การฝึกและทดสอบออนไลน์ online
ขั้นการสอนปกติ – การสรุปผลและทดสอบหลังเรียน F2F
การสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)
การเรียนรู้แบบกลับทาง หรือห้องเรียนกลับด้าน
•วิธีเรียนรู้แบบกลับทาง คือเรียนวิชาที่บ้าน ทาการบ้าน
ที่โรงเรียน หรือรับถ่ายทอดความรู้ที่บ้าน แล้วมาสร้าง
ความรู้ต่อยอดจากวิชาที่รับถ่ายทอดมา ให้เป็นความรู้ที่
สอดคล้องกับชีวิต ทาให้เกิดการเรียนรู้ ที่มีพลัง เกิด
ทักษะ ที่เรียกว่า ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ไม่ใช่
นักเรียนเท่านั้นที่เรียนรู้กลับทาง ครูก็สอนกลับทางด้วย
(วิจารณ์ พานิช, 2555)
การเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)
ขั้นตอนการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน
ขั้นตอนนอกห้องเรียน ขั้นตอนในห้องเรียน
1. ผู้เรียนศึกษาการบรรยายผ่าน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
2. ผู้เรียนค้นคว้าและซักถาม
ผู้สอนออนไลน์
3. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาด้วย
ตนเองผ่านออนไลน์
4. ผู้เรียนสรุปความเข้าใจ
1. ผู้สอนแนะนาผู้เรียนให้ทา
การบ้านและงานที่มอบหมาย
2. ผู้เรียนนาเสนองานที่เรียนรู้มา
จากบ้าน
3. ผู้สอนประเมินความรู้และ
ทักษะผู้เรียน
Adaptive Learning
การเรียนรู้แบบจุลภาค
Social Learning
Gamification
Micro-Learning
MOOCs
TPACK
How it work
Remote Learning
คาถาม ???
www.themegallery.com
prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
บทสรุป
•การจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา เป็นสิ่งที่จาเป็น
อย่างยิ่งต่อการเปลี่ยนแปลงระบบการอาชีวศึกษา การสอนแบบฐาน
สมรรถะเป็นการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ และมีคุณลักษณะอันพึ่ง
ประสงค์ มีเจตคติที่ดีในวิชาชีพ เป็นการสอนให้ผู้เรียนมีความสามารถ
ตรงตามวัตถุประสงค์รายวิชา ในแต่ละรายวิชาทางด้านอาชีวศึกษาเมื่อ
เรียนแล้วจะต้องตอบผู้เรียนและสังคมได้ เรียนไปแล้วเขามีสมรรถนะคือ
เขาสามารถทาอะไรได้ เขาทาเป็น เขาทาได้ ไม่ใช่เรียนเพียงเพื่อรู้ว่าคือ
อะไร แต่ไม่สามารถลงมือปฏิบัติหรือประยุกต์ในการทางานได้จริง
คาถาม
ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
081-7037515 LINE : prachyanun
prachyanunn@kmutnb.ac.th
http://www.facebook.com/prachyanun
http://www.prachyanun.com

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshopการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ WorkshopPrachyanun Nilsook
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 

What's hot (20)

เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
SCORM STANDARD
 SCORM STANDARD SCORM STANDARD
SCORM STANDARD
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์
 
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshopการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
กระบวนการวิจัยการสอนออนไลน์
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 

Similar to การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2

การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
สรุปฟัง
สรุปฟังสรุปฟัง
สรุปฟังSchool
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...Wichit Chawaha
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 

Similar to การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2 (20)

การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
สรุปฟัง
สรุปฟังสรุปฟัง
สรุปฟัง
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 

More from Prachyanun Nilsook

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationPrachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfPrachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationPrachyanun Nilsook
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2Prachyanun Nilsook
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์Prachyanun Nilsook
 

More from Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
 

การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2