SlideShare a Scribd company logo
1 of 153
บทที่ 8
ความร้อน และ อุณหพลศาสตร์
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
อุณหพลศาสตร์
(Thermodynamics)-1
อุณหภูมิและความร้อน
กฎข้อที่ศูนย์ทางอุณหพลศาสตร์
การขยายตัวเชิงความร้อน
อุณหพลศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงความร้อน
เชิงมหภาคโดยอาศัยตัวแปรสถานะของระบบ เช่น ปริมาตร (V)
อุณหภูมิ (T) และ ความดัน (P) เป็นต้น
อุณหภูมิ (Temperature : T)
อุณหภูมิ
• เป็นปริมาณที่สื่อให้เห็นว่า
วัตถุนั้น ร้อน หรือ เย็น
เพียงใด. ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
เพิ่ม อุณหภูมิ
พลาสมา
+ - + - + - - +
- + - + - + - + -
- - + - + - + + -
- - + - + - + + -
- - + - + - + + -
- - + - + - + + -
- - + - + + + -
ของแข็งและของเหลว จะประกอบด้วยอะตอม
จานวนมากเชื่อมต่อกันด้วยระยะประมาณ 10-10 m
ด้วยแรงดึงดูดทางไฟฟ้า. ในสถานะของเหลว
,แก๊สหรือพลาสมา อะตอมหรือโมเลกุล(รวมทั้ง
ไอออน) จะมีการเคลื่อนที่แบบสุ่ม
การวัดอุณหภูมิ หน่วยวัดอุณหภูมิ และเทอร์โมมิเตอร์
สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales)
องศาฟาเรนไฮต์ (degree Fahrenheit : 0F)
นิยามจากช่วงอุณหภูมิที่สัตว์เลี้ยงในฟาร์มจะดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวเอง (0 0F คือ เย็น
ที่สุด และ 100 0F คือ ร้อนที่สุด)
องศาเซลเซียสหรือเซลติเกรด (degree Celsius or Centigrade : 0C)
นิยามจากคุณสมบัติของคุณสมบัติของน้าที่ผิวโลก ณ ระดับน้าทะเล (0 0C คือ จุดเยือก
แข็ง และ 100 0C คือ จุดเดือด)
0 05
( ) ( ) 32
9
T C T F   
0 0
0 0
0 32
0 17.78
C F
F C

 
0 09
( ) ( ) 32
5
T F T C 
เคลวิน (Kelvin : K)
นิยามจากจุดอุณหภูมิที่พลังงานระดับโมเลกุลมีค่าต่าสุดซึ่งกาหนดเป็นศูนย์องศาสัมบูรณ์
(Absolute zero) หรือ 0 K  -273.150C
15.273)()( 0
 CTKT 15.273)()(0
 KTCT
สเกล 1 K = 1 0C
สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales)
tx
tKtCtFt
สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales)
15.27315.373
15.273
0100
0
32212
32










 KCFx ttt
FPBP
FPt
100
15.273
100180
32 




 KCFx ttt
FPBP
FPt
สาหรับ ตัวแปรอุณภูมิเคลวินนิยามเขียนด้วย T
จับคู่ 0C กับ 0F :
100180
32 CF tt


   32
9
5
32
180
100
 FFC ttt
จับคู่ 0C กับ K :
100
15.273
100


TtC
15.273 TtC
เครื่องวัดอุณหภูมิ :
เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer)
เทอร์โมมิเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิT โดยใช้หลักการสมดุลทางความ
ร้อน (Thermal equilibrium)
“สสารทุกชนิด จะไม่มีการถ่ายเทความร้อนซึ่งกันและกัน เมื่อสสาร
เหล่านั้นมีอุณหภูมิหรือระดับความร้อนเท่ากัน”
สมบัติของเทอร์โมมิเตอร์
• ความไวสูง
• แม่นยา
• ผลิตง่าย
• เข้าสู่สมดุลทางความร้อนได้เร็ว
ชนิดของเทอร์โมมิเตอร์
ตัวอย่างชนิดของเทอร์โมมิเตอร์
แบบแก๊สปริมาตรคงที่แบบของเหลวบรรจุในหลอดแก้วยาว
ตัวอย่าง : มาตรอุณหภูมิฟาเรนไฮต์อันหนึ่ง ซึ่งมีจุดเยือกแข็ง
และจุดเดือดของน้าเป็ น 32 และ 212oF ตามลาดับ อ่านอุณหภูมิ
ของน้าในภาชนะใบหนึ่งได้เท่ากับ 122oF จงหาอุณหภูมิของน้า
ในภาชนะใบนั้นเป็ นองศาเซลเซียสและเคลวิน
100
15.273
100180
32 




 KCFx ttt
FPBP
FPt
Ktt CK 15.32315.273 
Ctt FC

 50)32122(
9
5
)32(
9
5
กฎข้อที่ศูนย์ทางอุณหพลศาสตร์
(The zeroth law of thermodynamics)
“ถ้าระบบสองระบบต่างอยู่ในภาวะสมดุลทางความร้อนกับระบบที่สามแล้ว
ระบบทั้งสองนี้ต่างก็อยู่ในภาวะสมดุลทางความร้อนซึ่งกันและกันด้วย”
• ถ้าอุณหภูมิที่ A เท่ากับที่ C
• และอุณหภูมิที่ C เท่ากับที่ B
• อุณหภูมิที่ A จะเท่ากับที่ B
ตัวกลาง (mediums)
ตัวกลางแอเดียแบติก (adiabatic medium; A; ) คือตัวกลางสมมติที่ไม่
ยอมให้พลังงานความร้อนผ่านได้เลย เช่น ฉนวน
ตัวกลางไดอะเทอร์มิก (diathermic medium; D; ) คือตัวกลางสมมติที่
ยอมให้พลังงานความร้อนผ่านได้ดี เช่น โลหะตัวนา
DS1 S2
A
D D
A
S1 S2
S3
The zeroth law of thermodynamics
The zeroth law of thermodynamics
ระบบ 2 ระบบที่อยู่ในสมดุลความร้อนย่อมมีอุณหภูมิเท่ากัน
หลักการเทอร์โมมิเตอร์ : สมดุลความร้อน(อุณหภูมิเท่ากัน)
• ถ้าเราวางวัตถุที่ร้อนให้สัมผัสกับวัตถุที่เย็น
วัตถุที่ร้อนก็จะเย็นตัวลง และวัตถุที่เย็นก็จะ
ร้อนขึ้น
• ในที่สุดความร้อนก็จะไม่มีการถ่ายเท
ระหว่างวัตถุทั้งสอง
• เรียกว่าวัตถุทั้งสองอยู่ในสมดุลความร้อน
• หรือ วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน
อุณหภูมิ
 คือ การวัดว่าวัตถุนั้น มีความร้อน เย็น แค่ไหน
 การบอกระดับความร้อนจากการสัมผัสมี
ข้อจากัด และในหลายกรณีก่อให้เกิดความผิดพลาด
ได้ง่าย
การขยายตัวเชิงความร้อน (Thermal Expansion)
วัสดุส่วนใหญ่ขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน:
ระยะห่างระหว่างอะตอมเพิ่มมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิต้องไม่มากนัก(ไม่มากพอที่จะทาให้วัสดุมีการ
เปลี่ยนแปลงสถานะ)
และผลของอุณหภูมิที่เปลี่ยนทาให้ขนาดของสารเปลี่ยนแปลง เช่นความยาว
เปลี่ยนไป
การขยายตัวของสารจากความร้อน (Thermal expansion)
โดยทั่วไปการขยายตัวตามเส้นจะแปรตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง
0lll 
0ttt 
เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตามเส้น
tll  0
ดังนั้นสามารถเขียนได้ว่า
 tll  10
การขยายตัวตามพื้นที่  0 1A A t  
การขยายตัวตามปริมาตร  0 1V V t  
การขยายตัวตามเส้น
และจะได้ว่า
เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตามพื้นที่
เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตาม
ปริมาตร
การขยายตัวของสารจากความร้อน
0 (1 )A A T  
ขยายตัวตามเส้น ขยายตัวตามพื้นที่ ขยายตัวตามปริมาตร
 0 1L L T    0 1V V T  
 2 และ  3โดยทั่วไป
การขยายตัวของสารจากความร้อน
ผลกระทบจากการขยายตัวเชิงความร้อน
ตัวอย่าง: แท็งก์เหล็กขนาดความจุ 70 ลิตร บรรจุน้ามันไว้จนเต็ม ถ้าในวันหนึ่ง
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจากเดิม 20 oC ไปเป็น 35 oC. จะมีน้ามันปริมาณเท่าใดที่จะ
ล้นหกไป
TVV
TVVV
TVV
o
o






0
0
)1(



70 L
steel
petrol
สาหรับของเหลว การเปลี่ยนแปลงปริมาตร :
L998.0m1098.9
)2035()101070(10950
34
636




สาหรับแท็งก์โลหะ :
L038.0998.0
950
36
V 
0.998 0.038 0.960 litre  เป็นปริมาณน้ามันที่ล้นหกไป
-1
-6
petrol( = 950 x 10 C )
-1
-6
steel( = 36 x 10 C )
TV
p
TV
t
V
V
p
t



 
0
0


การประยุกต์ใช้งาน
การขยายตัวของรูกลางวัตถุ
Physics 207105
Thermodynamics-2
อุณหพลศาสตร์
(Thermodynamics)-2
พลังงานความร้อน
ความร้อนและการถ่ายเทความร้อน
ความจุความร้อน และ ความจุความ
ร้อนจาเพาะ
การถ่ายเทความร้อน
พลังงานความร้อน (Thermal Energy)
การทดลองของ จูล (James Pascott Joule; 1818–1889)
ให้แนวคิด
สมมูลเชิงกลความร้อน
(Mechanical equivalent of heat)
หรือ สมมูลของจูล (Joule’s equivalent)
นับว่าเป็นจุดที่สาคัญที่เชื่อมระหว่าง
ปริมาณความร้อนเข้ากับพลังงาน
ความร้อนได้เป็นอย่างดี
Mechanical equivalent of heat
ความร้อนและการถ่ายเทความร้อน (Heat and heat transfer)
หน่วยของความร้อน
คาลอรี (calorie : cal) : 1 cal = ความร้อนที่ทาให้น้า 1 gm ณ 14.50Cมีอุณหภูมิ
สูงขึ้น 10C
BTU (British Thermal Unit) : 1 BTU = ความร้อนที่ทาให้น้า 1 pound มี
อุณหภูมิสูงขึ้น 1 0F (630F ไปเป็น 640F)
ซึ่ง 1 BTU  1055 จูล  251.996 cal (1 pound  0.4536 kg)
การทดลองของจูล (Joule)
พลังงานกล พลังงานความร้อน
work
4.18605
heat
J
cal
ค่าสมมูลย์ความร้อนกล (J) =
ความร้อน (Heat) คือ รูปหนึ่งของพลังงานที่ส่งผ่านเนื่องจากผลต่างระหว่างอุณหภูมิ
1 cal = 4.186 J
ความจุความร้อนและความจุความร้อนจาเพาะ
(Heat capacity and specific heat capacity)
Kg
cal
น้า

 00.1c
ความจุความร้อน คือ ความร้อนที่เปลี่ยนแปลงต่ออุณหภูมิ :
T
Q
C



ทาให้เป็นปริมาณไม่ขึ้นกับมวล (intensive variable) โดยการหารด้วยมวล
T
Q
mm
C
c



1 เรียกว่า ความจุความร้อนจาเพาะ
(specific heat capacity)
ทั้งค่า C และ c จะไม่คงที่ โดยจะขึ้นกับอุณหภูมิ T
ในกรณีที่หารด้วยจานวนโมล n จะได้
T
Q
n
c



1 เรียกว่า ความจุความร้อนจาเพาะเทียบกับโมล
(molar specific heat capacity)
การวัดค่าความจุความร้อน
การหาค่าความจุความร้อนสามารถทาได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Calorimeter
ในกรณีให้ความร้อนจากไฟฟ้าจะได้ว่า
พลังงานไฟฟ้าที่ให้ = (mcT)ของเหลว+
(mcT)กระป๋ องโดยการชั่งมวลและวัดอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง
จะสามารถหาค่าความจุความร้อนจาเพาะ c ได้
ตัวอย่างความจุความร้อน
จาเพาะของของแข็งต่าง ๆ ฉนวน
กระป๋ อง
ขดลวดต้านทาน
ตัวอย่าง : ต้องเติมนมที่มีอุณหภูมิ 4oC ปริมาณเท่าใดลงใน
กาแฟ 0.25 kg ที่มีอุณหภูมิ 95oC เพื่อให้ได้อุณหภูมิสุดท้ายเป็ น
70oC (ถ้าพิจารณาให้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของแก้วกาแฟมี
น้อยมาก)
ให้
ccoffee = cwater = cmilk
=4180 J/kg-C
นม
กาแฟ
HLoss = HGain
ความร้อนของกาแฟที่ลดลง = ความร้อนของนมที่เพิ่มขึ้น
วิธีทา
gm
kgm
m
TcmTcm
m
m
m
mmmccc
5.9
0095.0
)470(4180)7095(418025.0




ตัวอย่าง : เมื่อใส่ก้อนอะลูมิเนียมมวล 120 กรัม ลงใน แคลอรี
มิเตอร์ ที่มีน้า อุณหภูมิ 20oC อยู่ 1.5 กิโลกรัม ถ้าก่อนใส่ก้อน
อะลูมิเนียมมีอุณหภูมิ เท่ากับ 205oC ให้หาว่าสุดท้ายแล้ว
อุณหภูมิของน้าจะเป็ นเท่าใด กาหนด cAl = 900 J/kg.oC-1
1.5 kg
ก่อนใส่
120 g205 oC
20 oC
หลังใส่
TF = ?
HLoss = HGain
ความร้อนของก้อนอะลูมิเนียมที่ลดลง = ความร้อนของน้าที่เพิ่มขึ้น
วิธีทา
C23T
)20T(41805.1)T205(90010120
F
FF
3

 
NOTE: อุณหภูมิของน้า 3 oC
อุณหภูมิของก้อนอลูมิเนียม 182 oC
wwwAlAlAl TcmTcm 
ความร้อนแฝง (Latent heat; L)
ความร้อนแฝง คือ ความร้อนที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสาร
• จากของแข็งเป็นของเหลว : ความร้อนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion)
• จากของเหลวเป็นแก๊ส : ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Latent heat of vaporization)
• ณ จุดที่เปลี่ยนสถานะอุณหภูมิคงที่ ความร้อนที่ให้จะไปใช้ในการเปลี่ยนสถานะ
หลอมเหลว กลายเป็นไอ(เดือด)
ของแข็ง (S)
ของเหลว (L)
(L)+(S)
ของเหลว (L)
แก๊ส (G)
(L)+(G)
นิยาม
ความร้อนแฝงของการหลอม m mQ mL
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ vv mLQ 
เมื่อ m คือ มวลของระบบ
Lf และ Lv คือ ความร้อนแฝงจาเพาะ (specific latent heat) ของ
การหลอมเหลวและการกลายเป็นไอตามลาดับ
ตัวอย่าง สาหรับน้า
f fQ mLหรือ
79.7cal/gm 334J/gmL
m
 
539cal/gm 2260J/gmL
v
 
ความร้อนแฝง (Latent heat; L)
Graph of Ice to Steam
A=Warming Ice B=Melting Ice C=Warming Water
D=Boiling Water E=Heating Steam
ตัวอย่าง : ใส่ก้อนน้าแข็งมวล 20 กรัม ที่มีอุณหภูมิ 0oC ลงในกระป๋ อง
แคลอรีมิเตอร์ที่ทาจากทองแดง ที่มีน้ามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 20 oC โดยที่
กระป๋ องแคลอรีมิเตอร์มวล 500 กรัม ถ้ากระป๋ องแคลอรีมิเตอร์ และ น้ามี
อุณหภูมิ 8oC ตอนที่น้าแข็งละลายหมด จงหา Lf ของน้าแข็ง
HG = HL
15
F kgJ1034.3L 

F i i i i c c c w w wL m m c T m c T m c T      
)cal(waterHL)cal(HL)ice(waterHGiceHG 
0 oC, 20 g
20 oC, 500 g
น้าแข็ง
20 oC, 100 g
CW = 4180 J kg-1 oC-1
Cc = 390 J kg-1 oC-1
3 3
( 20 10 ) [20 10 4180 (8 0)]FL  
       [0.5 390 (20 8)] [ 0.1 4180 (20 8)]       
การถ่ายเท (โอน) ความร้อน (Heat transferring)
การถ่ายเทความร้อน
• การนาความร้อน (conduction)
• การพาความร้อน (convection)
• การแผ่รังสีความร้อน (radiation)
การนาความร้อน
สถานะคงที่ (steady state) : t  
T1
T2
T1 > T2
Q
x
T
kA
t
Q




 ค่าคงที่


t
Q
อัตราการส่งผ่านความร้อนไม่เปลี่ยนตามเวลา
adiabatic
Temperature gradient =
x
T


ที่ steady state : คงที่
dt
dQ
x
T
A
t
Q





αα
dx
dT
A
dt
dQ
ααหรือ
คงที่


t
Q
หรือ
กล่าวคือ
ดังนั้น dx
dT
kA
dt
dQ

เรียก H
dt
dQ
 ว่าเป็นอัตราการถ่ายเทปริมาณ
ความร้อน (Rate of heat flow หรือ Heat current)
นั่นคือ
dx
dT
kAH 
เมื่อค่าคงที่ k คือ ส.ป.ส. การนาความร้อน(สภาพนาความร้อน): Watt/m.K
T1
T2
T1 > T2
Q
การนาความร้อน
กฎการนาความร้อนของฟูเรียร์ (Fourier’s heat conduction law)
การนาความร้อน
สาหรับแท่งวัตถุพื้นที่หน้าตัด A ยาว L ขณะที่ปลายร้อนเป็น T1 ส่วนที่
ปลายเย็นเป็น T2 ที่ steady state จะคานวณ H ได้ดังนี้
dx
dT
kAH  kAdTHdx 
ดังนั้น  
2
10
T
T
L
kAdTHdx เมื่อ H มีค่าคงที่เนื่องจาก steady state
ได้  12 TTkAHL 
   2 1 cold hot
kA kA
H T T T T
L L
     
T1 T2
L
Q
T1 > T2
การนาความร้อน
ผนังประกอบ (compound wall)
ที่ steady state : H คงที่
สาหรับ L1 :
สาหรับ L2 :
 xTT
L
Ak
H  1
1
11
 2
2
22
TT
L
Ak
H x  H
รอยต่ออุณหภูมิ
Tx
x
ถ้า A1 = A2 = A ได้  
2
2
1
1
21
k
L
k
L
TTA
H



รูปแบบทั่วไปสาหรับหลายผนังประกอบ คือ
   2 1 hot cold
i i
i i
A T T A T T
H
L L
k k
 
 
 
T2 > T1
L
การนาความร้อน
ทรงกระบอกกลวง
ภายใน : รัศมี r1, อุณหภูมิ T1
ภายนอก:รัศมี r2, อุณหภูมิ T2
โดย T1 > T2
ที่รัศมี r ใด ๆ ในโลหะ statesteady,คงที่
dx
dT
kAH
พื้นที่ที่ส่งผ่านความร้อน ณ ที่ r ใด ๆ คือ A = 2 r L
ดังนั้น  
dr
dT
LrkH 2
  


2
1
2
1
2
T
T
rr
rr
dTLk
r
dr
H 
 12
1
2
2ln TTkL
r
r
H  
 
 
 
 
1 2
2 1 2 1
2 2
ln ln
hot coldkL T T kL T T
H
r r r r
  
 
การพาความร้อน
การพาความร้อน เป็นกระบวนการถ่ายโอนพลังงานความร้อนผ่านของไหล
- การพาอย่างอิสระ (natural/free convection)
- การพาอย่างไม่อิสระ (forced convection)
ทั้งสองลักษณะขึ้นกับ
1. รูปลักษณะผิววัตถุ
2. ผิววัตถุอยู่แนวดิ่งหรือราบ
3. ตัวกลางที่พาความร้อน(เหลวหรือแข็ง)
4. ความหนาแน่น ความหนืด ความร้อนจาเพาะ
สภาพนาความร้อนของตัวกลาง
5. ตัวกลางเคลื่อนที่แบบสม่าเสมอหรือวกวน
6. ขณะพาความร้อน ตัวกลางเปลี่ยนสถานะหรือไม่
การพาความร้อน
การระเหย
เป็นการพาความร้อนในลักษณะหนึ่ง
น้า จะต้องใช้พลังงานในการระเหย = 241 J/gm ที่ 37 0C
ตัวอย่างผิวหนังและปอดของมนุษย์ จะระเหยน้าประมาณ 600 gm/วัน คานวณหา
อัตราความร้อนที่สูญเสีย
วิธีทา ในการระเหย น้า 1 gm จะใช้พลังงาน 241 J
น้า 600 gm จะใช้พลังงานในการระเหย = 1.45105 J
5
1.45 10 J
1.7 1.7 Watt
24 60 60 s
Q
H
t
 
   
  
*เมตาบอริซึมคนปกติ  120 Watt ดังนั้น น้าระเหย 600 gm/วัน  1% metabolism
ตอบ
การแผ่รังสีความร้อน
กาหนดให้ อัตราการแผ่รังสี = Re
และ R  A
 Te
4
(e : emission , ปลดปล่อย)
เมื่อ A = พื้นที่ผิวของวัตถุ
Te = อุณหภูมิของวัตถุ : เคลวิน
เขียน 4
ee ATR 
เมื่อ
 = Stefan-Boltzmann constant
= 5.6710-8 W/m2-K4
 = สภาพเปล่งรังสี (emissitivity) ;
มีค่า 0 ถึง 1
= ความสามารถในการแผ่รังสีของวัตถุ
กฏของสเตฟาน-โบลต์ซมานน์
EMW: คลื่นวิทยุ-โทรทัศน์, microwave, infrared, light, UV, X-ray, gamma
การแผ่รังสีความร้อน
วัตถุตั้งในสิ่งแวดล้อมอุณหภูมิ Ta วัตถุจะดูดกลืนรังสีจากสิ่งแวดล้อม
4
aa ATR  (a : absorption , ดูดกลืน)
: (0-1)
เมื่อ Ra = อัตราการดูดกลืนรังสีของวัตถุ
Ta = อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม, เคลวิน,
ถ้า Te > Ta อุณหภูมิวัตถุลดลง , Re > Ra
Te < Ta อุณหภูมิวัตถุเพิ่มขึ้น , Re < Ra
ปริมาณสุทธิที่วัตถุได้รับพลังงาน
R = Re - Ra
R เป็นลบ อุณหภูมิของวัตถุจะเพิ่ม
R เป็นบวก อุณหภูมิของวัตถุจะลด
ดูด
แผ่
Te = อุณหภูมิของวัตถุ : เคลวิน
ตัวอย่าง : จงหา Q ที่ทาให้น้าแข็ง 250 g ที่ 00C
กลายเป็ นน้าหมดและสุดท้ายน้า 10 g เดือดกลายเป็ นไอ
(กาหนด cน้า = 4.2 kJ/kg-K, Lm=334 kJ/kg,
Lv=2260 kJ/kg)
วิธีทา
น้าแข็ง  น้าที่ 00C:    1 = 0.25kg × 334kJ/kg 83.5kJmQ mL 
น้าที่ 00C  น้า 1000C:
น้า 10 g ไอน้า 1000C :    3 0.01kg × 2260kJ/kg = 22.6kJvQ mL 
ดังนั้น ความร้อนทั้งหมดที่ต้องใช้เท่ากับ 83.5 kJ + 105 kJ + 22.6 kJ = 211.1 kJ
kJKKKgkJkgTmcQ 105100)/2.4()25.0(2 
ตัวอย่าง : แผ่นทองเหลือง 2 แผ่น แต่ละแผ่นมีความหนา 0.5 cm ระหว่างแผ่น
ทั้งสองมีแผ่นยางวางกั้นอยู่เป็นแซนวิชหนา 0.1 cm ผิวนอกของแผ่นหนึ่งมี
อุณหภูมิ 00C และผิวนอกของอีกแผ่นมีอุณหภูมิ 1000C จงหาค่าอุณหภูมิที่ผิวทั้ง
สองของแผ่นยางที่ถูกประกบอยู่โดยสมมติให้การถ่ายเทความร้อนเป็นแบบมิติ
เดียว สภาวะคงตัว และ ขนาดพื้นที่หน้าตัดขวางของแผ่นทองเหลืองและยางมี
ค่าเท่ากัน (กาหนดให้สภาพการนาความร้อนของทองเหลืองมีค่า 490 เท่าของ
สภาพนาความร้อนของแผ่นยาง)
00C1000C
0.5cm 0.5cm
0.1cm
ทองเหลือง
ยาง
วิธีทา กาหนดที่ผิวแผ่นยางทั้งสองด้านมีอุณหภูมิ T1 และ T2
ณ ที่สภาวะคงที่ ความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างชั้นของวัสดุจะมีค่าเท่ากัน (ความร้อนขา
เข้าจะเท่ากับความร้อนขาออก) ดังนั้น
จาก 1 และ 2 จะได้ 1 299 9800T T  จาก 2 และ 3 จะได้ 2 199 0T T และ
จากการแก้สมการจะได้ว่า 0
1 99T C 0
2 1T C ตอบ
)3.....(..........
50.0
)0(
)2.....(..........
10.0
)(
)1.....(..........
50.0
)100(
2
12
1
T
AkH
TT
AkH
T
AkH
brass
rubber
brass






490
rubber
brass
k
k
T1 T2
100C 0C
Physics 207105
Thermodynamics-3
อุณหพลศาสตร์
(Thermodynamics)-3
กฎเกี่ยวกับแก๊ส
และทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
กฎเกี่ยวกับแก๊สและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
(Gas law and kinetic theory of gas)
นิยามของแก๊สอุดมคติ
• แก๊สที่ประกอบด้วยจานวนโมเลกุลจานวนมาก (>1026 ตัวต่อลบ. เมตร)โดยที่
โมเลกุลเหล่านั้นมีการเคลื่อนที่แบบสุ่ม ตามลักษณะที่เรียกว่าแบบบราวน์ (Brownian
motion) และความเร็วต่างๆ กันไป
• ขนาดของแต่ละโมเลกุลซึ่งมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างโมเลกุล
• โมเลกุลเหล่านั้นประพฤติตัวตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน โดยที่ไม่มีแรงกระทา
ระหว่างโมเลกุล ยกเว้นเมื่อเกิดการชนกันของโมเลกุลเท่านั้น
• การชนกันระหว่างโมเลกุลนั้น เป็นการชนแบบยืดหยุ่น คือ ไม่มีการสูญเสีย
พลังงานเลย มีการอนุรักษ์ทั้งพลังงานจลน์และโมเมนตัม
• สาหรับระบบที่ประกอบด้วยแก๊สบริสุทธิ์ชนิดหนึ่ง ย่อมแสดงว่าโมเลกุลของแก๊ส
ดังกล่าวต่างคล้ายกัน
Brownian Motion
กฎเกี่ยวกับแก๊สและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law)
สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ(สถานะ)ของระบบ P,V, T
และ n (สมการสถานะ,equation of state) ของแก๊สอุดมคติ
กฎของบอยล์ (Boyle’s law) :
กฎของชารลส์ (Charles’s law) :
กฎของเกย์-ลุคแซค (Gay-Lussac’s law) :
กฎของอาร์โวกาโดร (Avogadro’s law) :
1
α ; , constantV T n
P

α ; , constantV T P n 
α ; , constantP T V n 
α ; , constantV n T P 
n คือ จานวนโมลของสาร และ T เป็นอุณหภูมิหน่วย K
กฎของบอยล์
1 1
α α ; , constantV P T n
P V
 


332211 VPVPVP
PV ค่าคงที่
หรือ
กราฟ ไฮเปอร์โบลาของ P กับ V
กฎของชารลส์
constant,;α nPTV เมื่อ
อุณหภูมิ T ยิ่งสูง
แก๊สยิ่งมีปริมาตร V สูง
31 2
1 2 3
constant
N
N
V
T
V VV V
T T T T

   
กฎของเกย์-ลุคแซค
tcons
T
P
tan
constant,;α nVTP เมื่อ
Heat
T1 T2 T3
V V V
1 atm 2 atm 4 atm
< <
กฎของอาโวกาโดร์ (Avogadro's Law)
4.22
V
n 
ที่อุณหภูมิ T และความดัน P คงที่ ปริมาตร V จะแปรผันตามจานวนโมล n ของแก๊ส
constant,;α TPnV เมื่อ
STP (Standard temperature and pressure :
อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน)
ปริมาตรต่อโมลของแก๊สที่ STP
ที่ STP (1 atm, 25 0C) แก๊ส 1 โมล จะมีปริมาตรประมาณ 22.4 ลิตร (103 cm3)
กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas’s law)
รวม nRTPV 
เมื่อ R = universal gas constant
= 8.31 J/K-mole (ค่าคงที่แก๊สสากล)
สมการแก๊สอุดมคติ
ถ้าให้ N = จานวนโมเลกุลของแก๊ส
NA = Avogadro’s number
= 6.021023 อนุภาค/โมล
เนื่องจากจานวนโมล n = N/NA
ดังนั้น NkTRT
N
N
PV
A

เมื่อ k = R/NA
= ค่าคงที่โบลทซ์มานน์ = 1.3810-23J/Kconstant
PV
Tn

หน่วยของความดัน
หน่วยมาตรฐานต่าง ๆ ของความดันและการแปลงหน่วย
ตัวอย่าง : O2 ในถังมี V = 40 dm3 เดิมมี P = 20 atm และ T =
270C ต่อมาแก๊สรั่วจนเหลือความดัน 4 atm และมีอุณหภูมิ 200C
จงหาแก๊สรั่วไปกี่กิโลกรัม (กาหนดให้มวลโมเลกุลของ O2 = 32
และ T(K)  T(0C)+273 )
M
g
n 
วิธีทา
5
1 20 1.013 10 PaP    5
2 4.0 1.013 10 PaP   
1 273 27 300KT    2 273 20 293KT   
3 3
1 2 40 10 mV V 
  
จาก PV nRT
  
  
5 2 3 3
1 1
1
1
20 1.013 10 N/m 40 10 m
32.51mol
8.31J/mol-K 300K
PV
n
RT

  
  
  
  
5 2 3 3
2 2
2
2
4.0 1.013 10 N/m 40 10 m
6.66mol
8.31J/mol-K 293K
PV
n
RT

  
  
ดังนั้นแก๊สรั่วไป n1 - n2 = 32.51 - 6.66 = 25.85 mol
หรือแก๊สรั่วไปเท่ากับ (25.85 mol)(32 g/mol) = 827g = 0.827 kg ตอบ
กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย
(Dalton’s law of partial pressure)
AA N
R
k
N
N
n  ,
“สาหรับแก๊สผสม ความดันของแก๊สแต่ละชนิดขึ้นกับจานวนโมเลกุลของแก๊สชนิดนั้น”
สมมุติ แก๊ส 3 ชนิดมีจานวนโมเลกุล N1, N2 และ N3 ตามลาดับแล้วผสม
กันได้แก๊สรวมที่มีจานวนโมเลกุล N (แก๊สไม่มีปฏิกิริยาต่อกัน)
N = N1 + N2 + N3
จาก nRTPV  หรือ NkTPV 
ได้  kTNNNPV 321 
V
kTN
V
kTN
V
kTN
P 321

1 2 3P P P P   ความดันร่วม = ความดันย่อยบวกกัน
เมื่อ
กฎความดันย่อยของดาลตัน
nP α
ความดันของแก๊สแต่ละชนิดจะเป็นสัดส่วนกับจานวนโมล ของแก๊ส ความดันรวม
ทั้งหมดจะเป็นผลรวมของความดันของแก๊สแต่ละชนิด

i
iPP
• สาหรับแก๊สผสมในภาชนะเดียวกันที่อุณหภูมิ T เดียวกัน แก๊สทุกชนิดจะมี
ปริมาตร V เท่ากัน
• และจากกฎความดันย่อย P = P1 + P2 + P3 + …
• จากสมการของแก๊สอุดมคติ PV = nRT  P = nRT/V
• จะได้ว่า ...,,, 332211 RTnVPRTnVPRTnVP 
...,,, 332211
nRT
RTn
PV
VP
nRT
RTn
PV
VP
nRT
RTn
PV
VP

ดังนั้น xPP
n
n
P i
i 






นิยาม เศษส่วนโมล (mole faction) x ของแก๊สใด ๆ หมายถึง อัตราส่วนของโมล
ของแก๊สชนิดนั้นเทียบกับจานวนโมลทั้งหมดของแก๊สผสม
กฎความดันย่อยของดาลตัน
ตัวอย่างกฎความดันย่อย
ตัวอย่าง : ถัง A บรรจุ O2 ความดัน 1 atm ถัง B บรรจุ H2 ความดัน 2 atm และถัง C
บรรจุ N2 ความดัน 3 atm เมื่อนาถังแก๊สทั้งสามถังมาต่อเข้าด้วยกัน ความดันรวมจะเป็น
เท่าใด ถ้าปริมาตร A = 2 litre , B = 3 litre และ C = 5 litre (ในการผสมอุณหภูมิคงที่)
วิธีทา nRTPV 
วิธีที่ 1 คิดในรูปแบบโมล (n) การผสมเป็นระบบปิด
จานวนโมเลกุลหลังผสม = ก่อนผสม n = nA + nB + nC
ถัง A,
A
AA
A
RT
VP
n 
ถัง B,
B
BB
B
RT
VP
n 
ถัง C,
C
CC
C
RT
VP
n 
และเมื่อรวมกันแล้ว
CBA VVVV 
และจานวนโมลรวม
RT
PV
n 
แทนค่า
 A B CC CA A B B
A B C
P V V VP VP V P VPV
RT RT RT RT RT
 
   
เนื่องจากอุณหภูมิคงที่ T = TA = TB = TC
ได้
(1)(2) (2)(3) (3)(5)
2.3atm
2 3 5
A A B B C C
A B C
P V P V P V
P
V V V
 

 
 
 
 
วิธีที่ 2 ใช้กฎของดาลตัน P = PA + PB + PC
ก่อนผสม ถัง A, A A A AP V n RT
ถัง B, B B B BP V n RT
ถัง C, C C C CP V n RT
และเมื่อผสมกัน
CBA VVVV 
ตอบ
n = nA + nB + nC
คิดในรูปแบบความดัน (P)
สมมุติ ความดันของแก๊สแต่ละชนิดเป็น
PA, PB, และ PC ตามลาดับ
หลังผสม ถัง A, A AP V n RT 
ถัง B, B BP V n RT 
ถัง C, C CP V n RT 
เมื่อ T คือ อุณหภูมิของการผสม
และ T = TA = TB = TC
ดังนั้น A
A
n RT
P
V
  B
B
n RT
P
V
 
C
C
n RT
P
V
 , ,
atm3.2



CBA
CCBBAA
VVV
VPVPVP
P





 CBA PPPP
ตอบ
CBA VVVV 
โดยที่
n = nA + nB + nC
ความสาคัญของความดันย่อย
บริเวณที่สูงกว่าระดับน้าทะเลมาก ๆ ความดันย่อยของ O2 จะมีค่าน้อย
กว่า 40 torr การหายใจจะติดขัด
บริเวณที่ลึกลงไปใต้ทะเลถ้าความดันย่อยของ O2 มากกว่าหรือเท่ากับ 2
บรรยากาศจะทาให้เกิดอาการชักหรือโคม่าได้
ถ้าความดันย่อยของ N2 มากกว่าหรือเท่ากับ 3.9 บรรยากาศจะทาให้แก๊ส
ไนโตรเจนเป็นพิษ (Nitrogen narcosis) ทาให้เกิดอาการมึนงงไม่มีสติ
ดังนั้นในการดาน้าลึก ถังอากาศจะผสมระหว่าง He 97% กับ O2 3%
แทนการใช้ N2 และหัวควบคุมแก๊สจะปรับให้แก๊สที่ใช้หายใจมีความดัน
เท่ากับความดันสมบูรณ์ที่กดตัวนักดาน้าเสมอ
บทสรุปกฎของแก๊ส

i
iPP
nP αIncrease P Increase V Increase V
T,n คงที่
P,n คงที่ T,P คงที่
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas)
“เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของแต่ละโมเลกุล”
แบบจาลองของแก๊สอุดมคติ
1. เป็นทรงกลมขนาดเล็ก
2. เคลื่อนที่ตลอดเวลาแบบสุ่ม
แบบ Brownian motionโดยมีทิศทางและ
ความเร็วต่างกัน
3. การชนกันระหว่างโมเลกุลเป็นแบบ
ยืดหยุ่นสมบูรณ์ (KEก่อน = KEหลัง)
4. หลังจากการชน ขนาดของความเร็วเท่าเดิม
5. ใช้กฎความดันและกฎของนิวตันในการอธิบาย
ความดันของแก๊สอุดมคติ
A
F

area
Force
Pressure
t
p
F




ดการชนเวลาที่เกิ
ััมแปลงโมเมนตการเปลี่ยน
แรงดล
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม(แกน x)
   mvmvppp  12
mvp 2
กฎการเคลื่อนที่ข้อสองของนิวตัน F=ma
t
v
m
t
p
Fext







แรงที่ทาต่อผนัง
tFp 

การดล
ดังนั้น หากพิจารณาเฉพาะขนาด;
t
mv
Fext



2
กาหนดให้ FW = แรงที่โมเลกุลกระทาต่อผนัง
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน extW FF


ได้
t
mv
FW


2
A
d = vt
6 ทิศทาง
โมเลกุลที่วิ่งชนผนังบนพื้นที่ A ต้องอยู่ในปริมาตร V = Ad
ถ้าสมมุติใน V มีโมเลกุลทั้งหมด N ตัวและกาหนด
แต่โมเลกุลมีโอกาสเคลื่อนที่ 6 ทิศทาง
densitynumber;
V
N

จะได้ tAvAdVN  
ความดันของแก๊สอุดมคติ
 จานวนโมเลกุลที่เข้าชนผนัง = N/6 และแรงลัพธ์ที่กระทาต่อผนัง = F
    2
3
12
6
1
6
Amv
t
mv
tAvF
N
F W  













หรือ 21
3
F
mv
A

แต่ v ของแต่ละโมเลกุลไม่เท่ากันดังนั้น v ที่ใช้ต้องเป็นตัวแทน (vrms) จาก
รากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของความเร็ว (root mean square velocity) คือ
2
vvrms  และ2
2
1
vmKE 
ดังนั้น ความดัน KEP 
3
2
 แต่ V
nRT
P  และ  = N/V ; N = nNA ; k = R/NA
และ
ความดันของแก๊สอุดมคติ
2
1
3







m
kT
vrms
kTKE
2
3

densitynumber;
V
N
2
3
1
vmP 
ได้ว่าเทียบ
โดยที่
อัตราเร็วกาลังสองเฉลี่ย
แก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยว
TKE α
“ในเอกภพ เราไม่มีศูนย์เคลวิน”
สมการ kTKE
2
3

ใช้อธิบายได้เฉพาะแก๊สอะตอมเดี่ยว
โมเลกุลของแก๊สมีลักษณะเป็นจุด
 คิดเฉพาะการเลื่อนที่ (translation
motion) 3 แกน คือ แกน x, y และ z
เรียกว่ามีองศาความเป็นอิสระ (degree of
freedom: D) เป็น 3
อย่างไรก็ตาม
แต่ละองศาความเป็นอิสระมีพลังงาน =
1
2
kT
kTKE
2
3
 แสดงว่า ถ้า T = 0 K ความเร็ว v จะมีขนาดเป็น 0จาก
ตัวอย่างแก๊สที่มักพบได้เช่น He, Ne, Ar เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสมบัติเชิงกล และ สมบัติเชิง
ความร้อนมีความสัมพันธ์กัน คือ
แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่
สาหรับแก๊สโมเลกุลคู่ (diatomic gas) เช่น H2 : จะมีรูปร่างคล้าย dumbbell
การเคลื่อนที่จะมี 3 ลักษณะ
1 . การเลื่อนที่ : Translation motion (3 แนว)
2. การหมุน : Rotation motion (2 แนว)
3. การสั่น : Vibration motion (2 แนว)
ดังนั้น degree of freedom = 7 kTKE
2
7

แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่
ดังนั้นโมเลกุลที่มี degree of freedom = D kT
D
KE
2

ถ้าระบบมี N โมเลกุล KE รวม เรียกว่า พลังงานภายในของระบบ = U
นั่นคือ kTN
D
KENU
2
 nRT
D
U
2

แสดงว่าถ้า T = คงที่  T = 0 ดังนั้น U คงที่ด้วย  U = 0
จะมี
หรือ
ในความเป็นจริง โมเลกุลอะตอมคู่ทั่วในอาจจะไม่มีการเคลื่อนในบางลักษณะ
เช่น การสั่น (ยกเว้นอุณหภูมิจะสูงมาก ๆ)
ดังนั้น ในทางปฏิบัติ diatomic molecule ที่เป็นแก๊ส 1 โมเลกุล จะมี D = 5
จึงได้ kTKE
2
5
 RTU
2
5
หรือ
แก๊สไม่อุดมคติและสมการวานเดอวาลส์
(Imperfect gases and Van der Walls’ equation)
กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law)
RT
M
m
nRTPV 
n คือ จานวนโมล
เมื่อ m คือ มวลของสาร
M คือ มวลของสารจานวน 1 โมล (มวลโมเลกุล)
เพื่อทดสอบแก๊สจริง เขียนสมการแก๊สอุดมคติใหม่ R
nT
PV

การทดลอง ทาการวัดค่านิจของแก๊ส R ของแก๊สต่าง ๆ เทียบกับความดัน P
*** สมการแก๊สอุดมคติใช้ได้ที่P ต่า ๆ เท่านั้น
ตัวอย่าง : กาหนดให้มวลโมลาร์ของอาร์กอนเท่ากับ 39.9 g/mol จงคานวณหาปริมาณ
ต่อไปนี้สาหรับระบบก๊าซอาร์กอนระบบหนึ่ง ซึ่งมี 2 โมล ณ อุณหภูมิ 27C จงหา
1. พลังงานจลน์โมเลกุลเฉลี่ย
2. พลังงานภายในของก๊าซอาร์กอนระบบนี้
JkTEk
2123
1021.6300)1038.1(
2
3
2
3
.1 

kJJU
KEnNKENNkTU a
48.71048.7
)1021.6()1002.6(2
2
3
.2
3
2123

 
กาหนดเงื่อนไข : ก๊าซอาร์กอนเป็นก๊าซอะตอมเดี่ยว, D เป็น 3 ได้ว่า
ตัวอย่าง : ค่าอัตราเร็วรากที่สองเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจน ณ อุณหภูมิ
300 เคลวินเป็นเท่าใด กาหนดมวลของโมเลกุลไฮโดรเจน 1.67 x 10-27 kg
2
1
3







m
kT
vrms
smv
v
rms
rms
/1928
)1067.1(2
300)1038.1(3 2
1
27
23









 

กาหนดเงื่อนไข : ก๊าซไฮโดรเจนเป็นก๊าซโมเลกุลอะตอมคู่ คานวณจาก
มวลของโมเลกุลก๊าซไฮโดรเจน (m) = 2 x (1.67 x 10-27) kg
ดังนั้น
คาถาม : จงหา vrms ของโมเลกุลของแก๊ส He ที่อุณหภูมิ 300 K
วิธีทา
สาหรับแก๊สอะตอมเดี่ยวเราทราบว่า
3 3
rms
kT RT
v
m M
 
เมื่อ m = มวลของ 1 อะตอม แต่ M = มวลโมเลกุล ซึ่ง MHe = 2 g/mol
แทนค่า   
3
3 8.31J/K-mol 300K3
1933.8m/s
2 10 kg/mol
rms
RT
v
M 
  

ตอบ
Ludwig Boltzmann
• 1844 – 1906
• Austrian physicist
• Contributed to
– Kinetic Theory of
Gases
– Electromagnetism
– Thermodynamics
• Pioneer in statistical
mechanics
Physics 207105
Thermodynamics-4
อุณหพลศาสตร์
(Thermodynamics)-4
ระบบ
งานและพลังงานความร้อน
กฎอนุรักษ์พลังงาน
พลังงานและกฎข้อที่หนึ่งของ
อุณหพลศาสตร์
กระบวนการ
ระบบ (System)
• ระบบปิด (closed system) : พลังงานแลก
เปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้แต่มวลสารคงที่
• ระบบเปิด (opened system) : ทั้งมวลสารและ
พลังงานแลกเปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้
• ระบบโดดเดี่ยว (isolated system) : ไม่มีการ
แลกเปลี่ยนมวลและพลังงานกับสิ่งแวดล้อม
ระบบ ทางอุณหพลศาสตร์ คือ สิ่งใด ๆ ที่พิจารณาและมีขอบเขตที่แน่ชัด อธิบายได้
ด้วยตัวแปรสถานะ เช่น ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิ ฯลฯ สิ่งที่อยู่นอกระบบเรียกว่า
สิ่งแวดล้อม (surrounding) ระบบแบ่งได้ดังนี้
กาหนดสถานะของระบบโดยใช้ตัวแปรสถานะในภาวะสมดุลเชิงความร้อน
หารด้วยขนาดมวลสาร
ตัวแปรสถานะของระบบ (State variable)
ตัวแปรสถานะของระบบ
• คุณสมบัติที่สังเกตได้ในทางอุณหพลศาสตร์
• มวล (m) ความดัน (P) อุณหภูมิ(T) ปริมาตร (V) ความหนาแน่น ()
• แบ่งออกเป็น 2 ประเภทเชิงปริมาณ คือ
-ที่ไม่แปรตามมวล (Intensive variable) : คุณสมบัติไม่ขึ้นกับขนาด
มวลสาร เช่น ความดัน อุณหภูมิ และความหนาแน่น เป็นต้น
-ที่แปรตามมวล (Extensive variable) : คุณสมบัติขึ้นกับขนาดมวลสาร
เช่น มวล น้าหนัก ปริมาตร และพลังงาน เป็นต้น
ตัวแปรที่แปรตามมวล
ตัวแปรไม่แปรตามมวล
เช่น ปริมาตรจาเพาะ
งานในทางอุณหพลศาสตร์
• งาน คือ กลไกการส่งพลังงานที่สาคัญในระบบ
อุณหพลวัตร เช่นเดียวกับความร้อน
• ตัวอย่าง : แก๊สในกระบอกสูบมีปริมาตร V และมี
ความดัน P กระทาต่อผนังกระบอกสูบและลูกสูบ
กาลังขยายตัวจาก (a) เป็น (b)
• สมมติการขยายตัว(หรือการอัด)จะเป็นไปอย่าง
ช้า ๆ ซึ่งเพียงพอที่จะทาให้ทุกจุดของระบบอยู่ใน
ภาวะสมดุลเชิงความร้อนโดยตลอด(quasi-
equilibrium) จะหางานได้จาก
PdVPAdy
dyFydFdW

 cos

หรือ VPW 
Ady = dV
เครื่องหมายของงานที่แก๊สกระทาต่อระบบ
• ทิศทางของความดัน P จะพุ่งเข้าหา (ตั้งฉาก) ขอบเขตระบบจากด้านในเสมอ
• แก๊สถูกอัด V < 0 (ปริมาตรลดลง) และงานที่แก๊สทาจะเป็นลบ
• แก๊สขยายตัว V > 0 (ปริมาตรเพิ่มขึ้น) และงานที่แก๊สทาจะเป็นบวก
• ดังนั้น เครื่องหมายของ W เวลาคานวณ จะพิจารณาจาก V
• ถ้าปริมาตรมีค่าคงที่ตลอดเวลาจะไม่มีงานกระทาต่อแก๊สเลย
VPW 
แก๊สขยายตัว งานที่แก๊สทาเป็น +
แก๊สถูกอัด งานที่แก๊สทาเป็น -
*ระวัง เครื่องหมายของ “งานที่แก๊สทา” กับ “งานที่ลูกสูบทา” จะตรงข้ามกัน*
P2
P1
V1 V2
แผนภาพความดัน-ปริมาตร (PV Diagrams)
• แสดงถึงความดันและปริมาตร ณ ทุก จุด
ของกระบวนการ
• พื้นที่ใต้กราฟ P-V คือ งาน W ซึ่งเป็น
จริงแม้ว่าความดันอาจจะไม่คงที่
• จากรูป งานที่แก๊สทาจากสถานะ
1 -> 2 -> 3 -> 4 -> 1 คือ W
• เส้นทางเดินบนแผนภาพเรียกเส้นทาง
(path) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
• ถึงแม้ว่าสถานะเริ่มต้นและสุดท้ายของกระบวนการต่าง ๆ จะอยู่ที่เดียวกัน แต่
งานที่กระทาจะต่างกันไปตามเส้นทาง (กระบวนการ)
  2 1 2 1W P P V V  
งานที่เกิดขึ้นเท่ากับ
พื้นที่ใต้กราฟ
งานขึ้นกับเส้นทาง
  f
i
V
V
dVPW
ในเส้นโค้งความสัมพันธ์ P-V
งาน คือ พื้นที่ใต้เส้นโค้ง
* งานจะขึ้นกับเส้นทางของกระบวนการ  ชนิดของเครื่องจักรกล
กฎอนุรักษ์พลังงาน
•พลังงานที่สาคัญของระบบทั่วไป : พลังงานจลน์, พลังงานศักย์, งาน, ฯลฯ
•พลังงานที่สาคัญของระบบอุณหพลวัตร : พลังงานภายใน(U), ความร้อน(Q),
งาน(W)
ระบบมีการอนุรักษ์พลังงานเสมอ
โดยทั่วไป:
• พลังงานภายใน U เป็นผลรวมของพลังงานจลน์และศักย์และ U  T
• ความร้อน Q เป็นพลังงานที่ถ่ายเทระหว่างสองระบบใด ๆ ที่มี T ต่างกัน
• งาน W เป็นงานที่เกิดขึ้นจากที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลง P หรือ/และ V
ไม่สูญหายแต่เปลี่ยนรูป
กฎข้อที่หนึ่งทางอุณหพลศาสตร์
(The first law of thermodynamics)
งานที่ใบพัดทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น
งานแปลงเป็นพลังงานความร้อน
• พลังงานภายในของระบบที่
เปลี่ยนแปลงจะมาจากการเปลี่ยนแปลง
ความร้อนและงานของระบบ
• พลังงานภายใน U ของระบบที่เปลี่ยน
จะมีรูปแบบดังสมการ
dWdQdU  หรือ dQ dU dW 
พลังงานต้องอนุรักษ์
กฎข้อที่หนึ่งทางอุณหพลศาสตร์
เครื่องหมายคานวณ
• พลังงานภายในของระบบ : U  T
พลังงานภายในสูงขึ้น U = +
พลังงานภายในลดลง U = -
*ถ้าอุณหภูมิคงที่ เช่น ระบบกลับมาที่เดิม
(สถานะเริ่มต้น = สถานะสุดท้าย) ได้U = 0
• ความร้อน : ไหลเข้าระบบ Q = +
ไหลออกระบบ Q = -
• งาน : ระบบขยายตัว W = +
ระบบหดตัว(ถูกอัด) W = -
การเปลี่ยนสถานะของระบบเนื่องด้วยกฎข้อที่หนึ่ง
• ในระบบปิด (isolated system) : Q = 0
จะได้ว่า U = -W
• ในระบบที่กระบวนการดาเนินเป็นวัฎจักร
(cyclic process : ซึ่งจะมีตัวแปรสถานะของ
จุดเริ่มต้นกับจุดสุดท้ายเป็นจุดเดียวกัน) จะ
ได้T = 0 และเนื่องจาก U  T
ดังนั้น
U = 0 ได้ว่า Q = W Cyclic process
U Q W
U Q P V
    
    
คาถาม : เมื่ออัดแก๊สให้มีปริมาตรน้อยลง ถ้าไม่มีการถ่ายโอนพลังงานเข้าออก
ระบบ พลังงานภายในจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร
ก๊าซอุดมคติ
U = W
ถือน้าแข็งไว้ในมือจนน้าแข็งละลาย
วิธีคิดแบบที่ 1
• ระบบ คือ ตัวเรา
• สิ่งแวดล้อม คือ น้าแข็ง + สิ่ง
อื่นๆ
• ความร้อน Q < 0 เพราะว่าความ
ร้อนจากมือถ่ายไปยังก้อนน้าแข็ง
(ไหลออกจากระบบ)
วิธีคิดแบบที่ 2
• ระบบ คือ ก้อนน้าแข็ง
• สิ่งแวดล้อม คือ คนถือ + สิ่ง
อื่นๆ
• ความร้อน Q > 0 เพราะว่าความ
ร้อนจากมือถ่ายไปยังก้อนน้าแข็ง
(ไหลเข้าสู่ระบบ)
วิธีคิดแบบที่ 1
• ระบบ คือ เหงื่อ
• สิ่งแวดล้อม คือ ร่างกายคน + สิ่งอื่นๆ
• ความร้อน Q > 0 เพราะว่า ความร้อน
ถ่ายเทให้กับระบบ(เหงื่อ) จากร่างกาย
เพื่อเพิ่มพลังงานจลน์ให้กับเหงื่อจน
ระเหย (เหงื่อรับความร้อน ไหลเข้า)
วิธีคิดแบบที่ 2
• ระบบ คือ ร่างกาย
• สิ่งแวดล้อม คือ เหงื่อ + สิ่งอื่นๆ
• ความร้อน Q < 0 เพราะว่า ความร้อน
ไหลออกจากระบบ (ร่างกาย) ไปสู่เหงื่อ
(ร่างกายให้เหงื่อ ไหลออก)
การระเหยของเหงื่อ
เหงื่อระเหยจะทาให้เราเย็นขึ้นและพบว่าคาตอบนั้นไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับว่าเลือกระบบ
อย่างไร แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคือสิ่งเดียวกัน และคาตอบนั้นถูกทั้ง 2 แบบ ดังนั้นการหา
คาตอบไม่ขึ้นอยู่กับว่าเราเลือกให้สิ่งไหนเป็นระบบแต่ขึ้นกับการคานวณ
ตัวอย่าง: เมื่อเผาแท่งเหล็กในความดันบรรยากาศจงคานวณ
ก. อัตราส่วนงานในการขยายตัวเหล็กต่อปริมาณความร ้อนที่ใช ้
ข. อัตราส่วนพลังงานภายในที่เปลี่ยนแปลงต่อปริมาตรความร ้อน
ที่ใช ้
กาหนดให ้=3.610-5 0C-1, c = 460 J/kg-0C,  = 7860
kg/m3, P = 1.01 105 N/m2
วิธีทา จาก งาน W = PV และ V= V0T
ดังนั้น W = PV0T และความร้อน Q = mcT
นั่นคือ


c
P
m
V
c
P
Tmc
TVP
Q
W





 00
แทนค่าได้ 6
100.1 



Q
W
ตอบ ก
จาก WQU 
6
1 1 1.0 10 1
U W
Q Q
 
     
 
แสดงว่า งานเนื่องจากการขยายตัว (expansion work)
น้อยมากสามารถตัดทิ้งได้
ได้
ตอบ ข
การขยายตัวเชิงความร้อน
กระบวนการ (Process)
กระบวนการในธรรมชาติ
-แบบผันกลับได้ (Reversible process) ระบบอยู่ในสภาวะสมดุลกับสิ่งแวดล้อม
ตลอดเวลา
-แบบผันกลับไม่ได้ (Irreversible process) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง
สาหรับกระบวนการแบบผันกลับได้มีหลายลักษณะ คือ
1. กระบวนการปริมาตรคงที่ (Isochoric process): dV = 0: P/T = คงที่
2. กระบวนการความดันคงที่ (Isobaric process): dP = 0 : V/T = คงที่
3. กระบวนการความร้อนคงที่ (Adiabatic process): dQ = 0
4. กระบวนการอุณหภูมิคงที่ (Isothermal process): dT = 0
กระบวนการปริมาตรคงที่และความดันคงที่
1. Isochoric process ; dV = 0
งาน dW = PdV Gay-lussac’s law คงที่
T
P
จาก dWdQdU 
ดังนั้น dTmcdQdU V
2. Isobaric process ; dP = 0
; งาน
Charle’s law คงที่
T
V
จาก dWdQdU 
ดังนั้น PdVdTmcdU P 
0dW 
dW PdV
งานช่วง Vi ถึง Vf คือ  f iW P V V 
คือ ระบบไม่ทางาน
ผลต่างระหว่างความจุความร้อนที่ความดันและปริมาตรคงที่
นิยาม ความจุความร้อนจาเพาะเทียบกับโมล
dT
dQ
n
c
1

ดังนั้น
P
P
dT
dQ
n
c 






1
V
V
dT
dQ
n
c 






1
Isochoric process; dV = 0  dU = ncVdT
Isobaric process; dP = 0  dU = ncPdT - PdV
นั่นคือ PdVdTncdTnc PV  หรือ  P Vn c c dT PdV nRdT  
แต่ nRTPV  หรือ
nRdTVdPPdV 
แต่ dP = 0 ได้PdV = nRdT
สรุป P Vc c R 
pdU nc dT nRdT ได้
หาอนุพันธ์
กระบวนการผันกลับได้
3. Adiabatic process ; dQ = 0
ดังนั้น PdVdTncV 
ได้ dWdU 
ในกรณี dTncdU V
PdVdTncdU P 
Isochoric process; dV = 0 :
Isobaric process; dP = 0 :
Vnc
PdV
dT


dU dQ dW 
และ ideal gas PV = nRT
PdV+VdP = nRdT
หรือ PdV = nRdT - VdP
กระบวนการผันกลับได้
nRV
TV constant


 
 1
P V
V V
P
V
c cPdV
PdV nR VdP PdV VdP
nc c
c
PdV VdP
c
   
       
   
 
    
 
ดังนั้น Rcc VP 
0 PdV
c
c
VdP
V
P
หรือ 0
V
dV
c
c
P
dP
V
P เมื่อกาหนด
P
V
c
c
 
ดังนั้น 0
V
dV
P
dP

แก้สมการจะได้ คงที่ VP lnln  หรือ คงที่
PV
ได้VdPPdVPdV
c
c
PdV
V
P

nRT
P
V
เนื่องจาก ดังนั้น 1
constantV T 

งานของกระบวนการความร้อนคงที่
P
V
c
c
 
งานของกระบวนการ adiabatic process : dQ = 0
นิยามของงาน ั่ 
2
1
V
V
PdVdWW เมื่อ 1 คือ initial, 2 คือ final, P ไม่คงที่
แต่ adiabatic process ;
constantPV k
  ดังนั้น 
V
k
P 









 11
1
1
1
2
12
1
2
1
kVkVV
kdV
V
k
W
V
V
V
V
แต่ 
2211 , VPkVPk  ดังนั้น 





1
1
11
1
22 VPVP
W



1
1122 VPVP
W



1
1122 VPVP
WAdiabatic work
กระบวนการอุณหภูมิคงที่
103
4. Isothermal process ; dT = 0
และถ้า dT = 0 แสดงว่า dU = 0 เพราะว่า
VdU nc dT
ดังนั้นจาก
PdVdWdQ ได้
0dU dQ dW  
หาปริพันธ์ ;
f f
i i
V V
V V
nRT nRT
dQ dW PdV P dV
V V
    
งานของ isothermal process
i
f
V
V
nRTW ln
ถ้า T คงที่ได้ว่า PV = ค่าคงที่ (Boyle’s law)
สรุปการคานวณงานจากกระบวนการ
0dW  dTmcdQdU V
dW PdV
 f iW P V V 
1. Isochoric process ; dV = 0
2. Isobaric process ; dP = 0
3. Adiabatic process ; dQ = 0



1
1122 VPVP
W P
V
c
c
 
4. Isothermal process ; dT = 0
i
f
V
V
nRTW ln
PdVdTmcdU P 
ตัวอย่าง : จากรูปแสดงแผนภาพค่าความดัน-ปริมาตรของก๊าซ
จานวนหนึ่ง จงหางานที่ก๊าซจานวนนี้กระทาครบวัฏจักรเป็นเท่าใด
JmNW
m
N
mW
m
N
atmatmlitreW
PVW
32.10132.101100132.1
)100132.12()101(
2
1
100132.11)2()1(
2
1
)()(
2
1
2
2
533
2
5





แนวคิด : งานที่เกิดขึ้นเท่ากับพื้นที่ใต้กราฟ
0
1
3
1 2
P (บรรยากาศ)
P2
P1 P3
V (ลิตร)
W = พื้นที่ใต้กราฟ
ตัวอย่าง : จากรูปแสดงแผนภาพค่าความดัน-ปริมาตรของก๊าซอุดมคติจานวน
หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสถานะเริ่มต้น ณ Pi ไปสูสถานะปลาย ณ Pf ตาม 2
ทิศทาง จงคานวณหางานที่ระบบก๊าซอุดมคติจานวนนี้กระทาตามกระบวนการ
ต่อไปนี้ 1.ไอโซคอริก 2.ไอโซบาริก 3.ไอโซเทอร์มอล
  0)( 1 pdVPPW i
JW
VVpPPW iff
100)101)(10100(
)()(
33
1



JW
W
V
V
Vp
V
dV
nRTPPW
i
f
ii
V
V
fi
f
i
6.138
2ln)101)(102(
ln)(
35













1. กระบวนการไอโซคอริก V=0 PiP1
2. กระบวนการไอโซบาริก P=0 P1Pf
3. กระบวนการไอโซเทอร์มอล
T=0 PiPf
Physics 207105
Thermodynamics-5
อุณหพลศาสตร์
(Thermodynamics)-5
กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์
เอนโทรปี
เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค
ความชื้น
ความดันไอ
กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์
(The second law of thermodynamics)
ประสิทธิภาพ : Efficiency ; e, นิยาม Q
W
heatinput
workoutput
e 
• ระบบทางานเป็นกระบวนการ ถ้ากลับคืนสู่สภาพเดิมได้เรียกว่า วัฏจักร (Cycle)
• วัฏจักรที่ประกอบด้วยกระบวนการแบบผันกลับได้จะมีประสิทธิภาพสูงสุด
1) ล้อแกนฝืด  แกนมีความร้อน
ตามกฎข้อที่ 1 (อนุรักษ์พลังงาน) เป็นไปได้ที่ ความร้อนที่แกน งาน แล้วล้อหมุนกลับที่
ได้ แต่ ธรรมชาติจะไม่พบเหตุการณ์เช่นนี้
2) น้าแข็งโรยเกลือ  เวลาผ่านไป ได้น้าเกลือ
แต่เวลาผ่านไปในธรรมชาติจะไม่พบน้าเกลือแยกเป็นน้าแข็งกับเกลือ
พิจารณา
กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์
H
C
H
C
T
T
Q
Q

แสดงว่า เพียงกฎข้อที่ 1 ทางอุณหพลศาสตร์ไม่เพียงพอที่จะบอกถึงว่า
กระบวนการใดบ้างในธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้เองและกระบวนการใดเกิดไม่ได้เอง
 ต้องการกฎข้อที่ 2 เข้ามาช่วย
ตัวอย่าง
“ไม่มีกรรมวิธีใด ๆ ที่ระบบจะสามารถ
ถ่ายเทปริมาณความร้อนทั้งหมดที่ได้รับ
จากแหล่งความร้อนซึ่งมีอุณหภูมิต่า ไป
ยังแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงกว่าได้
ด้วยตัวมันเองโดยไม่มีงานกลภายนอก
เข้ามาเกี่ยวข้อง”
QC
QH
1. เครื่องทาความเย็น (Clausius statement of 2nd law of thermodynamics)
เขียนเป็ น
แผนภาพดังนี้
ซึ่งจะพบว่า
เป็ นไปไม่ได้
กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์
2. เครื่องกลความร้อน (Kelvin statement of 2nd law of thermodynamics)
“เป็นไปไม่ได้ที่กระบวนการใด
กระบวนการหนึ่งเพียงกระบวนการ
เดียวที่จะเปลี่ยนปริมาณความร้อน
ทั้งหมดที่ระบบได้รับมาจากแหล่ง
ความร้อนที่มีอุณหภูมิคงที่เพียง
แหล่งเดียวไปเป็นงานกลได้ทั้งหมด”
จะพบว่า
เป็นไปไม่ได้
ตัวอย่าง
กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์
H
CH
T
TT
e


เครื่องกลที่เป็นไปได้
1. เครื่องทาความเย็น
C
H C
Q
W
Q
Q Q
 


2. เครื่องกลความร้อน
1
1
H C
H H
C
H
C
H
Q QW
e
Q Q
Q
Q
T
T

 
 
 
C
H C
T
T T
 

ตู้เย็นคาร์โนท์
เครื่องกลคาร์โนท์
1
1


e
e เครื่องยนต์สมบูรณ์
เครื่องยนต์จริง
ตู้เย็นที่ดีควรมี
สูงถึง5,6
เอนโทรปี (Entropy)
Clausius ศึกษาเครื่องกล
ต่าง ๆ แล้วพบว่า
ากขึ้นคงที่หรือม
ั้อนัือคายความรงระบบรับหรอุณหภูมิขอ
ระบบหรือคายจากร้อนที่รับปริมาณความ

นิยาม
T
dQ
dS 
เมื่อ entropyS
Measure of disorder
(ค่าวัดของความไม่เป็นระเบียบ)
Kelvin:T;
กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์
“กระบวนการใด ๆ ในธรรมชาติที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด คือ กระบวนการที่ทา
ให้เอนโทรปีรวมเพิ่มขึ้นหรือมีค่าคงที่”
เอนโทรปี
หรือกล่าวได้ว่า
Sรวม  0
เมื่อ
S = 0, กระบวนการแบบผันกลับได้
S > 0, กระบวนการแบบผันกลับไม่ได้
Sรวม = Sระบบ + Sสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีT
dQ
dS 
สมมติว่า:
• ระบบมีแก๊สจานวน N โมเลกุล
• แก๊สแต่ละโมเลกุลจะครอบครองปริมาตร Vm
• ถ้าแบ่งปริมาตรทั้งหมด V ออกเป็นส่วนเล็ก ๆ ส่วนละ Vm จะได้ว่าแก๊ส 1
โมเลกุลจะเลือกที่อยู่ได้W = V/Vm กรณี(แบบ)
• ดังนั้น ถ้ามีแก๊ส N โมเลกุลจะได้ว่าจานวนแบบทั้งหมดที่แก๊สเลือกอยู่ได้
() คือ
เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค
(Entropy and microscopic view)
• เอนโทรปี  องศาความไม่เป็นระเบียบ
     N
WNWWWW  121
 N
mVV
เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค
ถ้าระบบมีการเปลี่ยนแปลงจากสถานะเริ่มต้น (initial state) ไปยังสถานะสุดท้าย
(final state) จะได้ว่า
Initial state:
mii VVW   N
mii VV, 
Final state:
mff VVW   N
mff VV, 
N
i
f
i
f
V
V










i
f
i
f
A
i
f
i
f
V
V
nR
V
V
nkN
V
V
Nkk lnlnlnln 


if SSS 
โดยการใส่ฟังก์ชันล็อกการิทึมและคูณด้วยค่าคงที่ของโบสท์มานน์ k :
เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค
WQ 
ในการขยายตัวแบบอุณหภูมิคงที่ T จาก(a) ไป (b)
1
1
ln
f f
r
i i
f f
i
i
dQ
S PdV
T T
VnRT
dV nR
T V V
  
 
   
 
 

ifif
i
f
i
f
if
kkSS
k
V
V
nRSS










lnln
lnln
WNkkS lnln 
ดังนั้น เอนโทรปีคือการวัดความไม่เป็นระเบียบระดับจุลภาค
แก๊ส สุญญากาศ
ฉนวน
ตัวอย่าง : จงแสดงให้เห็นว่ากระบวนการแพร่ของแก๊สในสุญญากาศในกระบวนการ
อุณหภูมิคงที่ ดังรูปเป็นกระบวนการผันกลับไม่ได้
วิธีทา
อุณหภูมิคงที่ดังนั้น dU = 0
ดังนั้น dQ = dW = PdV
จาก PV = nRT,
V
nRT
P 
dV
V
nRT
dQ 
จาก
T
dV
V
nRT
T
dQ
dS 
1
2
2
1
2
1
12 ln
V
V
nR
V
dV
nR
T
dQ
SS  
แต่ V2 > V1 แสดงว่า S2 > S1
หรือ Sระบบ > 0
สิ่งแวดล้อม Sสิ่งแวดล้อม = 0
นั่นคือ S > 0 จึงเป็นกระบวนการ
ผันกลับไม่ได้ ตอบ
WQU 
ตัวอย่าง: น้าแข็ง 1 kg ที่ 00C หลอมเหลวหมด จงคานวณหาเอนโทรปี
วิธีทา ความร้อนจาเพาะของการหลอมเหลวของน้า Lf(น้า) = 79.6 cal/gm
จาก
T
dQ
dS 
ทาการหาปริพันธ์(อินทิเกรต) :
0
Q
water ice
dQ
S S
T
   เมื่อ T คงที่ที่ 00C
; T = 273 K
แต่ Q = mL = (103)(79.6) = 7.95104 Cal
ดังนั้น
0
1 Q Q
dQ
T T
 
เนื่องจากความร้อนที่ใช้ในการละลาย
น้าแข็งที่อุณหภูมิเดียวกันนี้ต้องมาจาก
สิ่งแวดล้อม ดังนั้น
ดังนั้น cal/K292 มสิ่งแวดล้อS
แสดงว่า S = 0
กระบวนการนี้จึงเป็นกระบวน
การที่ผันกลับได้ ตอบ
4
7.95 10 calQ   สิ่งแวดล้อม
KcalS
SSS
system
icewatersystem
/292
273
1095.7 4



ตัวอย่าง จงคานวณค่าเอนโทรปีที่เปลี่ยนไปเมื่อต้มน้า 1 kg ที่
0C ให้มีอุณหภูมิ 100C โดยไม่มีการเปลี่ยนสถานะ
KcalSS
T
T
mc
T
dT
mc
T
mcdT
T
dO
SS
T
T
T
T
T
T
/312)
273
373
ln(11000
)ln(
12
1
2
12
2
1
2
1
2
1

 
TmcQ 
วิธีทา
ในกรณีนี้อุณหภูมิไม่คงที่ ดังนั้นจึงแปลง dQ ให้เป็นฟังก์ชันของ T
ตัวอย่าง : แก๊สอุดมคติ 4 โมล ขยายตัวมีปริมาตร 2 เท่า
ก. เมื่อขยายตัวแบบอุณหภูมิคงที่ที่ 400 K จงคานวณงานและเอนโทรปี
ข. เมื่อขยายตัวแบบความร้อนคงที่จงคานวณหาเอนโทรปี
วิธีทา ก. dW = PdV
PV = nRT หรือ P = nRT/V
JnRT
V
V
nRT
V
dV
nRTPdVW
VV
V
92142ln
ln
1
2
22
1
12
1


 

เอนโทรปี 
2
1
12
T
dQ
SS
แต่ dWdUdQ 
และ 00  dUT
ได้ dWdQ 
ดังนั้น
2
2
2 1 1
1
1
ln 2 ln 2
dW W
S S
T T
nRT nR
T
  
 

ตอบ ก.
วิธีทา ข. ความร้อนคงที่ dQ = 0
ดังนั้น dS = dQ/T = 0  S2-S1 =S= 0 ตอบ ข.
กระบวนการ
ไอโซเทอร์มอล
งาน
กระบวนการ
อะเดียแบติก
23S
ความชื้น (Humidity)
ส่วนประกอบของอากาศ
• N2  80%, O2  18%, CO2, แก๊สอื่น ๆ และ ไอน้า (water vapor)
ความดันลัพธ์ของอากาศ  ความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด(Dalton’s law)
• บรรจุน้าในภาชนะปิดสนิท  น้าระเหยเป็นไอ
• ไอน้า(แก๊ส) จะมีความดัน  ความดันไอ
• ที่อุณหภูมิ T หนึ่ง ๆ ความดันไอมีค่าสูงสุดค่าหนึ่ง
 ความดันไออิ่มตัว : ( Ps) (ปริมาณไอน้ามีได้จากัดขึ้นกับ T)
• ความดันไอสูงขึ้นอีก น้าจะกลั่นตัวเป็นหยดน้า
• ที่จุดเดือดของของเหลว ของเหลวจะต้องมีความดันไอ
เท่ากับความดันบรรยากาศ
ความชื้น
ความชื้นสัมพัทธ์* =
ความดันไอน้าอากาศ
ความดันไอน้าอิ่มตัวที่อุณหภูมิของอากาศ
ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity) =
ปริมาตร
มวลไอน้า
*ถ้าทาเป็นเปอร์เซ็นต์ต้องคูณด้วย 100
t (0C) Pvapor(mm-Hg)
0 4.58
10 8.94
20 17.5
40 55.1(0.07atm)
100 760(1atm)
120 1490(1.96atm)
200 11650(15.33atm)
จุดน้าค้าง (dew point)
คือ อุณหภูมิที่ไอน้าเริ่มกลั่นตัว(ณ ความดันไอน้า
อิ่มตัว) เกิดเป็นละอองน้าเกาะที่ผิวภาชนะผิวมัน
ความดันไอน้า ณ T ต่าง ๆ
ความดันไอ
(a) เมื่อเริ่มต้นจะมีแต่อัตราการเป็น
ไอซึ่งมีค่าสูง
(b) เวลาผ่านไป ไอบางส่วน
ควบแน่นมาเป็นของเหลว
(c) เวลาผ่านไปนานเกิดสมดุลของ
ไอ-ของเหลว โมเลกุลที่เป็นไอจะคงที่
เกิดเป็นความดันไอ
ของเหลวจะเดือดต่อเมื่อมี
ความดันไอเท่ากับความดัน
บรรยากาศ
ตัวอย่าง : ความดันย่อยของไอน้าเป็น 10 mm-Hg ที่อากาศ 200C จงคานวณ
ก. จุดน้าค้าง (dew point)
ข. ความชื้นสัมพัทธ์
ค. มวลไอน้าที่มีจริงต่อปริมาตร
โดย Pvapour(100C) = 0.01312 bar, Pvapour(110C) = 0.01401 bar, Pvapour(200C) = 0.02337 bar
วิธีทา ก. จุดน้าค้าง คือ อุณหภูมิที่ทาให้ไอน้าที่มีอยู่จริงในอากาศเริ่มกลั่นตัว
(อุณหภูมิที่ทาให้ไอน้าเริ่มอิ่มตัว : Saturated)
bar0.01333Hgmm10
Hgmm760
bar1.013
Hgmm10 

แปลงหน่วย
เพราะว่า Pvapour(100C) = 0.01312 bar, Pvapour(110C) = 0.01401 bar
เทียบบัญญัติไตรยางค์ได้0.01333 bar จะมีอุณหภูมิ โดยประมาณ 10.5 0Cตอบ ก.
วิธีทา ข. ความชื้นสัมพัทธ์ =
partial pressure
vapor pressure
ณ ที่อุณหภูมิเดียวกัน
และที่ 200Cvapor pressure = 0.02337 bar
ดังนั้น ความชื้นสัมพัทธ์ = %57100
02337.0
01333.0
 ตอบ ข.
วิธีทา ค.
ปริมาตร
มวลไอน้า ที่ 200C
M
m
n
RT
P
V
n
nRTPV  ;;
และ H2O (น้า) มีมวลโมเลกุล (molecular weight : M) = 18 gm/mole
ดังนั้น
RT
PM
V
m

  2
25
N/m333.1
mmHg760
N/m10013.1
mmHg10 




 
P
K29320273 T และ Mน้า = 18 gm/mole
  
  
36
32
kg/m1085.9
K293K.J/mole31.8
kg/mole1018N/m333.1 




V
m
ตอบ ค.
Physics 207105
Thermodynamics-6
อุณหพลศาสตร์
(Thermodynamics)-6
เครื่องจักรเครื่องยนต์
เครื่องยนต์
เครื่องยนต์ความร้อน
• เครื่องยนต์จะดึง Qh จากแหล่งความร้อนสูง
• เครื่องยนต์ทางาน W
• เครื่องยนต์ปล่อยความร้อน Qc สู่แหล่งความ
ร้อนต่า
ch QQW   0cQ
ประสิทธิภาพเชิงอุณหภาพ
(thermal efficiency)
h
c
h
ch
h Q
Q
Q
QQ
Q
W
e 

 1
นั่นคือ ประสิทธิภาพ e
จะน้อยกว่า 100% เสมอ(กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์)
เครื่องทาความเย็น
 ของเหลวหล่อเย็นที่อุณหภูมิต่า TC จะดูดความร้อน
QC จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่า TC.
 งาน W ถูกจ่ายให้กับตัว Heat pump (โดยการอัดสาร
หล่อเย็นที่ความดันสูงจนมีอุณหภูมิสูงกว่า Th)
 ไอร้อนจาก Heat pump จะคลายความร้อน Qh ไปยัง
แหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง Th



เครื่องทาความเย็น เครื่องยนต์ที่ทางานในลักษณะตรงข้าม
กฎข้อที่หนึ่ง(กฎอนุรักษ์พลังงาน)
WQQ CH 
สัมประสิทธิ์สมรรถภาพ C C
H C
Q Q
COP
W Q Q
 

เครื่องจักรเบนซิน (Gasoline engine)
1-2 2-3 3-4 4-5 5-6
1-2 ลูกสูบเคลื่อนลงเพื่อดึงอากาศผสมเชื้อเพลงเข้าทางคาร์บูเรเตอร์
2-3 ลูกสูบเคลื่อนขึ้นอัดเชื้อเพลิงผสมแบบความร้อนคงที่
3-4 หัวเทียนจุดระเบิดเชื้อเพลิงทาให้อุณหภูมิและความดันเพิ่มอย่างรวดเร็ว
4-5 ขั้นตอนการทางาน แก๊สกระทางานต่อลูกสูบให้เคลื่อนลงด้วยความร้อนคงที่
5-6 วาล์วระบายเปิดขณะที่ลูกสูบอยู่ต่าสุดเพื่อระบายอากาศเสียออก ความดันลด
Q1
Q2
w
ใช้น้ามันเบนซิน ซึ่งระเหยเร็ว จึงเผาไหม้ได้เร็วเป็นเชื้อเพลิง
เครื่องจักรเบนซิน : วัฎจักรออตโต (Otto cycle)
NiKolaus A Otto (2375-2434)
1. ab จังหวะอัด : อากาศ+ไอน้ามันเข้าถูกดูด
Q = 0
2. bc จังหวะระเบิด : หัวเทียนจุดประกายอัด
V = 0
3. cd จังหวะทางาน : กาลังลูกสูบ
ขยายให้เคลื่อนที่ Q = 0
4. da จังหวะคาย : ไอเสียออก V = 0
เรียกเครื่องยนต์ 4 จังหวะ (four-stroke engine) : ดูด-อัด-กาลัง-คาย
V1V2
Q = 0
Q = 0
V1V2
Q = 0
Q = 0
หลักการวิเคราะห์การทางานของเครื่องจักรเบนซิน
P
V
c
c
 
 
 
 
2 2
2
,H V c b
V
c b
V
H c b
Q nc T T PV nRT
nc
PV PV
nR
c
Q V P P
R
  
 
 
 ad
V
C PPV
R
c
Q  1
ดังนั้น
 
 
1
2
d aC
H c b
P PQ V
Q V P P



ช่วง cd,














1
2
1
2
;0
V
V
P
P
V
V
P
P
Q
b
a
c
d
และ
อัตราส่วนการอัด
compression ratio = V1/V2
typical = 7 - 8
ช่วง bc, V = 0
ทานองเดียวกัน
เครื่องจักรเบนซิน
แทนค่า    









bc
bc
H
C
PP
PVVPVV
V
V
Q
Q

1212
1
2
1
1
2









V
V
Q
Q
H
C
ประสิทธิภาพ
1
2
1
1 1H C C
H H H
Q Q Q VW
e
Q Q Q V
 
 
      
 
เช่น อากาศมี  = 1.4 8
2
1

V
V
ถ้า ได้ประสิทธิภาพ = 56%
ในทางปฏิบัติ ประสิทธิภาพที่พบจะมีเพียง 15 ถึง 20%
เพราะ
- ความเสียดทาน
- การสูญเสียความร้อนที่เสื้อสูบ
- การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์เพราะส่วนผสมอากาศ+น้ามันไม่เหมาะสม
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์

More Related Content

What's hot

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 

What's hot (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
2
22
2
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 

Viewers also liked

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 

Viewers also liked (9)

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 

Similar to บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์

Similar to บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์ (20)

Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
heat
heatheat
heat
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptx
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
P10
P10P10
P10
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 

More from Thepsatri Rajabhat University

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics IThepsatri Rajabhat University
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 

More from Thepsatri Rajabhat University (20)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 

บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์

  • 1. บทที่ 8 ความร้อน และ อุณหพลศาสตร์ อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
  • 3. อุณหภูมิ (Temperature : T) อุณหภูมิ • เป็นปริมาณที่สื่อให้เห็นว่า วัตถุนั้น ร้อน หรือ เย็น เพียงใด. ของแข็ง ของเหลว แก๊ส เพิ่ม อุณหภูมิ พลาสมา + - + - + - - + - + - + - + - + - - - + - + - + + - - - + - + - + + - - - + - + - + + - - - + - + - + + - - - + - + + + - ของแข็งและของเหลว จะประกอบด้วยอะตอม จานวนมากเชื่อมต่อกันด้วยระยะประมาณ 10-10 m ด้วยแรงดึงดูดทางไฟฟ้า. ในสถานะของเหลว ,แก๊สหรือพลาสมา อะตอมหรือโมเลกุล(รวมทั้ง ไอออน) จะมีการเคลื่อนที่แบบสุ่ม
  • 4. การวัดอุณหภูมิ หน่วยวัดอุณหภูมิ และเทอร์โมมิเตอร์ สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales) องศาฟาเรนไฮต์ (degree Fahrenheit : 0F) นิยามจากช่วงอุณหภูมิที่สัตว์เลี้ยงในฟาร์มจะดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวเอง (0 0F คือ เย็น ที่สุด และ 100 0F คือ ร้อนที่สุด) องศาเซลเซียสหรือเซลติเกรด (degree Celsius or Centigrade : 0C) นิยามจากคุณสมบัติของคุณสมบัติของน้าที่ผิวโลก ณ ระดับน้าทะเล (0 0C คือ จุดเยือก แข็ง และ 100 0C คือ จุดเดือด) 0 05 ( ) ( ) 32 9 T C T F    0 0 0 0 0 32 0 17.78 C F F C    0 09 ( ) ( ) 32 5 T F T C  เคลวิน (Kelvin : K) นิยามจากจุดอุณหภูมิที่พลังงานระดับโมเลกุลมีค่าต่าสุดซึ่งกาหนดเป็นศูนย์องศาสัมบูรณ์ (Absolute zero) หรือ 0 K  -273.150C 15.273)()( 0  CTKT 15.273)()(0  KTCT สเกล 1 K = 1 0C
  • 6. สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales) 15.27315.373 15.273 0100 0 32212 32            KCFx ttt FPBP FPt 100 15.273 100180 32       KCFx ttt FPBP FPt สาหรับ ตัวแปรอุณภูมิเคลวินนิยามเขียนด้วย T จับคู่ 0C กับ 0F : 100180 32 CF tt      32 9 5 32 180 100  FFC ttt จับคู่ 0C กับ K : 100 15.273 100   TtC 15.273 TtC
  • 7. เครื่องวัดอุณหภูมิ : เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) เทอร์โมมิเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิT โดยใช้หลักการสมดุลทางความ ร้อน (Thermal equilibrium) “สสารทุกชนิด จะไม่มีการถ่ายเทความร้อนซึ่งกันและกัน เมื่อสสาร เหล่านั้นมีอุณหภูมิหรือระดับความร้อนเท่ากัน” สมบัติของเทอร์โมมิเตอร์ • ความไวสูง • แม่นยา • ผลิตง่าย • เข้าสู่สมดุลทางความร้อนได้เร็ว
  • 10. ตัวอย่าง : มาตรอุณหภูมิฟาเรนไฮต์อันหนึ่ง ซึ่งมีจุดเยือกแข็ง และจุดเดือดของน้าเป็ น 32 และ 212oF ตามลาดับ อ่านอุณหภูมิ ของน้าในภาชนะใบหนึ่งได้เท่ากับ 122oF จงหาอุณหภูมิของน้า ในภาชนะใบนั้นเป็ นองศาเซลเซียสและเคลวิน 100 15.273 100180 32       KCFx ttt FPBP FPt Ktt CK 15.32315.273  Ctt FC   50)32122( 9 5 )32( 9 5
  • 11. กฎข้อที่ศูนย์ทางอุณหพลศาสตร์ (The zeroth law of thermodynamics) “ถ้าระบบสองระบบต่างอยู่ในภาวะสมดุลทางความร้อนกับระบบที่สามแล้ว ระบบทั้งสองนี้ต่างก็อยู่ในภาวะสมดุลทางความร้อนซึ่งกันและกันด้วย” • ถ้าอุณหภูมิที่ A เท่ากับที่ C • และอุณหภูมิที่ C เท่ากับที่ B • อุณหภูมิที่ A จะเท่ากับที่ B
  • 12. ตัวกลาง (mediums) ตัวกลางแอเดียแบติก (adiabatic medium; A; ) คือตัวกลางสมมติที่ไม่ ยอมให้พลังงานความร้อนผ่านได้เลย เช่น ฉนวน ตัวกลางไดอะเทอร์มิก (diathermic medium; D; ) คือตัวกลางสมมติที่ ยอมให้พลังงานความร้อนผ่านได้ดี เช่น โลหะตัวนา DS1 S2 A D D A S1 S2 S3 The zeroth law of thermodynamics
  • 13. The zeroth law of thermodynamics ระบบ 2 ระบบที่อยู่ในสมดุลความร้อนย่อมมีอุณหภูมิเท่ากัน
  • 14. หลักการเทอร์โมมิเตอร์ : สมดุลความร้อน(อุณหภูมิเท่ากัน) • ถ้าเราวางวัตถุที่ร้อนให้สัมผัสกับวัตถุที่เย็น วัตถุที่ร้อนก็จะเย็นตัวลง และวัตถุที่เย็นก็จะ ร้อนขึ้น • ในที่สุดความร้อนก็จะไม่มีการถ่ายเท ระหว่างวัตถุทั้งสอง • เรียกว่าวัตถุทั้งสองอยู่ในสมดุลความร้อน • หรือ วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน อุณหภูมิ  คือ การวัดว่าวัตถุนั้น มีความร้อน เย็น แค่ไหน  การบอกระดับความร้อนจากการสัมผัสมี ข้อจากัด และในหลายกรณีก่อให้เกิดความผิดพลาด ได้ง่าย
  • 16. และผลของอุณหภูมิที่เปลี่ยนทาให้ขนาดของสารเปลี่ยนแปลง เช่นความยาว เปลี่ยนไป การขยายตัวของสารจากความร้อน (Thermal expansion) โดยทั่วไปการขยายตัวตามเส้นจะแปรตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง 0lll  0ttt  เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตามเส้น tll  0 ดังนั้นสามารถเขียนได้ว่า  tll  10 การขยายตัวตามพื้นที่  0 1A A t   การขยายตัวตามปริมาตร  0 1V V t   การขยายตัวตามเส้น และจะได้ว่า เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตามพื้นที่ เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตาม ปริมาตร
  • 17. การขยายตัวของสารจากความร้อน 0 (1 )A A T   ขยายตัวตามเส้น ขยายตัวตามพื้นที่ ขยายตัวตามปริมาตร  0 1L L T    0 1V V T    2 และ  3โดยทั่วไป
  • 20. ตัวอย่าง: แท็งก์เหล็กขนาดความจุ 70 ลิตร บรรจุน้ามันไว้จนเต็ม ถ้าในวันหนึ่ง อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจากเดิม 20 oC ไปเป็น 35 oC. จะมีน้ามันปริมาณเท่าใดที่จะ ล้นหกไป TVV TVVV TVV o o       0 0 )1(    70 L steel petrol สาหรับของเหลว การเปลี่ยนแปลงปริมาตร : L998.0m1098.9 )2035()101070(10950 34 636     สาหรับแท็งก์โลหะ : L038.0998.0 950 36 V  0.998 0.038 0.960 litre  เป็นปริมาณน้ามันที่ล้นหกไป -1 -6 petrol( = 950 x 10 C ) -1 -6 steel( = 36 x 10 C ) TV p TV t V V p t      0 0  
  • 25. พลังงานความร้อน (Thermal Energy) การทดลองของ จูล (James Pascott Joule; 1818–1889) ให้แนวคิด สมมูลเชิงกลความร้อน (Mechanical equivalent of heat) หรือ สมมูลของจูล (Joule’s equivalent) นับว่าเป็นจุดที่สาคัญที่เชื่อมระหว่าง ปริมาณความร้อนเข้ากับพลังงาน ความร้อนได้เป็นอย่างดี
  • 27. ความร้อนและการถ่ายเทความร้อน (Heat and heat transfer) หน่วยของความร้อน คาลอรี (calorie : cal) : 1 cal = ความร้อนที่ทาให้น้า 1 gm ณ 14.50Cมีอุณหภูมิ สูงขึ้น 10C BTU (British Thermal Unit) : 1 BTU = ความร้อนที่ทาให้น้า 1 pound มี อุณหภูมิสูงขึ้น 1 0F (630F ไปเป็น 640F) ซึ่ง 1 BTU  1055 จูล  251.996 cal (1 pound  0.4536 kg) การทดลองของจูล (Joule) พลังงานกล พลังงานความร้อน work 4.18605 heat J cal ค่าสมมูลย์ความร้อนกล (J) = ความร้อน (Heat) คือ รูปหนึ่งของพลังงานที่ส่งผ่านเนื่องจากผลต่างระหว่างอุณหภูมิ 1 cal = 4.186 J
  • 28. ความจุความร้อนและความจุความร้อนจาเพาะ (Heat capacity and specific heat capacity) Kg cal น้า   00.1c ความจุความร้อน คือ ความร้อนที่เปลี่ยนแปลงต่ออุณหภูมิ : T Q C    ทาให้เป็นปริมาณไม่ขึ้นกับมวล (intensive variable) โดยการหารด้วยมวล T Q mm C c    1 เรียกว่า ความจุความร้อนจาเพาะ (specific heat capacity) ทั้งค่า C และ c จะไม่คงที่ โดยจะขึ้นกับอุณหภูมิ T ในกรณีที่หารด้วยจานวนโมล n จะได้ T Q n c    1 เรียกว่า ความจุความร้อนจาเพาะเทียบกับโมล (molar specific heat capacity)
  • 29. การวัดค่าความจุความร้อน การหาค่าความจุความร้อนสามารถทาได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Calorimeter ในกรณีให้ความร้อนจากไฟฟ้าจะได้ว่า พลังงานไฟฟ้าที่ให้ = (mcT)ของเหลว+ (mcT)กระป๋ องโดยการชั่งมวลและวัดอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง จะสามารถหาค่าความจุความร้อนจาเพาะ c ได้ ตัวอย่างความจุความร้อน จาเพาะของของแข็งต่าง ๆ ฉนวน กระป๋ อง ขดลวดต้านทาน
  • 30. ตัวอย่าง : ต้องเติมนมที่มีอุณหภูมิ 4oC ปริมาณเท่าใดลงใน กาแฟ 0.25 kg ที่มีอุณหภูมิ 95oC เพื่อให้ได้อุณหภูมิสุดท้ายเป็ น 70oC (ถ้าพิจารณาให้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของแก้วกาแฟมี น้อยมาก) ให้ ccoffee = cwater = cmilk =4180 J/kg-C นม กาแฟ HLoss = HGain ความร้อนของกาแฟที่ลดลง = ความร้อนของนมที่เพิ่มขึ้น วิธีทา gm kgm m TcmTcm m m m mmmccc 5.9 0095.0 )470(4180)7095(418025.0    
  • 31. ตัวอย่าง : เมื่อใส่ก้อนอะลูมิเนียมมวล 120 กรัม ลงใน แคลอรี มิเตอร์ ที่มีน้า อุณหภูมิ 20oC อยู่ 1.5 กิโลกรัม ถ้าก่อนใส่ก้อน อะลูมิเนียมมีอุณหภูมิ เท่ากับ 205oC ให้หาว่าสุดท้ายแล้ว อุณหภูมิของน้าจะเป็ นเท่าใด กาหนด cAl = 900 J/kg.oC-1 1.5 kg ก่อนใส่ 120 g205 oC 20 oC หลังใส่ TF = ? HLoss = HGain ความร้อนของก้อนอะลูมิเนียมที่ลดลง = ความร้อนของน้าที่เพิ่มขึ้น วิธีทา C23T )20T(41805.1)T205(90010120 F FF 3    NOTE: อุณหภูมิของน้า 3 oC อุณหภูมิของก้อนอลูมิเนียม 182 oC wwwAlAlAl TcmTcm 
  • 32. ความร้อนแฝง (Latent heat; L) ความร้อนแฝง คือ ความร้อนที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสาร • จากของแข็งเป็นของเหลว : ความร้อนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion) • จากของเหลวเป็นแก๊ส : ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Latent heat of vaporization) • ณ จุดที่เปลี่ยนสถานะอุณหภูมิคงที่ ความร้อนที่ให้จะไปใช้ในการเปลี่ยนสถานะ หลอมเหลว กลายเป็นไอ(เดือด) ของแข็ง (S) ของเหลว (L) (L)+(S) ของเหลว (L) แก๊ส (G) (L)+(G)
  • 33. นิยาม ความร้อนแฝงของการหลอม m mQ mL ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ vv mLQ  เมื่อ m คือ มวลของระบบ Lf และ Lv คือ ความร้อนแฝงจาเพาะ (specific latent heat) ของ การหลอมเหลวและการกลายเป็นไอตามลาดับ ตัวอย่าง สาหรับน้า f fQ mLหรือ 79.7cal/gm 334J/gmL m   539cal/gm 2260J/gmL v   ความร้อนแฝง (Latent heat; L)
  • 34. Graph of Ice to Steam A=Warming Ice B=Melting Ice C=Warming Water D=Boiling Water E=Heating Steam
  • 35. ตัวอย่าง : ใส่ก้อนน้าแข็งมวล 20 กรัม ที่มีอุณหภูมิ 0oC ลงในกระป๋ อง แคลอรีมิเตอร์ที่ทาจากทองแดง ที่มีน้ามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 20 oC โดยที่ กระป๋ องแคลอรีมิเตอร์มวล 500 กรัม ถ้ากระป๋ องแคลอรีมิเตอร์ และ น้ามี อุณหภูมิ 8oC ตอนที่น้าแข็งละลายหมด จงหา Lf ของน้าแข็ง HG = HL 15 F kgJ1034.3L   F i i i i c c c w w wL m m c T m c T m c T       )cal(waterHL)cal(HL)ice(waterHGiceHG  0 oC, 20 g 20 oC, 500 g น้าแข็ง 20 oC, 100 g CW = 4180 J kg-1 oC-1 Cc = 390 J kg-1 oC-1 3 3 ( 20 10 ) [20 10 4180 (8 0)]FL          [0.5 390 (20 8)] [ 0.1 4180 (20 8)]       
  • 36. การถ่ายเท (โอน) ความร้อน (Heat transferring) การถ่ายเทความร้อน • การนาความร้อน (conduction) • การพาความร้อน (convection) • การแผ่รังสีความร้อน (radiation)
  • 37. การนาความร้อน สถานะคงที่ (steady state) : t   T1 T2 T1 > T2 Q x T kA t Q      ค่าคงที่   t Q อัตราการส่งผ่านความร้อนไม่เปลี่ยนตามเวลา adiabatic
  • 38. Temperature gradient = x T   ที่ steady state : คงที่ dt dQ x T A t Q      αα dx dT A dt dQ ααหรือ คงที่   t Q หรือ กล่าวคือ ดังนั้น dx dT kA dt dQ  เรียก H dt dQ  ว่าเป็นอัตราการถ่ายเทปริมาณ ความร้อน (Rate of heat flow หรือ Heat current) นั่นคือ dx dT kAH  เมื่อค่าคงที่ k คือ ส.ป.ส. การนาความร้อน(สภาพนาความร้อน): Watt/m.K T1 T2 T1 > T2 Q การนาความร้อน กฎการนาความร้อนของฟูเรียร์ (Fourier’s heat conduction law)
  • 39. การนาความร้อน สาหรับแท่งวัตถุพื้นที่หน้าตัด A ยาว L ขณะที่ปลายร้อนเป็น T1 ส่วนที่ ปลายเย็นเป็น T2 ที่ steady state จะคานวณ H ได้ดังนี้ dx dT kAH  kAdTHdx  ดังนั้น   2 10 T T L kAdTHdx เมื่อ H มีค่าคงที่เนื่องจาก steady state ได้  12 TTkAHL     2 1 cold hot kA kA H T T T T L L       T1 T2 L Q T1 > T2
  • 40. การนาความร้อน ผนังประกอบ (compound wall) ที่ steady state : H คงที่ สาหรับ L1 : สาหรับ L2 :  xTT L Ak H  1 1 11  2 2 22 TT L Ak H x  H รอยต่ออุณหภูมิ Tx x ถ้า A1 = A2 = A ได้   2 2 1 1 21 k L k L TTA H    รูปแบบทั่วไปสาหรับหลายผนังประกอบ คือ    2 1 hot cold i i i i A T T A T T H L L k k       T2 > T1
  • 41. L การนาความร้อน ทรงกระบอกกลวง ภายใน : รัศมี r1, อุณหภูมิ T1 ภายนอก:รัศมี r2, อุณหภูมิ T2 โดย T1 > T2 ที่รัศมี r ใด ๆ ในโลหะ statesteady,คงที่ dx dT kAH พื้นที่ที่ส่งผ่านความร้อน ณ ที่ r ใด ๆ คือ A = 2 r L ดังนั้น   dr dT LrkH 2      2 1 2 1 2 T T rr rr dTLk r dr H   12 1 2 2ln TTkL r r H           1 2 2 1 2 1 2 2 ln ln hot coldkL T T kL T T H r r r r     
  • 42. การพาความร้อน การพาความร้อน เป็นกระบวนการถ่ายโอนพลังงานความร้อนผ่านของไหล - การพาอย่างอิสระ (natural/free convection) - การพาอย่างไม่อิสระ (forced convection) ทั้งสองลักษณะขึ้นกับ 1. รูปลักษณะผิววัตถุ 2. ผิววัตถุอยู่แนวดิ่งหรือราบ 3. ตัวกลางที่พาความร้อน(เหลวหรือแข็ง) 4. ความหนาแน่น ความหนืด ความร้อนจาเพาะ สภาพนาความร้อนของตัวกลาง 5. ตัวกลางเคลื่อนที่แบบสม่าเสมอหรือวกวน 6. ขณะพาความร้อน ตัวกลางเปลี่ยนสถานะหรือไม่
  • 43. การพาความร้อน การระเหย เป็นการพาความร้อนในลักษณะหนึ่ง น้า จะต้องใช้พลังงานในการระเหย = 241 J/gm ที่ 37 0C ตัวอย่างผิวหนังและปอดของมนุษย์ จะระเหยน้าประมาณ 600 gm/วัน คานวณหา อัตราความร้อนที่สูญเสีย วิธีทา ในการระเหย น้า 1 gm จะใช้พลังงาน 241 J น้า 600 gm จะใช้พลังงานในการระเหย = 1.45105 J 5 1.45 10 J 1.7 1.7 Watt 24 60 60 s Q H t          *เมตาบอริซึมคนปกติ  120 Watt ดังนั้น น้าระเหย 600 gm/วัน  1% metabolism ตอบ
  • 44. การแผ่รังสีความร้อน กาหนดให้ อัตราการแผ่รังสี = Re และ R  A  Te 4 (e : emission , ปลดปล่อย) เมื่อ A = พื้นที่ผิวของวัตถุ Te = อุณหภูมิของวัตถุ : เคลวิน เขียน 4 ee ATR  เมื่อ  = Stefan-Boltzmann constant = 5.6710-8 W/m2-K4  = สภาพเปล่งรังสี (emissitivity) ; มีค่า 0 ถึง 1 = ความสามารถในการแผ่รังสีของวัตถุ กฏของสเตฟาน-โบลต์ซมานน์ EMW: คลื่นวิทยุ-โทรทัศน์, microwave, infrared, light, UV, X-ray, gamma
  • 45. การแผ่รังสีความร้อน วัตถุตั้งในสิ่งแวดล้อมอุณหภูมิ Ta วัตถุจะดูดกลืนรังสีจากสิ่งแวดล้อม 4 aa ATR  (a : absorption , ดูดกลืน) : (0-1) เมื่อ Ra = อัตราการดูดกลืนรังสีของวัตถุ Ta = อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม, เคลวิน, ถ้า Te > Ta อุณหภูมิวัตถุลดลง , Re > Ra Te < Ta อุณหภูมิวัตถุเพิ่มขึ้น , Re < Ra ปริมาณสุทธิที่วัตถุได้รับพลังงาน R = Re - Ra R เป็นลบ อุณหภูมิของวัตถุจะเพิ่ม R เป็นบวก อุณหภูมิของวัตถุจะลด ดูด แผ่ Te = อุณหภูมิของวัตถุ : เคลวิน
  • 46. ตัวอย่าง : จงหา Q ที่ทาให้น้าแข็ง 250 g ที่ 00C กลายเป็ นน้าหมดและสุดท้ายน้า 10 g เดือดกลายเป็ นไอ (กาหนด cน้า = 4.2 kJ/kg-K, Lm=334 kJ/kg, Lv=2260 kJ/kg) วิธีทา น้าแข็ง  น้าที่ 00C:    1 = 0.25kg × 334kJ/kg 83.5kJmQ mL  น้าที่ 00C  น้า 1000C: น้า 10 g ไอน้า 1000C :    3 0.01kg × 2260kJ/kg = 22.6kJvQ mL  ดังนั้น ความร้อนทั้งหมดที่ต้องใช้เท่ากับ 83.5 kJ + 105 kJ + 22.6 kJ = 211.1 kJ kJKKKgkJkgTmcQ 105100)/2.4()25.0(2 
  • 47. ตัวอย่าง : แผ่นทองเหลือง 2 แผ่น แต่ละแผ่นมีความหนา 0.5 cm ระหว่างแผ่น ทั้งสองมีแผ่นยางวางกั้นอยู่เป็นแซนวิชหนา 0.1 cm ผิวนอกของแผ่นหนึ่งมี อุณหภูมิ 00C และผิวนอกของอีกแผ่นมีอุณหภูมิ 1000C จงหาค่าอุณหภูมิที่ผิวทั้ง สองของแผ่นยางที่ถูกประกบอยู่โดยสมมติให้การถ่ายเทความร้อนเป็นแบบมิติ เดียว สภาวะคงตัว และ ขนาดพื้นที่หน้าตัดขวางของแผ่นทองเหลืองและยางมี ค่าเท่ากัน (กาหนดให้สภาพการนาความร้อนของทองเหลืองมีค่า 490 เท่าของ สภาพนาความร้อนของแผ่นยาง) 00C1000C 0.5cm 0.5cm 0.1cm ทองเหลือง ยาง
  • 48. วิธีทา กาหนดที่ผิวแผ่นยางทั้งสองด้านมีอุณหภูมิ T1 และ T2 ณ ที่สภาวะคงที่ ความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างชั้นของวัสดุจะมีค่าเท่ากัน (ความร้อนขา เข้าจะเท่ากับความร้อนขาออก) ดังนั้น จาก 1 และ 2 จะได้ 1 299 9800T T  จาก 2 และ 3 จะได้ 2 199 0T T และ จากการแก้สมการจะได้ว่า 0 1 99T C 0 2 1T C ตอบ )3.....(.......... 50.0 )0( )2.....(.......... 10.0 )( )1.....(.......... 50.0 )100( 2 12 1 T AkH TT AkH T AkH brass rubber brass       490 rubber brass k k T1 T2 100C 0C
  • 51. กฎเกี่ยวกับแก๊สและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Gas law and kinetic theory of gas) นิยามของแก๊สอุดมคติ • แก๊สที่ประกอบด้วยจานวนโมเลกุลจานวนมาก (>1026 ตัวต่อลบ. เมตร)โดยที่ โมเลกุลเหล่านั้นมีการเคลื่อนที่แบบสุ่ม ตามลักษณะที่เรียกว่าแบบบราวน์ (Brownian motion) และความเร็วต่างๆ กันไป • ขนาดของแต่ละโมเลกุลซึ่งมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างโมเลกุล • โมเลกุลเหล่านั้นประพฤติตัวตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน โดยที่ไม่มีแรงกระทา ระหว่างโมเลกุล ยกเว้นเมื่อเกิดการชนกันของโมเลกุลเท่านั้น • การชนกันระหว่างโมเลกุลนั้น เป็นการชนแบบยืดหยุ่น คือ ไม่มีการสูญเสีย พลังงานเลย มีการอนุรักษ์ทั้งพลังงานจลน์และโมเมนตัม • สาหรับระบบที่ประกอบด้วยแก๊สบริสุทธิ์ชนิดหนึ่ง ย่อมแสดงว่าโมเลกุลของแก๊ส ดังกล่าวต่างคล้ายกัน
  • 53. กฎเกี่ยวกับแก๊สและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law) สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ(สถานะ)ของระบบ P,V, T และ n (สมการสถานะ,equation of state) ของแก๊สอุดมคติ กฎของบอยล์ (Boyle’s law) : กฎของชารลส์ (Charles’s law) : กฎของเกย์-ลุคแซค (Gay-Lussac’s law) : กฎของอาร์โวกาโดร (Avogadro’s law) : 1 α ; , constantV T n P  α ; , constantV T P n  α ; , constantP T V n  α ; , constantV n T P  n คือ จานวนโมลของสาร และ T เป็นอุณหภูมิหน่วย K
  • 54. กฎของบอยล์ 1 1 α α ; , constantV P T n P V     332211 VPVPVP PV ค่าคงที่ หรือ กราฟ ไฮเปอร์โบลาของ P กับ V
  • 55. กฎของชารลส์ constant,;α nPTV เมื่อ อุณหภูมิ T ยิ่งสูง แก๊สยิ่งมีปริมาตร V สูง 31 2 1 2 3 constant N N V T V VV V T T T T     
  • 57. กฎของอาโวกาโดร์ (Avogadro's Law) 4.22 V n  ที่อุณหภูมิ T และความดัน P คงที่ ปริมาตร V จะแปรผันตามจานวนโมล n ของแก๊ส constant,;α TPnV เมื่อ
  • 58. STP (Standard temperature and pressure : อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน) ปริมาตรต่อโมลของแก๊สที่ STP ที่ STP (1 atm, 25 0C) แก๊ส 1 โมล จะมีปริมาตรประมาณ 22.4 ลิตร (103 cm3)
  • 59. กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas’s law) รวม nRTPV  เมื่อ R = universal gas constant = 8.31 J/K-mole (ค่าคงที่แก๊สสากล) สมการแก๊สอุดมคติ ถ้าให้ N = จานวนโมเลกุลของแก๊ส NA = Avogadro’s number = 6.021023 อนุภาค/โมล เนื่องจากจานวนโมล n = N/NA ดังนั้น NkTRT N N PV A  เมื่อ k = R/NA = ค่าคงที่โบลทซ์มานน์ = 1.3810-23J/Kconstant PV Tn 
  • 61. ตัวอย่าง : O2 ในถังมี V = 40 dm3 เดิมมี P = 20 atm และ T = 270C ต่อมาแก๊สรั่วจนเหลือความดัน 4 atm และมีอุณหภูมิ 200C จงหาแก๊สรั่วไปกี่กิโลกรัม (กาหนดให้มวลโมเลกุลของ O2 = 32 และ T(K)  T(0C)+273 ) M g n  วิธีทา 5 1 20 1.013 10 PaP    5 2 4.0 1.013 10 PaP    1 273 27 300KT    2 273 20 293KT    3 3 1 2 40 10 mV V     จาก PV nRT       5 2 3 3 1 1 1 1 20 1.013 10 N/m 40 10 m 32.51mol 8.31J/mol-K 300K PV n RT              5 2 3 3 2 2 2 2 4.0 1.013 10 N/m 40 10 m 6.66mol 8.31J/mol-K 293K PV n RT        ดังนั้นแก๊สรั่วไป n1 - n2 = 32.51 - 6.66 = 25.85 mol หรือแก๊สรั่วไปเท่ากับ (25.85 mol)(32 g/mol) = 827g = 0.827 kg ตอบ
  • 62. กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย (Dalton’s law of partial pressure) AA N R k N N n  , “สาหรับแก๊สผสม ความดันของแก๊สแต่ละชนิดขึ้นกับจานวนโมเลกุลของแก๊สชนิดนั้น” สมมุติ แก๊ส 3 ชนิดมีจานวนโมเลกุล N1, N2 และ N3 ตามลาดับแล้วผสม กันได้แก๊สรวมที่มีจานวนโมเลกุล N (แก๊สไม่มีปฏิกิริยาต่อกัน) N = N1 + N2 + N3 จาก nRTPV  หรือ NkTPV  ได้  kTNNNPV 321  V kTN V kTN V kTN P 321  1 2 3P P P P   ความดันร่วม = ความดันย่อยบวกกัน เมื่อ
  • 63. กฎความดันย่อยของดาลตัน nP α ความดันของแก๊สแต่ละชนิดจะเป็นสัดส่วนกับจานวนโมล ของแก๊ส ความดันรวม ทั้งหมดจะเป็นผลรวมของความดันของแก๊สแต่ละชนิด  i iPP
  • 64. • สาหรับแก๊สผสมในภาชนะเดียวกันที่อุณหภูมิ T เดียวกัน แก๊สทุกชนิดจะมี ปริมาตร V เท่ากัน • และจากกฎความดันย่อย P = P1 + P2 + P3 + … • จากสมการของแก๊สอุดมคติ PV = nRT  P = nRT/V • จะได้ว่า ...,,, 332211 RTnVPRTnVPRTnVP  ...,,, 332211 nRT RTn PV VP nRT RTn PV VP nRT RTn PV VP  ดังนั้น xPP n n P i i        นิยาม เศษส่วนโมล (mole faction) x ของแก๊สใด ๆ หมายถึง อัตราส่วนของโมล ของแก๊สชนิดนั้นเทียบกับจานวนโมลทั้งหมดของแก๊สผสม กฎความดันย่อยของดาลตัน
  • 65. ตัวอย่างกฎความดันย่อย ตัวอย่าง : ถัง A บรรจุ O2 ความดัน 1 atm ถัง B บรรจุ H2 ความดัน 2 atm และถัง C บรรจุ N2 ความดัน 3 atm เมื่อนาถังแก๊สทั้งสามถังมาต่อเข้าด้วยกัน ความดันรวมจะเป็น เท่าใด ถ้าปริมาตร A = 2 litre , B = 3 litre และ C = 5 litre (ในการผสมอุณหภูมิคงที่) วิธีทา nRTPV  วิธีที่ 1 คิดในรูปแบบโมล (n) การผสมเป็นระบบปิด จานวนโมเลกุลหลังผสม = ก่อนผสม n = nA + nB + nC ถัง A, A AA A RT VP n  ถัง B, B BB B RT VP n  ถัง C, C CC C RT VP n  และเมื่อรวมกันแล้ว CBA VVVV  และจานวนโมลรวม RT PV n 
  • 66. แทนค่า  A B CC CA A B B A B C P V V VP VP V P VPV RT RT RT RT RT       เนื่องจากอุณหภูมิคงที่ T = TA = TB = TC ได้ (1)(2) (2)(3) (3)(5) 2.3atm 2 3 5 A A B B C C A B C P V P V P V P V V V            วิธีที่ 2 ใช้กฎของดาลตัน P = PA + PB + PC ก่อนผสม ถัง A, A A A AP V n RT ถัง B, B B B BP V n RT ถัง C, C C C CP V n RT และเมื่อผสมกัน CBA VVVV  ตอบ n = nA + nB + nC คิดในรูปแบบความดัน (P)
  • 67. สมมุติ ความดันของแก๊สแต่ละชนิดเป็น PA, PB, และ PC ตามลาดับ หลังผสม ถัง A, A AP V n RT  ถัง B, B BP V n RT  ถัง C, C CP V n RT  เมื่อ T คือ อุณหภูมิของการผสม และ T = TA = TB = TC ดังนั้น A A n RT P V   B B n RT P V   C C n RT P V  , , atm3.2    CBA CCBBAA VVV VPVPVP P       CBA PPPP ตอบ CBA VVVV  โดยที่ n = nA + nB + nC
  • 68. ความสาคัญของความดันย่อย บริเวณที่สูงกว่าระดับน้าทะเลมาก ๆ ความดันย่อยของ O2 จะมีค่าน้อย กว่า 40 torr การหายใจจะติดขัด บริเวณที่ลึกลงไปใต้ทะเลถ้าความดันย่อยของ O2 มากกว่าหรือเท่ากับ 2 บรรยากาศจะทาให้เกิดอาการชักหรือโคม่าได้ ถ้าความดันย่อยของ N2 มากกว่าหรือเท่ากับ 3.9 บรรยากาศจะทาให้แก๊ส ไนโตรเจนเป็นพิษ (Nitrogen narcosis) ทาให้เกิดอาการมึนงงไม่มีสติ ดังนั้นในการดาน้าลึก ถังอากาศจะผสมระหว่าง He 97% กับ O2 3% แทนการใช้ N2 และหัวควบคุมแก๊สจะปรับให้แก๊สที่ใช้หายใจมีความดัน เท่ากับความดันสมบูรณ์ที่กดตัวนักดาน้าเสมอ
  • 69. บทสรุปกฎของแก๊ส  i iPP nP αIncrease P Increase V Increase V T,n คงที่ P,n คงที่ T,P คงที่
  • 70. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas) “เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของแต่ละโมเลกุล” แบบจาลองของแก๊สอุดมคติ 1. เป็นทรงกลมขนาดเล็ก 2. เคลื่อนที่ตลอดเวลาแบบสุ่ม แบบ Brownian motionโดยมีทิศทางและ ความเร็วต่างกัน 3. การชนกันระหว่างโมเลกุลเป็นแบบ ยืดหยุ่นสมบูรณ์ (KEก่อน = KEหลัง) 4. หลังจากการชน ขนาดของความเร็วเท่าเดิม 5. ใช้กฎความดันและกฎของนิวตันในการอธิบาย
  • 71. ความดันของแก๊สอุดมคติ A F  area Force Pressure t p F     ดการชนเวลาที่เกิ ััมแปลงโมเมนตการเปลี่ยน แรงดล การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม(แกน x)    mvmvppp  12 mvp 2 กฎการเคลื่อนที่ข้อสองของนิวตัน F=ma t v m t p Fext        แรงที่ทาต่อผนัง tFp   การดล
  • 72. ดังนั้น หากพิจารณาเฉพาะขนาด; t mv Fext    2 กาหนดให้ FW = แรงที่โมเลกุลกระทาต่อผนัง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน extW FF   ได้ t mv FW   2 A d = vt 6 ทิศทาง โมเลกุลที่วิ่งชนผนังบนพื้นที่ A ต้องอยู่ในปริมาตร V = Ad ถ้าสมมุติใน V มีโมเลกุลทั้งหมด N ตัวและกาหนด แต่โมเลกุลมีโอกาสเคลื่อนที่ 6 ทิศทาง densitynumber; V N  จะได้ tAvAdVN   ความดันของแก๊สอุดมคติ
  • 73.  จานวนโมเลกุลที่เข้าชนผนัง = N/6 และแรงลัพธ์ที่กระทาต่อผนัง = F     2 3 12 6 1 6 Amv t mv tAvF N F W                หรือ 21 3 F mv A  แต่ v ของแต่ละโมเลกุลไม่เท่ากันดังนั้น v ที่ใช้ต้องเป็นตัวแทน (vrms) จาก รากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของความเร็ว (root mean square velocity) คือ 2 vvrms  และ2 2 1 vmKE  ดังนั้น ความดัน KEP  3 2  แต่ V nRT P  และ  = N/V ; N = nNA ; k = R/NA และ ความดันของแก๊สอุดมคติ 2 1 3        m kT vrms kTKE 2 3  densitynumber; V N 2 3 1 vmP  ได้ว่าเทียบ โดยที่ อัตราเร็วกาลังสองเฉลี่ย
  • 74. แก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยว TKE α “ในเอกภพ เราไม่มีศูนย์เคลวิน” สมการ kTKE 2 3  ใช้อธิบายได้เฉพาะแก๊สอะตอมเดี่ยว โมเลกุลของแก๊สมีลักษณะเป็นจุด  คิดเฉพาะการเลื่อนที่ (translation motion) 3 แกน คือ แกน x, y และ z เรียกว่ามีองศาความเป็นอิสระ (degree of freedom: D) เป็น 3 อย่างไรก็ตาม แต่ละองศาความเป็นอิสระมีพลังงาน = 1 2 kT kTKE 2 3  แสดงว่า ถ้า T = 0 K ความเร็ว v จะมีขนาดเป็น 0จาก ตัวอย่างแก๊สที่มักพบได้เช่น He, Ne, Ar เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสมบัติเชิงกล และ สมบัติเชิง ความร้อนมีความสัมพันธ์กัน คือ
  • 75. แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่ สาหรับแก๊สโมเลกุลคู่ (diatomic gas) เช่น H2 : จะมีรูปร่างคล้าย dumbbell การเคลื่อนที่จะมี 3 ลักษณะ 1 . การเลื่อนที่ : Translation motion (3 แนว) 2. การหมุน : Rotation motion (2 แนว) 3. การสั่น : Vibration motion (2 แนว) ดังนั้น degree of freedom = 7 kTKE 2 7 
  • 76. แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่ ดังนั้นโมเลกุลที่มี degree of freedom = D kT D KE 2  ถ้าระบบมี N โมเลกุล KE รวม เรียกว่า พลังงานภายในของระบบ = U นั่นคือ kTN D KENU 2  nRT D U 2  แสดงว่าถ้า T = คงที่  T = 0 ดังนั้น U คงที่ด้วย  U = 0 จะมี หรือ ในความเป็นจริง โมเลกุลอะตอมคู่ทั่วในอาจจะไม่มีการเคลื่อนในบางลักษณะ เช่น การสั่น (ยกเว้นอุณหภูมิจะสูงมาก ๆ) ดังนั้น ในทางปฏิบัติ diatomic molecule ที่เป็นแก๊ส 1 โมเลกุล จะมี D = 5 จึงได้ kTKE 2 5  RTU 2 5 หรือ
  • 77. แก๊สไม่อุดมคติและสมการวานเดอวาลส์ (Imperfect gases and Van der Walls’ equation) กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law) RT M m nRTPV  n คือ จานวนโมล เมื่อ m คือ มวลของสาร M คือ มวลของสารจานวน 1 โมล (มวลโมเลกุล) เพื่อทดสอบแก๊สจริง เขียนสมการแก๊สอุดมคติใหม่ R nT PV  การทดลอง ทาการวัดค่านิจของแก๊ส R ของแก๊สต่าง ๆ เทียบกับความดัน P *** สมการแก๊สอุดมคติใช้ได้ที่P ต่า ๆ เท่านั้น
  • 78. ตัวอย่าง : กาหนดให้มวลโมลาร์ของอาร์กอนเท่ากับ 39.9 g/mol จงคานวณหาปริมาณ ต่อไปนี้สาหรับระบบก๊าซอาร์กอนระบบหนึ่ง ซึ่งมี 2 โมล ณ อุณหภูมิ 27C จงหา 1. พลังงานจลน์โมเลกุลเฉลี่ย 2. พลังงานภายในของก๊าซอาร์กอนระบบนี้ JkTEk 2123 1021.6300)1038.1( 2 3 2 3 .1   kJJU KEnNKENNkTU a 48.71048.7 )1021.6()1002.6(2 2 3 .2 3 2123    กาหนดเงื่อนไข : ก๊าซอาร์กอนเป็นก๊าซอะตอมเดี่ยว, D เป็น 3 ได้ว่า
  • 79. ตัวอย่าง : ค่าอัตราเร็วรากที่สองเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจน ณ อุณหภูมิ 300 เคลวินเป็นเท่าใด กาหนดมวลของโมเลกุลไฮโดรเจน 1.67 x 10-27 kg 2 1 3        m kT vrms smv v rms rms /1928 )1067.1(2 300)1038.1(3 2 1 27 23             กาหนดเงื่อนไข : ก๊าซไฮโดรเจนเป็นก๊าซโมเลกุลอะตอมคู่ คานวณจาก มวลของโมเลกุลก๊าซไฮโดรเจน (m) = 2 x (1.67 x 10-27) kg ดังนั้น
  • 80. คาถาม : จงหา vrms ของโมเลกุลของแก๊ส He ที่อุณหภูมิ 300 K วิธีทา สาหรับแก๊สอะตอมเดี่ยวเราทราบว่า 3 3 rms kT RT v m M   เมื่อ m = มวลของ 1 อะตอม แต่ M = มวลโมเลกุล ซึ่ง MHe = 2 g/mol แทนค่า    3 3 8.31J/K-mol 300K3 1933.8m/s 2 10 kg/mol rms RT v M      ตอบ
  • 81. Ludwig Boltzmann • 1844 – 1906 • Austrian physicist • Contributed to – Kinetic Theory of Gases – Electromagnetism – Thermodynamics • Pioneer in statistical mechanics
  • 84. ระบบ (System) • ระบบปิด (closed system) : พลังงานแลก เปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้แต่มวลสารคงที่ • ระบบเปิด (opened system) : ทั้งมวลสารและ พลังงานแลกเปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้ • ระบบโดดเดี่ยว (isolated system) : ไม่มีการ แลกเปลี่ยนมวลและพลังงานกับสิ่งแวดล้อม ระบบ ทางอุณหพลศาสตร์ คือ สิ่งใด ๆ ที่พิจารณาและมีขอบเขตที่แน่ชัด อธิบายได้ ด้วยตัวแปรสถานะ เช่น ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิ ฯลฯ สิ่งที่อยู่นอกระบบเรียกว่า สิ่งแวดล้อม (surrounding) ระบบแบ่งได้ดังนี้ กาหนดสถานะของระบบโดยใช้ตัวแปรสถานะในภาวะสมดุลเชิงความร้อน
  • 85. หารด้วยขนาดมวลสาร ตัวแปรสถานะของระบบ (State variable) ตัวแปรสถานะของระบบ • คุณสมบัติที่สังเกตได้ในทางอุณหพลศาสตร์ • มวล (m) ความดัน (P) อุณหภูมิ(T) ปริมาตร (V) ความหนาแน่น () • แบ่งออกเป็น 2 ประเภทเชิงปริมาณ คือ -ที่ไม่แปรตามมวล (Intensive variable) : คุณสมบัติไม่ขึ้นกับขนาด มวลสาร เช่น ความดัน อุณหภูมิ และความหนาแน่น เป็นต้น -ที่แปรตามมวล (Extensive variable) : คุณสมบัติขึ้นกับขนาดมวลสาร เช่น มวล น้าหนัก ปริมาตร และพลังงาน เป็นต้น ตัวแปรที่แปรตามมวล ตัวแปรไม่แปรตามมวล เช่น ปริมาตรจาเพาะ
  • 86. งานในทางอุณหพลศาสตร์ • งาน คือ กลไกการส่งพลังงานที่สาคัญในระบบ อุณหพลวัตร เช่นเดียวกับความร้อน • ตัวอย่าง : แก๊สในกระบอกสูบมีปริมาตร V และมี ความดัน P กระทาต่อผนังกระบอกสูบและลูกสูบ กาลังขยายตัวจาก (a) เป็น (b) • สมมติการขยายตัว(หรือการอัด)จะเป็นไปอย่าง ช้า ๆ ซึ่งเพียงพอที่จะทาให้ทุกจุดของระบบอยู่ใน ภาวะสมดุลเชิงความร้อนโดยตลอด(quasi- equilibrium) จะหางานได้จาก PdVPAdy dyFydFdW   cos  หรือ VPW  Ady = dV
  • 87. เครื่องหมายของงานที่แก๊สกระทาต่อระบบ • ทิศทางของความดัน P จะพุ่งเข้าหา (ตั้งฉาก) ขอบเขตระบบจากด้านในเสมอ • แก๊สถูกอัด V < 0 (ปริมาตรลดลง) และงานที่แก๊สทาจะเป็นลบ • แก๊สขยายตัว V > 0 (ปริมาตรเพิ่มขึ้น) และงานที่แก๊สทาจะเป็นบวก • ดังนั้น เครื่องหมายของ W เวลาคานวณ จะพิจารณาจาก V • ถ้าปริมาตรมีค่าคงที่ตลอดเวลาจะไม่มีงานกระทาต่อแก๊สเลย VPW  แก๊สขยายตัว งานที่แก๊สทาเป็น + แก๊สถูกอัด งานที่แก๊สทาเป็น - *ระวัง เครื่องหมายของ “งานที่แก๊สทา” กับ “งานที่ลูกสูบทา” จะตรงข้ามกัน*
  • 88. P2 P1 V1 V2 แผนภาพความดัน-ปริมาตร (PV Diagrams) • แสดงถึงความดันและปริมาตร ณ ทุก จุด ของกระบวนการ • พื้นที่ใต้กราฟ P-V คือ งาน W ซึ่งเป็น จริงแม้ว่าความดันอาจจะไม่คงที่ • จากรูป งานที่แก๊สทาจากสถานะ 1 -> 2 -> 3 -> 4 -> 1 คือ W • เส้นทางเดินบนแผนภาพเรียกเส้นทาง (path) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ • ถึงแม้ว่าสถานะเริ่มต้นและสุดท้ายของกระบวนการต่าง ๆ จะอยู่ที่เดียวกัน แต่ งานที่กระทาจะต่างกันไปตามเส้นทาง (กระบวนการ)   2 1 2 1W P P V V   งานที่เกิดขึ้นเท่ากับ พื้นที่ใต้กราฟ
  • 89. งานขึ้นกับเส้นทาง   f i V V dVPW ในเส้นโค้งความสัมพันธ์ P-V งาน คือ พื้นที่ใต้เส้นโค้ง * งานจะขึ้นกับเส้นทางของกระบวนการ  ชนิดของเครื่องจักรกล
  • 90. กฎอนุรักษ์พลังงาน •พลังงานที่สาคัญของระบบทั่วไป : พลังงานจลน์, พลังงานศักย์, งาน, ฯลฯ •พลังงานที่สาคัญของระบบอุณหพลวัตร : พลังงานภายใน(U), ความร้อน(Q), งาน(W) ระบบมีการอนุรักษ์พลังงานเสมอ โดยทั่วไป: • พลังงานภายใน U เป็นผลรวมของพลังงานจลน์และศักย์และ U  T • ความร้อน Q เป็นพลังงานที่ถ่ายเทระหว่างสองระบบใด ๆ ที่มี T ต่างกัน • งาน W เป็นงานที่เกิดขึ้นจากที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลง P หรือ/และ V ไม่สูญหายแต่เปลี่ยนรูป
  • 91. กฎข้อที่หนึ่งทางอุณหพลศาสตร์ (The first law of thermodynamics) งานที่ใบพัดทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น งานแปลงเป็นพลังงานความร้อน • พลังงานภายในของระบบที่ เปลี่ยนแปลงจะมาจากการเปลี่ยนแปลง ความร้อนและงานของระบบ • พลังงานภายใน U ของระบบที่เปลี่ยน จะมีรูปแบบดังสมการ dWdQdU  หรือ dQ dU dW  พลังงานต้องอนุรักษ์ กฎข้อที่หนึ่งทางอุณหพลศาสตร์
  • 92. เครื่องหมายคานวณ • พลังงานภายในของระบบ : U  T พลังงานภายในสูงขึ้น U = + พลังงานภายในลดลง U = - *ถ้าอุณหภูมิคงที่ เช่น ระบบกลับมาที่เดิม (สถานะเริ่มต้น = สถานะสุดท้าย) ได้U = 0 • ความร้อน : ไหลเข้าระบบ Q = + ไหลออกระบบ Q = - • งาน : ระบบขยายตัว W = + ระบบหดตัว(ถูกอัด) W = -
  • 93. การเปลี่ยนสถานะของระบบเนื่องด้วยกฎข้อที่หนึ่ง • ในระบบปิด (isolated system) : Q = 0 จะได้ว่า U = -W • ในระบบที่กระบวนการดาเนินเป็นวัฎจักร (cyclic process : ซึ่งจะมีตัวแปรสถานะของ จุดเริ่มต้นกับจุดสุดท้ายเป็นจุดเดียวกัน) จะ ได้T = 0 และเนื่องจาก U  T ดังนั้น U = 0 ได้ว่า Q = W Cyclic process U Q W U Q P V           คาถาม : เมื่ออัดแก๊สให้มีปริมาตรน้อยลง ถ้าไม่มีการถ่ายโอนพลังงานเข้าออก ระบบ พลังงานภายในจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร ก๊าซอุดมคติ U = W
  • 94. ถือน้าแข็งไว้ในมือจนน้าแข็งละลาย วิธีคิดแบบที่ 1 • ระบบ คือ ตัวเรา • สิ่งแวดล้อม คือ น้าแข็ง + สิ่ง อื่นๆ • ความร้อน Q < 0 เพราะว่าความ ร้อนจากมือถ่ายไปยังก้อนน้าแข็ง (ไหลออกจากระบบ) วิธีคิดแบบที่ 2 • ระบบ คือ ก้อนน้าแข็ง • สิ่งแวดล้อม คือ คนถือ + สิ่ง อื่นๆ • ความร้อน Q > 0 เพราะว่าความ ร้อนจากมือถ่ายไปยังก้อนน้าแข็ง (ไหลเข้าสู่ระบบ)
  • 95. วิธีคิดแบบที่ 1 • ระบบ คือ เหงื่อ • สิ่งแวดล้อม คือ ร่างกายคน + สิ่งอื่นๆ • ความร้อน Q > 0 เพราะว่า ความร้อน ถ่ายเทให้กับระบบ(เหงื่อ) จากร่างกาย เพื่อเพิ่มพลังงานจลน์ให้กับเหงื่อจน ระเหย (เหงื่อรับความร้อน ไหลเข้า) วิธีคิดแบบที่ 2 • ระบบ คือ ร่างกาย • สิ่งแวดล้อม คือ เหงื่อ + สิ่งอื่นๆ • ความร้อน Q < 0 เพราะว่า ความร้อน ไหลออกจากระบบ (ร่างกาย) ไปสู่เหงื่อ (ร่างกายให้เหงื่อ ไหลออก) การระเหยของเหงื่อ เหงื่อระเหยจะทาให้เราเย็นขึ้นและพบว่าคาตอบนั้นไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับว่าเลือกระบบ อย่างไร แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคือสิ่งเดียวกัน และคาตอบนั้นถูกทั้ง 2 แบบ ดังนั้นการหา คาตอบไม่ขึ้นอยู่กับว่าเราเลือกให้สิ่งไหนเป็นระบบแต่ขึ้นกับการคานวณ
  • 96. ตัวอย่าง: เมื่อเผาแท่งเหล็กในความดันบรรยากาศจงคานวณ ก. อัตราส่วนงานในการขยายตัวเหล็กต่อปริมาณความร ้อนที่ใช ้ ข. อัตราส่วนพลังงานภายในที่เปลี่ยนแปลงต่อปริมาตรความร ้อน ที่ใช ้ กาหนดให ้=3.610-5 0C-1, c = 460 J/kg-0C,  = 7860 kg/m3, P = 1.01 105 N/m2 วิธีทา จาก งาน W = PV และ V= V0T ดังนั้น W = PV0T และความร้อน Q = mcT นั่นคือ   c P m V c P Tmc TVP Q W       00 แทนค่าได้ 6 100.1     Q W ตอบ ก จาก WQU  6 1 1 1.0 10 1 U W Q Q           แสดงว่า งานเนื่องจากการขยายตัว (expansion work) น้อยมากสามารถตัดทิ้งได้ ได้ ตอบ ข การขยายตัวเชิงความร้อน
  • 97. กระบวนการ (Process) กระบวนการในธรรมชาติ -แบบผันกลับได้ (Reversible process) ระบบอยู่ในสภาวะสมดุลกับสิ่งแวดล้อม ตลอดเวลา -แบบผันกลับไม่ได้ (Irreversible process) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง สาหรับกระบวนการแบบผันกลับได้มีหลายลักษณะ คือ 1. กระบวนการปริมาตรคงที่ (Isochoric process): dV = 0: P/T = คงที่ 2. กระบวนการความดันคงที่ (Isobaric process): dP = 0 : V/T = คงที่ 3. กระบวนการความร้อนคงที่ (Adiabatic process): dQ = 0 4. กระบวนการอุณหภูมิคงที่ (Isothermal process): dT = 0
  • 98. กระบวนการปริมาตรคงที่และความดันคงที่ 1. Isochoric process ; dV = 0 งาน dW = PdV Gay-lussac’s law คงที่ T P จาก dWdQdU  ดังนั้น dTmcdQdU V 2. Isobaric process ; dP = 0 ; งาน Charle’s law คงที่ T V จาก dWdQdU  ดังนั้น PdVdTmcdU P  0dW  dW PdV งานช่วง Vi ถึง Vf คือ  f iW P V V  คือ ระบบไม่ทางาน
  • 99. ผลต่างระหว่างความจุความร้อนที่ความดันและปริมาตรคงที่ นิยาม ความจุความร้อนจาเพาะเทียบกับโมล dT dQ n c 1  ดังนั้น P P dT dQ n c        1 V V dT dQ n c        1 Isochoric process; dV = 0  dU = ncVdT Isobaric process; dP = 0  dU = ncPdT - PdV นั่นคือ PdVdTncdTnc PV  หรือ  P Vn c c dT PdV nRdT   แต่ nRTPV  หรือ nRdTVdPPdV  แต่ dP = 0 ได้PdV = nRdT สรุป P Vc c R  pdU nc dT nRdT ได้ หาอนุพันธ์
  • 100. กระบวนการผันกลับได้ 3. Adiabatic process ; dQ = 0 ดังนั้น PdVdTncV  ได้ dWdU  ในกรณี dTncdU V PdVdTncdU P  Isochoric process; dV = 0 : Isobaric process; dP = 0 : Vnc PdV dT   dU dQ dW  และ ideal gas PV = nRT PdV+VdP = nRdT หรือ PdV = nRdT - VdP
  • 101. กระบวนการผันกลับได้ nRV TV constant      1 P V V V P V c cPdV PdV nR VdP PdV VdP nc c c PdV VdP c                          ดังนั้น Rcc VP  0 PdV c c VdP V P หรือ 0 V dV c c P dP V P เมื่อกาหนด P V c c   ดังนั้น 0 V dV P dP  แก้สมการจะได้ คงที่ VP lnln  หรือ คงที่ PV ได้VdPPdVPdV c c PdV V P  nRT P V เนื่องจาก ดังนั้น 1 constantV T  
  • 102. งานของกระบวนการความร้อนคงที่ P V c c   งานของกระบวนการ adiabatic process : dQ = 0 นิยามของงาน ั่  2 1 V V PdVdWW เมื่อ 1 คือ initial, 2 คือ final, P ไม่คงที่ แต่ adiabatic process ; constantPV k   ดังนั้น  V k P            11 1 1 1 2 12 1 2 1 kVkVV kdV V k W V V V V แต่  2211 , VPkVPk  ดังนั้น       1 1 11 1 22 VPVP W    1 1122 VPVP W    1 1122 VPVP WAdiabatic work
  • 103. กระบวนการอุณหภูมิคงที่ 103 4. Isothermal process ; dT = 0 และถ้า dT = 0 แสดงว่า dU = 0 เพราะว่า VdU nc dT ดังนั้นจาก PdVdWdQ ได้ 0dU dQ dW   หาปริพันธ์ ; f f i i V V V V nRT nRT dQ dW PdV P dV V V      งานของ isothermal process i f V V nRTW ln ถ้า T คงที่ได้ว่า PV = ค่าคงที่ (Boyle’s law)
  • 104. สรุปการคานวณงานจากกระบวนการ 0dW  dTmcdQdU V dW PdV  f iW P V V  1. Isochoric process ; dV = 0 2. Isobaric process ; dP = 0 3. Adiabatic process ; dQ = 0    1 1122 VPVP W P V c c   4. Isothermal process ; dT = 0 i f V V nRTW ln PdVdTmcdU P 
  • 105. ตัวอย่าง : จากรูปแสดงแผนภาพค่าความดัน-ปริมาตรของก๊าซ จานวนหนึ่ง จงหางานที่ก๊าซจานวนนี้กระทาครบวัฏจักรเป็นเท่าใด JmNW m N mW m N atmatmlitreW PVW 32.10132.101100132.1 )100132.12()101( 2 1 100132.11)2()1( 2 1 )()( 2 1 2 2 533 2 5      แนวคิด : งานที่เกิดขึ้นเท่ากับพื้นที่ใต้กราฟ 0 1 3 1 2 P (บรรยากาศ) P2 P1 P3 V (ลิตร) W = พื้นที่ใต้กราฟ
  • 106. ตัวอย่าง : จากรูปแสดงแผนภาพค่าความดัน-ปริมาตรของก๊าซอุดมคติจานวน หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสถานะเริ่มต้น ณ Pi ไปสูสถานะปลาย ณ Pf ตาม 2 ทิศทาง จงคานวณหางานที่ระบบก๊าซอุดมคติจานวนนี้กระทาตามกระบวนการ ต่อไปนี้ 1.ไอโซคอริก 2.ไอโซบาริก 3.ไอโซเทอร์มอล   0)( 1 pdVPPW i JW VVpPPW iff 100)101)(10100( )()( 33 1    JW W V V Vp V dV nRTPPW i f ii V V fi f i 6.138 2ln)101)(102( ln)( 35              1. กระบวนการไอโซคอริก V=0 PiP1 2. กระบวนการไอโซบาริก P=0 P1Pf 3. กระบวนการไอโซเทอร์มอล T=0 PiPf
  • 109. กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์ (The second law of thermodynamics) ประสิทธิภาพ : Efficiency ; e, นิยาม Q W heatinput workoutput e  • ระบบทางานเป็นกระบวนการ ถ้ากลับคืนสู่สภาพเดิมได้เรียกว่า วัฏจักร (Cycle) • วัฏจักรที่ประกอบด้วยกระบวนการแบบผันกลับได้จะมีประสิทธิภาพสูงสุด 1) ล้อแกนฝืด  แกนมีความร้อน ตามกฎข้อที่ 1 (อนุรักษ์พลังงาน) เป็นไปได้ที่ ความร้อนที่แกน งาน แล้วล้อหมุนกลับที่ ได้ แต่ ธรรมชาติจะไม่พบเหตุการณ์เช่นนี้ 2) น้าแข็งโรยเกลือ  เวลาผ่านไป ได้น้าเกลือ แต่เวลาผ่านไปในธรรมชาติจะไม่พบน้าเกลือแยกเป็นน้าแข็งกับเกลือ พิจารณา
  • 110. กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์ H C H C T T Q Q  แสดงว่า เพียงกฎข้อที่ 1 ทางอุณหพลศาสตร์ไม่เพียงพอที่จะบอกถึงว่า กระบวนการใดบ้างในธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้เองและกระบวนการใดเกิดไม่ได้เอง  ต้องการกฎข้อที่ 2 เข้ามาช่วย ตัวอย่าง “ไม่มีกรรมวิธีใด ๆ ที่ระบบจะสามารถ ถ่ายเทปริมาณความร้อนทั้งหมดที่ได้รับ จากแหล่งความร้อนซึ่งมีอุณหภูมิต่า ไป ยังแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงกว่าได้ ด้วยตัวมันเองโดยไม่มีงานกลภายนอก เข้ามาเกี่ยวข้อง” QC QH 1. เครื่องทาความเย็น (Clausius statement of 2nd law of thermodynamics) เขียนเป็ น แผนภาพดังนี้ ซึ่งจะพบว่า เป็ นไปไม่ได้
  • 111. กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์ 2. เครื่องกลความร้อน (Kelvin statement of 2nd law of thermodynamics) “เป็นไปไม่ได้ที่กระบวนการใด กระบวนการหนึ่งเพียงกระบวนการ เดียวที่จะเปลี่ยนปริมาณความร้อน ทั้งหมดที่ระบบได้รับมาจากแหล่ง ความร้อนที่มีอุณหภูมิคงที่เพียง แหล่งเดียวไปเป็นงานกลได้ทั้งหมด” จะพบว่า เป็นไปไม่ได้ ตัวอย่าง
  • 112. กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์ H CH T TT e   เครื่องกลที่เป็นไปได้ 1. เครื่องทาความเย็น C H C Q W Q Q Q     2. เครื่องกลความร้อน 1 1 H C H H C H C H Q QW e Q Q Q Q T T        C H C T T T    ตู้เย็นคาร์โนท์ เครื่องกลคาร์โนท์ 1 1   e e เครื่องยนต์สมบูรณ์ เครื่องยนต์จริง ตู้เย็นที่ดีควรมี สูงถึง5,6
  • 113. เอนโทรปี (Entropy) Clausius ศึกษาเครื่องกล ต่าง ๆ แล้วพบว่า ากขึ้นคงที่หรือม ั้อนัือคายความรงระบบรับหรอุณหภูมิขอ ระบบหรือคายจากร้อนที่รับปริมาณความ  นิยาม T dQ dS  เมื่อ entropyS Measure of disorder (ค่าวัดของความไม่เป็นระเบียบ) Kelvin:T; กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์ “กระบวนการใด ๆ ในธรรมชาติที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด คือ กระบวนการที่ทา ให้เอนโทรปีรวมเพิ่มขึ้นหรือมีค่าคงที่”
  • 114. เอนโทรปี หรือกล่าวได้ว่า Sรวม  0 เมื่อ S = 0, กระบวนการแบบผันกลับได้ S > 0, กระบวนการแบบผันกลับไม่ได้ Sรวม = Sระบบ + Sสิ่งแวดล้อม
  • 116. สมมติว่า: • ระบบมีแก๊สจานวน N โมเลกุล • แก๊สแต่ละโมเลกุลจะครอบครองปริมาตร Vm • ถ้าแบ่งปริมาตรทั้งหมด V ออกเป็นส่วนเล็ก ๆ ส่วนละ Vm จะได้ว่าแก๊ส 1 โมเลกุลจะเลือกที่อยู่ได้W = V/Vm กรณี(แบบ) • ดังนั้น ถ้ามีแก๊ส N โมเลกุลจะได้ว่าจานวนแบบทั้งหมดที่แก๊สเลือกอยู่ได้ () คือ เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค (Entropy and microscopic view) • เอนโทรปี  องศาความไม่เป็นระเบียบ      N WNWWWW  121  N mVV
  • 117. เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค ถ้าระบบมีการเปลี่ยนแปลงจากสถานะเริ่มต้น (initial state) ไปยังสถานะสุดท้าย (final state) จะได้ว่า Initial state: mii VVW   N mii VV,  Final state: mff VVW   N mff VV,  N i f i f V V           i f i f A i f i f V V nR V V nkN V V Nkk lnlnlnln    if SSS  โดยการใส่ฟังก์ชันล็อกการิทึมและคูณด้วยค่าคงที่ของโบสท์มานน์ k :
  • 118. เอนโทรปีกับมุมมองระดับจุลภาค WQ  ในการขยายตัวแบบอุณหภูมิคงที่ T จาก(a) ไป (b) 1 1 ln f f r i i f f i i dQ S PdV T T VnRT dV nR T V V               ifif i f i f if kkSS k V V nRSS           lnln lnln WNkkS lnln  ดังนั้น เอนโทรปีคือการวัดความไม่เป็นระเบียบระดับจุลภาค
  • 119. แก๊ส สุญญากาศ ฉนวน ตัวอย่าง : จงแสดงให้เห็นว่ากระบวนการแพร่ของแก๊สในสุญญากาศในกระบวนการ อุณหภูมิคงที่ ดังรูปเป็นกระบวนการผันกลับไม่ได้ วิธีทา อุณหภูมิคงที่ดังนั้น dU = 0 ดังนั้น dQ = dW = PdV จาก PV = nRT, V nRT P  dV V nRT dQ  จาก T dV V nRT T dQ dS  1 2 2 1 2 1 12 ln V V nR V dV nR T dQ SS   แต่ V2 > V1 แสดงว่า S2 > S1 หรือ Sระบบ > 0 สิ่งแวดล้อม Sสิ่งแวดล้อม = 0 นั่นคือ S > 0 จึงเป็นกระบวนการ ผันกลับไม่ได้ ตอบ WQU 
  • 120. ตัวอย่าง: น้าแข็ง 1 kg ที่ 00C หลอมเหลวหมด จงคานวณหาเอนโทรปี วิธีทา ความร้อนจาเพาะของการหลอมเหลวของน้า Lf(น้า) = 79.6 cal/gm จาก T dQ dS  ทาการหาปริพันธ์(อินทิเกรต) : 0 Q water ice dQ S S T    เมื่อ T คงที่ที่ 00C ; T = 273 K แต่ Q = mL = (103)(79.6) = 7.95104 Cal ดังนั้น 0 1 Q Q dQ T T   เนื่องจากความร้อนที่ใช้ในการละลาย น้าแข็งที่อุณหภูมิเดียวกันนี้ต้องมาจาก สิ่งแวดล้อม ดังนั้น ดังนั้น cal/K292 มสิ่งแวดล้อS แสดงว่า S = 0 กระบวนการนี้จึงเป็นกระบวน การที่ผันกลับได้ ตอบ 4 7.95 10 calQ   สิ่งแวดล้อม KcalS SSS system icewatersystem /292 273 1095.7 4   
  • 121. ตัวอย่าง จงคานวณค่าเอนโทรปีที่เปลี่ยนไปเมื่อต้มน้า 1 kg ที่ 0C ให้มีอุณหภูมิ 100C โดยไม่มีการเปลี่ยนสถานะ KcalSS T T mc T dT mc T mcdT T dO SS T T T T T T /312) 273 373 ln(11000 )ln( 12 1 2 12 2 1 2 1 2 1    TmcQ  วิธีทา ในกรณีนี้อุณหภูมิไม่คงที่ ดังนั้นจึงแปลง dQ ให้เป็นฟังก์ชันของ T
  • 122. ตัวอย่าง : แก๊สอุดมคติ 4 โมล ขยายตัวมีปริมาตร 2 เท่า ก. เมื่อขยายตัวแบบอุณหภูมิคงที่ที่ 400 K จงคานวณงานและเอนโทรปี ข. เมื่อขยายตัวแบบความร้อนคงที่จงคานวณหาเอนโทรปี วิธีทา ก. dW = PdV PV = nRT หรือ P = nRT/V JnRT V V nRT V dV nRTPdVW VV V 92142ln ln 1 2 22 1 12 1      เอนโทรปี  2 1 12 T dQ SS แต่ dWdUdQ  และ 00  dUT ได้ dWdQ  ดังนั้น 2 2 2 1 1 1 1 ln 2 ln 2 dW W S S T T nRT nR T       ตอบ ก. วิธีทา ข. ความร้อนคงที่ dQ = 0 ดังนั้น dS = dQ/T = 0  S2-S1 =S= 0 ตอบ ข. กระบวนการ ไอโซเทอร์มอล งาน กระบวนการ อะเดียแบติก 23S
  • 123. ความชื้น (Humidity) ส่วนประกอบของอากาศ • N2  80%, O2  18%, CO2, แก๊สอื่น ๆ และ ไอน้า (water vapor) ความดันลัพธ์ของอากาศ  ความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด(Dalton’s law) • บรรจุน้าในภาชนะปิดสนิท  น้าระเหยเป็นไอ • ไอน้า(แก๊ส) จะมีความดัน  ความดันไอ • ที่อุณหภูมิ T หนึ่ง ๆ ความดันไอมีค่าสูงสุดค่าหนึ่ง  ความดันไออิ่มตัว : ( Ps) (ปริมาณไอน้ามีได้จากัดขึ้นกับ T) • ความดันไอสูงขึ้นอีก น้าจะกลั่นตัวเป็นหยดน้า • ที่จุดเดือดของของเหลว ของเหลวจะต้องมีความดันไอ เท่ากับความดันบรรยากาศ
  • 124. ความชื้น ความชื้นสัมพัทธ์* = ความดันไอน้าอากาศ ความดันไอน้าอิ่มตัวที่อุณหภูมิของอากาศ ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity) = ปริมาตร มวลไอน้า *ถ้าทาเป็นเปอร์เซ็นต์ต้องคูณด้วย 100 t (0C) Pvapor(mm-Hg) 0 4.58 10 8.94 20 17.5 40 55.1(0.07atm) 100 760(1atm) 120 1490(1.96atm) 200 11650(15.33atm) จุดน้าค้าง (dew point) คือ อุณหภูมิที่ไอน้าเริ่มกลั่นตัว(ณ ความดันไอน้า อิ่มตัว) เกิดเป็นละอองน้าเกาะที่ผิวภาชนะผิวมัน ความดันไอน้า ณ T ต่าง ๆ
  • 125. ความดันไอ (a) เมื่อเริ่มต้นจะมีแต่อัตราการเป็น ไอซึ่งมีค่าสูง (b) เวลาผ่านไป ไอบางส่วน ควบแน่นมาเป็นของเหลว (c) เวลาผ่านไปนานเกิดสมดุลของ ไอ-ของเหลว โมเลกุลที่เป็นไอจะคงที่ เกิดเป็นความดันไอ ของเหลวจะเดือดต่อเมื่อมี ความดันไอเท่ากับความดัน บรรยากาศ
  • 126. ตัวอย่าง : ความดันย่อยของไอน้าเป็น 10 mm-Hg ที่อากาศ 200C จงคานวณ ก. จุดน้าค้าง (dew point) ข. ความชื้นสัมพัทธ์ ค. มวลไอน้าที่มีจริงต่อปริมาตร โดย Pvapour(100C) = 0.01312 bar, Pvapour(110C) = 0.01401 bar, Pvapour(200C) = 0.02337 bar วิธีทา ก. จุดน้าค้าง คือ อุณหภูมิที่ทาให้ไอน้าที่มีอยู่จริงในอากาศเริ่มกลั่นตัว (อุณหภูมิที่ทาให้ไอน้าเริ่มอิ่มตัว : Saturated) bar0.01333Hgmm10 Hgmm760 bar1.013 Hgmm10   แปลงหน่วย เพราะว่า Pvapour(100C) = 0.01312 bar, Pvapour(110C) = 0.01401 bar เทียบบัญญัติไตรยางค์ได้0.01333 bar จะมีอุณหภูมิ โดยประมาณ 10.5 0Cตอบ ก. วิธีทา ข. ความชื้นสัมพัทธ์ = partial pressure vapor pressure ณ ที่อุณหภูมิเดียวกัน
  • 127. และที่ 200Cvapor pressure = 0.02337 bar ดังนั้น ความชื้นสัมพัทธ์ = %57100 02337.0 01333.0  ตอบ ข. วิธีทา ค. ปริมาตร มวลไอน้า ที่ 200C M m n RT P V n nRTPV  ;; และ H2O (น้า) มีมวลโมเลกุล (molecular weight : M) = 18 gm/mole ดังนั้น RT PM V m    2 25 N/m333.1 mmHg760 N/m10013.1 mmHg10        P K29320273 T และ Mน้า = 18 gm/mole       36 32 kg/m1085.9 K293K.J/mole31.8 kg/mole1018N/m333.1      V m ตอบ ค.
  • 130. เครื่องยนต์ เครื่องยนต์ความร้อน • เครื่องยนต์จะดึง Qh จากแหล่งความร้อนสูง • เครื่องยนต์ทางาน W • เครื่องยนต์ปล่อยความร้อน Qc สู่แหล่งความ ร้อนต่า ch QQW   0cQ ประสิทธิภาพเชิงอุณหภาพ (thermal efficiency) h c h ch h Q Q Q QQ Q W e    1 นั่นคือ ประสิทธิภาพ e จะน้อยกว่า 100% เสมอ(กฎข้อที่สองทางอุณหพลศาสตร์)
  • 131. เครื่องทาความเย็น  ของเหลวหล่อเย็นที่อุณหภูมิต่า TC จะดูดความร้อน QC จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่า TC.  งาน W ถูกจ่ายให้กับตัว Heat pump (โดยการอัดสาร หล่อเย็นที่ความดันสูงจนมีอุณหภูมิสูงกว่า Th)  ไอร้อนจาก Heat pump จะคลายความร้อน Qh ไปยัง แหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง Th    เครื่องทาความเย็น เครื่องยนต์ที่ทางานในลักษณะตรงข้าม กฎข้อที่หนึ่ง(กฎอนุรักษ์พลังงาน) WQQ CH  สัมประสิทธิ์สมรรถภาพ C C H C Q Q COP W Q Q   
  • 132. เครื่องจักรเบนซิน (Gasoline engine) 1-2 2-3 3-4 4-5 5-6 1-2 ลูกสูบเคลื่อนลงเพื่อดึงอากาศผสมเชื้อเพลงเข้าทางคาร์บูเรเตอร์ 2-3 ลูกสูบเคลื่อนขึ้นอัดเชื้อเพลิงผสมแบบความร้อนคงที่ 3-4 หัวเทียนจุดระเบิดเชื้อเพลิงทาให้อุณหภูมิและความดันเพิ่มอย่างรวดเร็ว 4-5 ขั้นตอนการทางาน แก๊สกระทางานต่อลูกสูบให้เคลื่อนลงด้วยความร้อนคงที่ 5-6 วาล์วระบายเปิดขณะที่ลูกสูบอยู่ต่าสุดเพื่อระบายอากาศเสียออก ความดันลด Q1 Q2 w ใช้น้ามันเบนซิน ซึ่งระเหยเร็ว จึงเผาไหม้ได้เร็วเป็นเชื้อเพลิง
  • 133. เครื่องจักรเบนซิน : วัฎจักรออตโต (Otto cycle) NiKolaus A Otto (2375-2434) 1. ab จังหวะอัด : อากาศ+ไอน้ามันเข้าถูกดูด Q = 0 2. bc จังหวะระเบิด : หัวเทียนจุดประกายอัด V = 0 3. cd จังหวะทางาน : กาลังลูกสูบ ขยายให้เคลื่อนที่ Q = 0 4. da จังหวะคาย : ไอเสียออก V = 0 เรียกเครื่องยนต์ 4 จังหวะ (four-stroke engine) : ดูด-อัด-กาลัง-คาย V1V2 Q = 0 Q = 0
  • 134. V1V2 Q = 0 Q = 0 หลักการวิเคราะห์การทางานของเครื่องจักรเบนซิน P V c c         2 2 2 ,H V c b V c b V H c b Q nc T T PV nRT nc PV PV nR c Q V P P R         ad V C PPV R c Q  1 ดังนั้น     1 2 d aC H c b P PQ V Q V P P    ช่วง cd,               1 2 1 2 ;0 V V P P V V P P Q b a c d และ อัตราส่วนการอัด compression ratio = V1/V2 typical = 7 - 8 ช่วง bc, V = 0 ทานองเดียวกัน
  • 135. เครื่องจักรเบนซิน แทนค่า              bc bc H C PP PVVPVV V V Q Q  1212 1 2 1 1 2          V V Q Q H C ประสิทธิภาพ 1 2 1 1 1H C C H H H Q Q Q VW e Q Q Q V              เช่น อากาศมี  = 1.4 8 2 1  V V ถ้า ได้ประสิทธิภาพ = 56% ในทางปฏิบัติ ประสิทธิภาพที่พบจะมีเพียง 15 ถึง 20% เพราะ - ความเสียดทาน - การสูญเสียความร้อนที่เสื้อสูบ - การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์เพราะส่วนผสมอากาศ+น้ามันไม่เหมาะสม