SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
Ch 2 Heat Conduction
Equation
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Faculty of Engineering
Department of Mechanical and Aerospace Engineering
1
วัตถุประสงค์
 เพื่อให้เข้าใจปัญหาการถ่ายเทความร้อนที่ขึ้นอยู่กับเวลา (Transient) แบบหลายทิศทาง
(Multi-dimension) รวมทั้งสามารถพิจารณาได้ว่า ภายใต้เงื่อนไขใด ที่จะสามารถ
ประมาณได้ว่าการถ่ายเทความร้อนเป็นการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทาง
 เพื่อให้สามารถเขียนและพิสูจน์สมการ Differential equation ของการถ่ายเทความร้อน
ของ Coordinate ต่างๆ ได้ เช่น แผ่นราบ ทรงกระบอก ทรงกลม
 เพื่อให้เข้าใจ Thermal condition ลักษณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนพื้นผิว รวมทั้ง Initial
condition ของระบบ และสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ได้
 เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนแบบ 1 ทิศทางได้
รวมทั้งสามารถหาสมการของการกระจายตัวของอุณหภูมิในตัวกลาง (Temperature
Distribution) และอัตราการถ่ายเทคความร้อนได้ (Heat flux)
 เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางที่มี Heat generation
เกิดขึ้นในตัวกลางได้
2
Contents
 Introduction
 One-Dimensional Heat Conduction Equation
 General Heat Conduction Equation
 Boundary and Initials Conditions
 Solution of Steady One-Dimensional Heat Conduction Problems
 Heat Generation in a Solid
 Variable Thermal Conductivity
3
Introduction
 “อุณหภูมิ (Temperature)” เป็นปริมาณที่มีแต่ขนาด ไม่มีทิศทาง ดังนั้น จึง
ถือว่าอุณหภูมิเป็นปริมาณ Scalar
Scalar quantity
 “การถ่ายเทความร้อน (Heat transfer)” จะเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและ
ทิศทาง เรียกว่าเป็นปริมาณ Vector
Vector quantity
 เมื่อการถ่ายเทความร้อนมีทั้งขนาดและทิศทาง ดังนั้นในการถ่ายเทความร้อน
หรือการนาความร้อนผ่านตัวกลางหนึ่งๆ จะขึ้นกับรูปร่างของตัวกลางหรือ
Coordinate system รวมทั้งทิศทางเข้าหรือออกจากตัวกลาง ซึ่งจะใช้
เครื่องหมาย “+” หรือ “-” ในการบอกทิศทาง
4
Coordinate System
5
 Coordinate system จะแบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ Plane wall, Cylinder และ
Sphere
 การแบ่งประเภทของลักษณะปัญหาที่มักพบเห็นโดยทั่วไปในการถ่ายเทความร้อน
จะแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
 Steady State VS Transient (Unsteady State)
 ต้องพิจารณาดูว่าการถ่ายความร้อนขึ้นอยู่กับเวลาหรือไม่
 Multi-dimensional Heat Transfer
 ต้องพิจารณาดูว่าการถ่ายเทความร้อนเกิดขึ้นในกี่ทิศทาง
 Heat Generation
 ต้องพิจารณาดูว่าการถ่ายเทความร้อนจะ Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลางหรือไม่
6
Classification of Problems
 Steady state heat transfer
 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ตาแหน่งหนึ่งๆ
ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา
 เช่น อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายมีค่า 15°C
ที่เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป
t=10 นาที อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายก็ยังมี
ค่าเท่าเดิม คือ 15°C
 หรือ อุณหภูมิของหนังด้านขวามีค่า 7°C ที่
เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป
t=10 นาที อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายก็ยังมี
ค่าเท่าเดิม คือ 15°C
7
Steady VS Unsteady
T = f(x) แต่ T ≠ f(t)
 Transient or unsteady state heat
transfer
 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ตาแหน่งหนึ่งๆ
จะขึ้นอยู่กับเวลา
 เช่น อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายมีค่า 15°C
ที่เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป
t=3 ชั่วโมง อุณหภูมิของหนังด้านซ้าย
ลดลงเหลือ 12°C
 หรือ อุณหภูมิของหนังด้านขวามีค่า 7°C ที่
เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป t=3
ชั่วโมง อุณหภูมิของหนังด้านขวาลดลง
เหลือ 5°C
8
Steady VS Unsteady
T = f(x) และ T = f(t)
 แบ่งเป็นการถ่ายเทความร้อนใน 1, 2 และ 3 ทิศทาง
 โดยทั่วไป การถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นจริง จะเป็นแบบ 3 ทิศทาง
9
Multi-dimensional Heat Transfer
Multi-dimensional Heat Transfer
10
 สมการ Differential equation ทั่วไปที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะการ
ถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อน คือ Fourier’s Law of heat
conduction
 การถ่ายเทความร้อนในแต่ละทิศทาง จะเขียนได้ดังนี้
การถ่ายเทความร้อนในแกน x
การถ่ายเทความร้อนในแกน y
การถ่ายเทความร้อนในแกน z
(W)n
dT
Q kA
dn
 
x x
y y
z z
T
Q kA
x
T
Q kA
y
T
Q kA
z
 
  

 

 
 

Heat Generation
11
 ตัวอย่างการถ่ายเทความร้อนที่มี Heat generation เกิดขึ้น ได้แก่:
 มีการใส่ขดลวดไฟฟ้าไว้ในตัวกลาง ซึ่งพลังงานทางไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน
โดยมีอัตราการเกิดความร้อนเท่ากับ I2R
 มีการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงภายในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์
 มีปฏิกิริยาเคมีที่เป็นแบบ Exothermic reactions
 Heat generation ที่เกิดขึ้นเป็น volumetric phenomenon มีหน่วยเป็น W/m3
 อัตราการเกิด Heat generation ในตัวกลางจะขึ้นอยู่กับเวลาและตาแหน่งใดๆ
ภายในตัวกลาง
 อัตราการเกิด Heat generation ที่เกิดขึ้นภายในตัวกลางที่มีปริมาณ V มีค่าเท่ากับ
(W)gen gen
V
E e dV 
One-Dimensional Heat Conduction
12
 สมการสาหรับการนาความร้อนในแผ่นราบ (Plane wall) แบบ 1 ทิศทาง
,
element
x x x gen element
E
Q Q E
t


  

1
gen
T T
kA e c
A x x t

   
  
   
- =
อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง x
อัตราการเกิด
Heat generation
ในตัวกลาง
+
อัตราการเปลี่ยนแปลง
พลังงานภายในตัวกลาง
อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง
at x+∆x
One-Dimensional Heat Conduction
13
 สมการสาหรับการนาความร้อนในแผ่นราบ (Plane wall) แบบ 1 ทิศทาง
เมื่อ k = ค่าคงที่
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
 กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t)
และไม่มี Heat generation
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
และไม่มี Heat generation
2
2
1
;
geneT T k
x k t c

 
 
  
 
2
2
0
gened T
dx k
 
2
2
1T T
x t
 

 
2
2
0
d T
dx

One-Dimensional Heat Conduction
14
 สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกระบอก (Cylinder) แบบ 1 ทิศทาง
- =
อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง r
อัตราการเกิด
Heat generation
ในตัวกลาง
+
อัตราการเปลี่ยนแปลง
พลังงานภายในตัวกลาง
อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง
r+∆r
,
element
r r r gen element
E
Q Q E
t


  

1
gen
T T
rk e c
r r r t

   
  
   
One-Dimensional Heat Conduction
15
1 1geneT T
r
r r r k t
   
  
   
1
0
gened dT
r
r dr dr k
 
  
 
1 1T T
r
r r r t
   
 
   
0
d dT
r
dr dr
 
 
 
 สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกระบอก (Cylinder) แบบ 1 ทิศทาง
เมื่อ k = ค่าคงที่
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
 กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t)
และไม่มี Heat generation
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
และไม่มี Heat generation
One-Dimensional Heat Conduction
16
 สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกลม (Sphere) แบบ 1 ทิศทาง
- =+
,
element
r r r gen element
E
Q Q E
t


  

2
2
1
gen
T T
r k e c
r r r t

   
  
   
อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง r
อัตราการเกิด
Heat generation
ในตัวกลาง
อัตราการเปลี่ยนแปลง
พลังงานภายในตัวกลาง
อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง
r+∆r
One-Dimensional Heat Conduction
17
2
2
1 1geneT T
r
r r r k t
   
  
   
 สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกลม (Sphere) แบบ 1 ทิศทาง
เมื่อ k = ค่าคงที่
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
 กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t)
และไม่มี Heat generation
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
และไม่มี Heat generation
Example
18
The temperature distribution across a wall 1 m thick at a certain instant of
time is given as T(x) = a + bx + cx2
where T is in °C and x is in meters, while a = 900°C, b = -300°C/m and c
= 50°C/m2. A uniform heat generation is 1000 W/m3, is present in the wall
of area 10 m2 having the density of 1600 kg/m3, thermal conductivity of
40 W/m K and specific heat of 4 kJ/kg K.
1. Determine the rate of heat
transfer entering the wall (x = 0)
and leaving the wall (x = 1 m)
2. Determine the rate of change of
energy storage in wall
3. Determine the time rate of
temperature change at x = 0,
0.25 and 0.5 m
Example
19
Consider a steel pan placed on top of an electric range to cook spaghetti.
The bottom section of the pan is 0.4 cm thick and has a diameter of 18 cm.
The electric heating unit on the range top consume 800 W of power during
cooking, and 80% of the heat generated in the heating element is transfer
uniformly to the pan. Assuming constant thermal conductivity, obtain the
differential equation that describes the variation of the temperature in the
bottom section of the pan during steady operation
Example
20
A 2 kW resistance heater wire with thermal conductivity k = 15 W/m K,
diameter D = 0.4 cm, and length L = 50 cm is used to boil water by
immersing it in water. Assuming the variation of the thermal conductivity of
the wire with temperature to be negligible, obtain the differential equation
that describes the variation of the temperature in the wire during steady
operation.
General Heat Conduction Equation
21
 สมการทั่วไปสาหรับการนาความร้อนแบบ 3 ทิศทาง
- =+
x y zQ Q Q  x x y y z zQ Q Q     ,gen elementE elementE
t



อัตราการนาความ
ร้อนที่ตาแหน่ง
x, y และ z
อัตราการเกิด
Heat generation
ในตัวกลาง
อัตราการเปลี่ยนแปลง
พลังงานภายในตัวกลาง
อัตราการนาความร้อนที่
ตาแหน่ง
at x+∆x, y+∆y, z+∆z
General Heat Conduction Equation
22
2 2 2
2 2 2
1geneT T T T
x y z k t
   
   
   
Two-dimensional
Three-dimensional
2 2 2
2 2 2
0
geneT T T
x y z k
  
   
  
2 2 2
2 2 2
1T T T T
x y z t
   
  
   
2 2 2
2 2 2
0
T T T
x y z
  
  
  
 สมการสาหรับการนาความร้อนใน Plane wall แบบ 3 ทิศทาง
เมื่อ k = ค่าคงที่
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
 กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t)
และไม่มี Heat generation
 กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)
และไม่มี Heat generation
General Heat Conduction Equation
23
 สมการสาหรับการนาความร้อนใน Sphere แบบ 3 ทิศทาง
 สมการสาหรับการนาความร้อนใน Cylinder แบบ 3 ทิศทาง
2
1 1
gen
T T T T T
rk k k e c
r r r r z z t

 
          
       
          
2
2 2 2 2
1 1 1
sin
sin sin
gen
T T T T
kr k k e c
r r r r r t
 
     
          
       
          
Example 4
24
A short cylindrical metal billet of a radius R and height h
is heated in an oven to a temperature of 300°C
throughout and is then taken out of the oven and allowed
to cool in ambient air at T∞= 20°C by convection and
radiation. Assuming the billet is cooled uniformly from all
outer surfaces and the variation of the thermal
conductivity of the material with temperature is
negligible, obtain the differential equation that describes
the variation of the temperature in the billet during this
cooling process.
Boundary and Initial Conditions
25
 เมื่อสามารถวิเคราะห์และเขียนสมการ
Differential equation ของการนาความ
ร้อนได้แล้ว อันดับต่อไป คือ การ
Integrate เพื่อแก้สมการดังกล่าว
 แต่สมการ Differential equation
ดังกล่าวข้างต้น สร้างขึ้นจากการทาสมดุล
พลังงานของระบบ โดยที่ไม่ได้พิจารณาถึง
Thermal boundary conditions
 เมื่อ Integrate แล้วจะได้สมการสาหรับหา
อุณหภูมิที่ตาแหน่งต่างๆ ที่มีค่าคงที่ c เป็น
ตัวแปร ดังแสดงไว้ด้านข้าง
Boundary and Initial Conditions
26
 ค่าคงที่ c จากการแก้สมการ
Differential equation จะสามารถ
หาได้จาก Thermal boundary
conditions ที่พื้นผิวของตัวกลาง
เช่น อุณหภูมิที่ผิว อัตราการถ่ายเท
ความร้อน
Boundary and Initial Conditions
27
 จานวน Thermal boundary condition (B.C.) ที่ต้องใช้ในการหาค่าคงที่
ของตัวแปร c ขึ้นอยู่กับว่าเป็นการนาความร้อนในกี่ทิศทาง ซึ่งแต่ละทิศทาง
จะต้องการ 2 Thermal boundary conditions ได้แก่
 การนาความร้อนใน 1 ทิศทางต้องการ 2 B.C.
 การนาความร้อนใน 2 ทิศทางต้องการ 4 B.C.
 การนาความร้อนใน 3 ทิศทางต้องการ 6 B.C.
 สาหรับในกรณีที่การนาความร้อนเป็นแบบ Transient จะต้องมี 1 Initial
condition ซึ่งบอกถึงอุณหภูมิเริ่มต้นที่ t = 0 โดยที่
 T (x, y, z, 0) = Ti
Boundary and Initial Conditions
28
 Thermal B.C. และ Initial
condition สามารถแบ่ง
ออกเป็นหลายกรณี เช่น
 อุณหภูมิที่ผิวคงที่
 อัตราการถ่ายเทความร้อนที่
ผิวคงที่
 มีการพาความร้อนที่ผิว
(Convection)
 มีการแผ่รังสีความร้อนที่ผิว
(Radiation)
 มีผิวของตัวกลาง 2 ชนิด
สัมผัสกัน
Specified Temp. B.C.
29
 กรณีที่ 1 พื้นผิวมีอุณหภูมิคงที่
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L
T(0, t) = T1
T(L, t) = T2
Specified Heat Flux B.C.
30
dT
q k
dx
  
Heat flux in the
positive
x-direction
 กรณีที่ 2 พื้นผิวมีอัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat flux) คงที่
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L
Specified Heat Flux B.C.
31
(0, ) (0, )
0 or 0
T t T t
k
x x
 
 
 
 กรณีที่ 2 พื้นผิวมีอัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat flux) คงที่
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L
 ในกรณีที่มีการหุ้มฉนวนที่ผิวด้านหนึ่งของตัวกลาง
Specified Heat Flux B.C.
32
 ,
2 0
LT t
x



 กรณีที่ 2 พื้นผิวมีอัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat flux) คงที่
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L
 ในกรณีที่การกระจายตัวของอุณหภูมิภายในตัวกลางมีลักษณะสมมาตร (Thermal
symmetry)
Convection B.C.
33
 กรณีที่ 3 มีการพาความร้อนที่ผิว (Convection)
 โดยของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิวมีอุณหภูมิคงที่ T∞
 สามารถหา Boundary condition ที่ผิวได้จากการทาสมดุลพลังงานที่ผิวของ
ตัวกลาง
การถ่ายเทความร้อนโดยการ
นาความร้อนผ่านตัวกลาง
(Heat conduction)
การถ่ายเทความร้อนโดยการ
พาความร้อนที่ผิว (Heat
convection)
=
 1 1
(0, )
(0, )
T t
k h T T t
x


  

 2 2
( , )
( , )
T L t
k h T L t T
x


  

Radiation B.C.
34
 กรณีที่ 4 มีการแผ่รังสีความร้อนที่ผิว (Radiation)
 โดยมีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับสิ่งแวดล้อม (surroundings) ที่มีอุณหภูมิ Tsurr
 สามารถหา Boundary condition ที่ผิวได้จากการทาสมดุลพลังงานที่ผิวของ
ตัวกลาง
4 4
1 ,1
(0, )
(0, )surr
T t
k T T t
x
 

    
4 4
2 ,2
( , )
( , ) surr
T L t
k T L t T
x
 

    
การถ่ายเทความร้อนโดยการ
นาความร้อนผ่านตัวกลาง
(Heat conduction)
การถ่ายเทความร้อนโดยการ
แผ่รังสีความร้อนที่ผิว
(Radiation)
=
Interface B.C.
35
 กรณีที่ 5 ผิวของตัวกลาง 2 ชนิดสัมผัสกัน
0 0( , ) ( , )A B
A B
T x t T x t
k k
x x
 
  
 
TA(x0, t) = TB(x0, t)
Generalized B.C.
36
 โดยปกติแล้ว ที่ผิวของตัวกลางอาจจะมีทั้ง Convection, Radiation
หรือมี Heat flux คงที่
 ดังนั้นในการหา Boundary condition ที่ผิวจะต้องทาการสมดุลพลังงาน
ที่ผิว โดยกาหนดให้การถ่ายเทความร้อนสู่พิ้นผิวมีค่าเท่ากับการถ่ายเท
ความร้อนออกจากพื้นผิว
การถ่ายเท
ความร้อนเข้า
การถ่ายเท
ความร้อนออก
=
Example
37
Solution of Steady 1-D Heat Transfer
38
 วิธีการแก้ปัญหาการถ่ายเทความ
ร้อนแบบ 1 ทิศทาง แบบ Steady
 เขียนสมการ Differential equation
 กาหนด Boundary condition
 แก้สมการ Differential equation
เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตาม
แนวแกน
 ทาการหาอุณหภูมิที่แต่ละตาแหน่ง
หรือหาอัตราการถ่ายเทความร้อน
ตามที่โจทย์ต้องการ
Example Heat Conduction in a Plane Wall
39
Consider a large plane wall of thickness L = 0.2 m, thermal conductivity k = 1.2
W/m °C and surface area A = 15 m2. The two sides of the wall are maintained at
constant temperatures of T1 = 120°C and T2 = 50°C, respectively. Determine
(a) The variation of temperature within the wall and the value of temperature at x =
0.1 m
(b) The rate of heat conduction through the wall under steady condition
Example (cont.)
40
Example A Wall with various Sets of B.C.
41
Consider steady 1-dimensional heat conduction in a large plane wall of thickness L and
constant thermal conductivity k with no heat generation. Obtain expressions for the
variation of temperature within the wall for the following figures.
Example (cont.)
42
Example Heat Conduction in a Base Plate of an Iron
43
Consider the base plate of a 1200-W household iron that has a thickness of L = 0.5
cm, base area of A = 300 cm2 and thermal conductivity of k = 15 W/m °C. The inner
surface of the base plate is subjected to uniform heat flux generated by the resistance
heaters inside and the outer surface loses heat to the surroundings at T∞= 20°C by
convection. Taking the convection heat transfer coefficient to be h = 80 W/m2 °C and
disregarding heat loss by radiation, obtain an expression for the variation of
temperature in the base plate and evaluate the temperatures at the inner and the outer
surfaces.
Example (cont.)
44
Example Heat Loss through a Steam Pipe
45
Consider a steam pipe of length L = 20 m, inner radius r1 = 6 cm, outer radius r2 = 8
cm and thermal conductivity k = 20 W/m °C. The inner and outer surfaces of the pipe
are maintained at average temperature of T1 = 150°C and T2 = 60°C, respectively.
Obtain a general relation for the temperature distribution inside the pipe under steady
state conditions, and determine the rate of heat loss from the steam through the pipe.
Example (cont.)
46
Heat Generation in Solid
47
 ในกรณีที่มี Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลาง จะทาให้อุณหภูมิของตัวกลาง
สูงขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงแรก ซึ่งจะถือว่า เป็นระบบแบบ Transient คือ มีการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิขึ้นอยู่กับเวลา
 ในขณะเดียวกันความร้อนที่เกิดขึ้นในตัวกลางจะถูกถ่ายเทออกสู่สิ่งแวดล้อม
 จนกระทั่งในที่สุดเมื่อถึงสภาวะสมดุลทางความร้อน อูณหภูมิของตัวกลางจะคงที่
ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น ในช่วงนี้ระบบจะเป็นระบบแบบ Steady state
สิ่งที่เราสนใจในกรณีที่มี Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลาง คือ
 อุณหภูมิที่ผิวของตัวกลาง Ts และอุณหภูมิสูงสุดที่เกิดขึ้นในตัวกลางในสภาวะที่
เป็น Steady state Tmax
Heat Generation in Solid: Symmetry
48
 ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่ (egen = constant)
อัตราการถ่ายเทความร้อน
ออกจากตัวกลาง
อัตราการเกิด Heat generation
ขึ้นในตัวกลาง
=
gen
s
s
e V
T T
hA
 
(W)genQ e V
VeTThA genss   )(
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Plane wall ที่มีลักษณะสมมาตร
 ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่
 จาก และ 
 ถ้ากาแพงมีความหนา 2L จะได้
Heat Generation in Solid: Plane wall
49
gen
s
s
e V
T T
hA
  walls AA 2 wallLAV 2
,
gen
s plane wall
e L
T T
h
 
dx
dT
kAq  Veq gen  Ve
dx
dT
kA gen
k
Le
TTT
gen
s
2
2
 maxmax
Heat Generation in Solid: Cylindrical
50
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Cylinder
 ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่
 จาก และ 
gen
s
s
e V
T T
hA
  LrAs 02 LrV 2
0
dr
dT
kAq r rgenVeq   rgenr Ve
dr
dT
kA 
k
re
TTT
ogen
s
4
2
 maxmax
h
re
TT
ogen
s
2

 
 พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Sphere
 ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่
 จาก และ 
Heat Generation in Solid: Sphere
51
gen
s
s
e V
T T
hA
  2
04 rAs 
3
0
3
4
rV 
dr
dT
kAq r rgenVeq   rgenr Ve
dr
dT
kA 
k
re
TTT
ogen
s
6
2
 maxmax
h
re
TT
ogen
s
2

 
Example Centerline Temperature of a Resistance Heater
52
A 2 kW resistance heater wire whose thermal conductivity k = 15 W/m °C has a
diameter of D = 4 mm and a length of L = 0.5 m, and is used to boil water. If the outer
surface temperature of a resistance wire is Ts = 105°C, determine the temperature at
the center of the wire.
Example
53
Ex 1 A pipe in a manufacturing plant is transporting superheated vapor at a
mass flow rate of 0.3 kg/s. The pipe is 10 m long, has an inner diameter of 5
cm and pipe wall thickness of 6 mm. The pipe has a thermal conductivity of 17
W/m K and the inner pipe surface is at a uniform temperature of 120C. The
temperature drop between the inlet and exit of the pipe is 7C, and the
constant pressure specific heat of vapor is 2190 J/kg C. If the air temperature
in the manufacturing plant is 25C, determine the heat transfer coefficient as a
result of convection between the outer pipe surface and the surrounding air.
Ex 2 Consider a large 5 cm-thick brass plate (k = 111 W/m K) in which heat is
generated uniformly at a rate of 2x105 W/m3. One side of plate is insulated
while the other side is exposed to an environment at 25C with a heat transfer
coefficient of 44 W/m2 K. Explain where in the plate the highest and the
lowest temperatures will occur and determine their values

More Related Content

What's hot

Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSChapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSAbdul Moiz Dota
 
Transient heat-conduction-Part-I
Transient heat-conduction-Part-ITransient heat-conduction-Part-I
Transient heat-conduction-Part-Itmuliya
 
GATE Mechanical Engineering notes on Heat Transfer
GATE Mechanical Engineering notes on Heat TransferGATE Mechanical Engineering notes on Heat Transfer
GATE Mechanical Engineering notes on Heat TransferHimanshu Vasistha
 
heat conduction equations
heat conduction equationsheat conduction equations
heat conduction equationsZahir Baloch
 
Chapter 2 HEAT CONDUCTION EQUATION
Chapter 2HEAT CONDUCTION EQUATIONChapter 2HEAT CONDUCTION EQUATION
Chapter 2 HEAT CONDUCTION EQUATIONAbdul Moiz Dota
 
013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiation013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiationSaranyu Pilai
 
1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation
1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation
1-D Steady State Heat Transfer With Heat GenerationMihir Patel
 
Ch2 Heat transfer - conduction
Ch2 Heat transfer - conductionCh2 Heat transfer - conduction
Ch2 Heat transfer - conductioneky047
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTIONAbdul Moiz Dota
 
Heat transfer enhancement
Heat transfer enhancementHeat transfer enhancement
Heat transfer enhancementsmilingshekhar
 
Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...
Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...
Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...tmuliya
 
11 Heat Transfer
11 Heat Transfer11 Heat Transfer
11 Heat Transferspsu
 

What's hot (20)

Transient heat conduction
Transient heat conductionTransient heat conduction
Transient heat conduction
 
Heat 4e chap03_lecture
Heat 4e chap03_lectureHeat 4e chap03_lecture
Heat 4e chap03_lecture
 
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSChapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
 
Heat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lectureHeat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lecture
 
Transient heat-conduction-Part-I
Transient heat-conduction-Part-ITransient heat-conduction-Part-I
Transient heat-conduction-Part-I
 
GATE Mechanical Engineering notes on Heat Transfer
GATE Mechanical Engineering notes on Heat TransferGATE Mechanical Engineering notes on Heat Transfer
GATE Mechanical Engineering notes on Heat Transfer
 
heat conduction equations
heat conduction equationsheat conduction equations
heat conduction equations
 
Chapter 2 HEAT CONDUCTION EQUATION
Chapter 2HEAT CONDUCTION EQUATIONChapter 2HEAT CONDUCTION EQUATION
Chapter 2 HEAT CONDUCTION EQUATION
 
013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiation013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiation
 
1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation
1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation
1-D Steady State Heat Transfer With Heat Generation
 
HMT
HMTHMT
HMT
 
Heat transfer chapter one and two
Heat transfer chapter one and twoHeat transfer chapter one and two
Heat transfer chapter one and two
 
Ch2 Heat transfer - conduction
Ch2 Heat transfer - conductionCh2 Heat transfer - conduction
Ch2 Heat transfer - conduction
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
 
Forced convection
Forced convectionForced convection
Forced convection
 
Heat transfer enhancement
Heat transfer enhancementHeat transfer enhancement
Heat transfer enhancement
 
Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...
Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...
Lectures on Heat Transfer - Introduction - Applications - Fundamentals - Gove...
 
Chapter 4 transient heat condution
Chapter 4 transient heat condution Chapter 4 transient heat condution
Chapter 4 transient heat condution
 
Thermodynamic notes 2
Thermodynamic notes 2Thermodynamic notes 2
Thermodynamic notes 2
 
11 Heat Transfer
11 Heat Transfer11 Heat Transfer
11 Heat Transfer
 

Similar to 003 heat conduction equation thai

กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
004 2 steady state heat conduction_thai
004 2 steady state heat conduction_thai004 2 steady state heat conduction_thai
004 2 steady state heat conduction_thaiSaranyu Pilai
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thaiSaranyu Pilai
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfnipatboonkong2
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์Thaksin Sopapiya
 

Similar to 003 heat conduction equation thai (20)

กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
004 2 steady state heat conduction_thai
004 2 steady state heat conduction_thai004 2 steady state heat conduction_thai
004 2 steady state heat conduction_thai
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thai
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
Applications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural productsApplications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural products
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
 

003 heat conduction equation thai

  • 1. Ch 2 Heat Conduction Equation King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Faculty of Engineering Department of Mechanical and Aerospace Engineering 1
  • 2. วัตถุประสงค์  เพื่อให้เข้าใจปัญหาการถ่ายเทความร้อนที่ขึ้นอยู่กับเวลา (Transient) แบบหลายทิศทาง (Multi-dimension) รวมทั้งสามารถพิจารณาได้ว่า ภายใต้เงื่อนไขใด ที่จะสามารถ ประมาณได้ว่าการถ่ายเทความร้อนเป็นการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทาง  เพื่อให้สามารถเขียนและพิสูจน์สมการ Differential equation ของการถ่ายเทความร้อน ของ Coordinate ต่างๆ ได้ เช่น แผ่นราบ ทรงกระบอก ทรงกลม  เพื่อให้เข้าใจ Thermal condition ลักษณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนพื้นผิว รวมทั้ง Initial condition ของระบบ และสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ได้  เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนแบบ 1 ทิศทางได้ รวมทั้งสามารถหาสมการของการกระจายตัวของอุณหภูมิในตัวกลาง (Temperature Distribution) และอัตราการถ่ายเทคความร้อนได้ (Heat flux)  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางที่มี Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลางได้ 2
  • 3. Contents  Introduction  One-Dimensional Heat Conduction Equation  General Heat Conduction Equation  Boundary and Initials Conditions  Solution of Steady One-Dimensional Heat Conduction Problems  Heat Generation in a Solid  Variable Thermal Conductivity 3
  • 4. Introduction  “อุณหภูมิ (Temperature)” เป็นปริมาณที่มีแต่ขนาด ไม่มีทิศทาง ดังนั้น จึง ถือว่าอุณหภูมิเป็นปริมาณ Scalar Scalar quantity  “การถ่ายเทความร้อน (Heat transfer)” จะเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและ ทิศทาง เรียกว่าเป็นปริมาณ Vector Vector quantity  เมื่อการถ่ายเทความร้อนมีทั้งขนาดและทิศทาง ดังนั้นในการถ่ายเทความร้อน หรือการนาความร้อนผ่านตัวกลางหนึ่งๆ จะขึ้นกับรูปร่างของตัวกลางหรือ Coordinate system รวมทั้งทิศทางเข้าหรือออกจากตัวกลาง ซึ่งจะใช้ เครื่องหมาย “+” หรือ “-” ในการบอกทิศทาง 4
  • 5. Coordinate System 5  Coordinate system จะแบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ Plane wall, Cylinder และ Sphere
  • 6.  การแบ่งประเภทของลักษณะปัญหาที่มักพบเห็นโดยทั่วไปในการถ่ายเทความร้อน จะแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ  Steady State VS Transient (Unsteady State)  ต้องพิจารณาดูว่าการถ่ายความร้อนขึ้นอยู่กับเวลาหรือไม่  Multi-dimensional Heat Transfer  ต้องพิจารณาดูว่าการถ่ายเทความร้อนเกิดขึ้นในกี่ทิศทาง  Heat Generation  ต้องพิจารณาดูว่าการถ่ายเทความร้อนจะ Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลางหรือไม่ 6 Classification of Problems
  • 7.  Steady state heat transfer  การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ตาแหน่งหนึ่งๆ ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา  เช่น อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายมีค่า 15°C ที่เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป t=10 นาที อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายก็ยังมี ค่าเท่าเดิม คือ 15°C  หรือ อุณหภูมิของหนังด้านขวามีค่า 7°C ที่ เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป t=10 นาที อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายก็ยังมี ค่าเท่าเดิม คือ 15°C 7 Steady VS Unsteady T = f(x) แต่ T ≠ f(t)
  • 8.  Transient or unsteady state heat transfer  การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ตาแหน่งหนึ่งๆ จะขึ้นอยู่กับเวลา  เช่น อุณหภูมิของหนังด้านซ้ายมีค่า 15°C ที่เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป t=3 ชั่วโมง อุณหภูมิของหนังด้านซ้าย ลดลงเหลือ 12°C  หรือ อุณหภูมิของหนังด้านขวามีค่า 7°C ที่ เวลา t=0 นาที ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป t=3 ชั่วโมง อุณหภูมิของหนังด้านขวาลดลง เหลือ 5°C 8 Steady VS Unsteady T = f(x) และ T = f(t)
  • 9.  แบ่งเป็นการถ่ายเทความร้อนใน 1, 2 และ 3 ทิศทาง  โดยทั่วไป การถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นจริง จะเป็นแบบ 3 ทิศทาง 9 Multi-dimensional Heat Transfer
  • 10. Multi-dimensional Heat Transfer 10  สมการ Differential equation ทั่วไปที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะการ ถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อน คือ Fourier’s Law of heat conduction  การถ่ายเทความร้อนในแต่ละทิศทาง จะเขียนได้ดังนี้ การถ่ายเทความร้อนในแกน x การถ่ายเทความร้อนในแกน y การถ่ายเทความร้อนในแกน z (W)n dT Q kA dn   x x y y z z T Q kA x T Q kA y T Q kA z              
  • 11. Heat Generation 11  ตัวอย่างการถ่ายเทความร้อนที่มี Heat generation เกิดขึ้น ได้แก่:  มีการใส่ขดลวดไฟฟ้าไว้ในตัวกลาง ซึ่งพลังงานทางไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน โดยมีอัตราการเกิดความร้อนเท่ากับ I2R  มีการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงภายในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์  มีปฏิกิริยาเคมีที่เป็นแบบ Exothermic reactions  Heat generation ที่เกิดขึ้นเป็น volumetric phenomenon มีหน่วยเป็น W/m3  อัตราการเกิด Heat generation ในตัวกลางจะขึ้นอยู่กับเวลาและตาแหน่งใดๆ ภายในตัวกลาง  อัตราการเกิด Heat generation ที่เกิดขึ้นภายในตัวกลางที่มีปริมาณ V มีค่าเท่ากับ (W)gen gen V E e dV 
  • 12. One-Dimensional Heat Conduction 12  สมการสาหรับการนาความร้อนในแผ่นราบ (Plane wall) แบบ 1 ทิศทาง , element x x x gen element E Q Q E t       1 gen T T kA e c A x x t             - = อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง x อัตราการเกิด Heat generation ในตัวกลาง + อัตราการเปลี่ยนแปลง พลังงานภายในตัวกลาง อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง at x+∆x
  • 13. One-Dimensional Heat Conduction 13  สมการสาหรับการนาความร้อนในแผ่นราบ (Plane wall) แบบ 1 ทิศทาง เมื่อ k = ค่าคงที่  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)  กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t) และไม่มี Heat generation  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t) และไม่มี Heat generation 2 2 1 ; geneT T k x k t c           2 2 0 gened T dx k   2 2 1T T x t      2 2 0 d T dx 
  • 14. One-Dimensional Heat Conduction 14  สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกระบอก (Cylinder) แบบ 1 ทิศทาง - = อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง r อัตราการเกิด Heat generation ในตัวกลาง + อัตราการเปลี่ยนแปลง พลังงานภายในตัวกลาง อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง r+∆r , element r r r gen element E Q Q E t       1 gen T T rk e c r r r t            
  • 15. One-Dimensional Heat Conduction 15 1 1geneT T r r r r k t            1 0 gened dT r r dr dr k        1 1T T r r r r t           0 d dT r dr dr        สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกระบอก (Cylinder) แบบ 1 ทิศทาง เมื่อ k = ค่าคงที่  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)  กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t) และไม่มี Heat generation  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t) และไม่มี Heat generation
  • 16. One-Dimensional Heat Conduction 16  สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกลม (Sphere) แบบ 1 ทิศทาง - =+ , element r r r gen element E Q Q E t       2 2 1 gen T T r k e c r r r t             อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง r อัตราการเกิด Heat generation ในตัวกลาง อัตราการเปลี่ยนแปลง พลังงานภายในตัวกลาง อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง r+∆r
  • 17. One-Dimensional Heat Conduction 17 2 2 1 1geneT T r r r r k t             สมการสาหรับการนาความร้อนในทรงกลม (Sphere) แบบ 1 ทิศทาง เมื่อ k = ค่าคงที่  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)  กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t) และไม่มี Heat generation  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t) และไม่มี Heat generation
  • 18. Example 18 The temperature distribution across a wall 1 m thick at a certain instant of time is given as T(x) = a + bx + cx2 where T is in °C and x is in meters, while a = 900°C, b = -300°C/m and c = 50°C/m2. A uniform heat generation is 1000 W/m3, is present in the wall of area 10 m2 having the density of 1600 kg/m3, thermal conductivity of 40 W/m K and specific heat of 4 kJ/kg K. 1. Determine the rate of heat transfer entering the wall (x = 0) and leaving the wall (x = 1 m) 2. Determine the rate of change of energy storage in wall 3. Determine the time rate of temperature change at x = 0, 0.25 and 0.5 m
  • 19. Example 19 Consider a steel pan placed on top of an electric range to cook spaghetti. The bottom section of the pan is 0.4 cm thick and has a diameter of 18 cm. The electric heating unit on the range top consume 800 W of power during cooking, and 80% of the heat generated in the heating element is transfer uniformly to the pan. Assuming constant thermal conductivity, obtain the differential equation that describes the variation of the temperature in the bottom section of the pan during steady operation
  • 20. Example 20 A 2 kW resistance heater wire with thermal conductivity k = 15 W/m K, diameter D = 0.4 cm, and length L = 50 cm is used to boil water by immersing it in water. Assuming the variation of the thermal conductivity of the wire with temperature to be negligible, obtain the differential equation that describes the variation of the temperature in the wire during steady operation.
  • 21. General Heat Conduction Equation 21  สมการทั่วไปสาหรับการนาความร้อนแบบ 3 ทิศทาง - =+ x y zQ Q Q  x x y y z zQ Q Q     ,gen elementE elementE t    อัตราการนาความ ร้อนที่ตาแหน่ง x, y และ z อัตราการเกิด Heat generation ในตัวกลาง อัตราการเปลี่ยนแปลง พลังงานภายในตัวกลาง อัตราการนาความร้อนที่ ตาแหน่ง at x+∆x, y+∆y, z+∆z
  • 22. General Heat Conduction Equation 22 2 2 2 2 2 2 1geneT T T T x y z k t             Two-dimensional Three-dimensional 2 2 2 2 2 2 0 geneT T T x y z k           2 2 2 2 2 2 1T T T T x y z t            2 2 2 2 2 2 0 T T T x y z           สมการสาหรับการนาความร้อนใน Plane wall แบบ 3 ทิศทาง เมื่อ k = ค่าคงที่  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t)  กรณีที่ระบบเป็น Transient T = f(t) และไม่มี Heat generation  กรณีที่ระบบเป็น Steady State T ≠ f(t) และไม่มี Heat generation
  • 23. General Heat Conduction Equation 23  สมการสาหรับการนาความร้อนใน Sphere แบบ 3 ทิศทาง  สมการสาหรับการนาความร้อนใน Cylinder แบบ 3 ทิศทาง 2 1 1 gen T T T T T rk k k e c r r r r z z t                                  2 2 2 2 2 1 1 1 sin sin sin gen T T T T kr k k e c r r r r r t                                      
  • 24. Example 4 24 A short cylindrical metal billet of a radius R and height h is heated in an oven to a temperature of 300°C throughout and is then taken out of the oven and allowed to cool in ambient air at T∞= 20°C by convection and radiation. Assuming the billet is cooled uniformly from all outer surfaces and the variation of the thermal conductivity of the material with temperature is negligible, obtain the differential equation that describes the variation of the temperature in the billet during this cooling process.
  • 25. Boundary and Initial Conditions 25  เมื่อสามารถวิเคราะห์และเขียนสมการ Differential equation ของการนาความ ร้อนได้แล้ว อันดับต่อไป คือ การ Integrate เพื่อแก้สมการดังกล่าว  แต่สมการ Differential equation ดังกล่าวข้างต้น สร้างขึ้นจากการทาสมดุล พลังงานของระบบ โดยที่ไม่ได้พิจารณาถึง Thermal boundary conditions  เมื่อ Integrate แล้วจะได้สมการสาหรับหา อุณหภูมิที่ตาแหน่งต่างๆ ที่มีค่าคงที่ c เป็น ตัวแปร ดังแสดงไว้ด้านข้าง
  • 26. Boundary and Initial Conditions 26  ค่าคงที่ c จากการแก้สมการ Differential equation จะสามารถ หาได้จาก Thermal boundary conditions ที่พื้นผิวของตัวกลาง เช่น อุณหภูมิที่ผิว อัตราการถ่ายเท ความร้อน
  • 27. Boundary and Initial Conditions 27  จานวน Thermal boundary condition (B.C.) ที่ต้องใช้ในการหาค่าคงที่ ของตัวแปร c ขึ้นอยู่กับว่าเป็นการนาความร้อนในกี่ทิศทาง ซึ่งแต่ละทิศทาง จะต้องการ 2 Thermal boundary conditions ได้แก่  การนาความร้อนใน 1 ทิศทางต้องการ 2 B.C.  การนาความร้อนใน 2 ทิศทางต้องการ 4 B.C.  การนาความร้อนใน 3 ทิศทางต้องการ 6 B.C.  สาหรับในกรณีที่การนาความร้อนเป็นแบบ Transient จะต้องมี 1 Initial condition ซึ่งบอกถึงอุณหภูมิเริ่มต้นที่ t = 0 โดยที่  T (x, y, z, 0) = Ti
  • 28. Boundary and Initial Conditions 28  Thermal B.C. และ Initial condition สามารถแบ่ง ออกเป็นหลายกรณี เช่น  อุณหภูมิที่ผิวคงที่  อัตราการถ่ายเทความร้อนที่ ผิวคงที่  มีการพาความร้อนที่ผิว (Convection)  มีการแผ่รังสีความร้อนที่ผิว (Radiation)  มีผิวของตัวกลาง 2 ชนิด สัมผัสกัน
  • 29. Specified Temp. B.C. 29  กรณีที่ 1 พื้นผิวมีอุณหภูมิคงที่  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L T(0, t) = T1 T(L, t) = T2
  • 30. Specified Heat Flux B.C. 30 dT q k dx    Heat flux in the positive x-direction  กรณีที่ 2 พื้นผิวมีอัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat flux) คงที่  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L
  • 31. Specified Heat Flux B.C. 31 (0, ) (0, ) 0 or 0 T t T t k x x        กรณีที่ 2 พื้นผิวมีอัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat flux) คงที่  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L  ในกรณีที่มีการหุ้มฉนวนที่ผิวด้านหนึ่งของตัวกลาง
  • 32. Specified Heat Flux B.C. 32  , 2 0 LT t x     กรณีที่ 2 พื้นผิวมีอัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat flux) คงที่  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนแบบ 1 ทิศทางผ่าน Plane wall ที่มีความหนา L  ในกรณีที่การกระจายตัวของอุณหภูมิภายในตัวกลางมีลักษณะสมมาตร (Thermal symmetry)
  • 33. Convection B.C. 33  กรณีที่ 3 มีการพาความร้อนที่ผิว (Convection)  โดยของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิวมีอุณหภูมิคงที่ T∞  สามารถหา Boundary condition ที่ผิวได้จากการทาสมดุลพลังงานที่ผิวของ ตัวกลาง การถ่ายเทความร้อนโดยการ นาความร้อนผ่านตัวกลาง (Heat conduction) การถ่ายเทความร้อนโดยการ พาความร้อนที่ผิว (Heat convection) =  1 1 (0, ) (0, ) T t k h T T t x        2 2 ( , ) ( , ) T L t k h T L t T x      
  • 34. Radiation B.C. 34  กรณีที่ 4 มีการแผ่รังสีความร้อนที่ผิว (Radiation)  โดยมีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับสิ่งแวดล้อม (surroundings) ที่มีอุณหภูมิ Tsurr  สามารถหา Boundary condition ที่ผิวได้จากการทาสมดุลพลังงานที่ผิวของ ตัวกลาง 4 4 1 ,1 (0, ) (0, )surr T t k T T t x         4 4 2 ,2 ( , ) ( , ) surr T L t k T L t T x         การถ่ายเทความร้อนโดยการ นาความร้อนผ่านตัวกลาง (Heat conduction) การถ่ายเทความร้อนโดยการ แผ่รังสีความร้อนที่ผิว (Radiation) =
  • 35. Interface B.C. 35  กรณีที่ 5 ผิวของตัวกลาง 2 ชนิดสัมผัสกัน 0 0( , ) ( , )A B A B T x t T x t k k x x        TA(x0, t) = TB(x0, t)
  • 36. Generalized B.C. 36  โดยปกติแล้ว ที่ผิวของตัวกลางอาจจะมีทั้ง Convection, Radiation หรือมี Heat flux คงที่  ดังนั้นในการหา Boundary condition ที่ผิวจะต้องทาการสมดุลพลังงาน ที่ผิว โดยกาหนดให้การถ่ายเทความร้อนสู่พิ้นผิวมีค่าเท่ากับการถ่ายเท ความร้อนออกจากพื้นผิว การถ่ายเท ความร้อนเข้า การถ่ายเท ความร้อนออก =
  • 38. Solution of Steady 1-D Heat Transfer 38  วิธีการแก้ปัญหาการถ่ายเทความ ร้อนแบบ 1 ทิศทาง แบบ Steady  เขียนสมการ Differential equation  กาหนด Boundary condition  แก้สมการ Differential equation เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตาม แนวแกน  ทาการหาอุณหภูมิที่แต่ละตาแหน่ง หรือหาอัตราการถ่ายเทความร้อน ตามที่โจทย์ต้องการ
  • 39. Example Heat Conduction in a Plane Wall 39 Consider a large plane wall of thickness L = 0.2 m, thermal conductivity k = 1.2 W/m °C and surface area A = 15 m2. The two sides of the wall are maintained at constant temperatures of T1 = 120°C and T2 = 50°C, respectively. Determine (a) The variation of temperature within the wall and the value of temperature at x = 0.1 m (b) The rate of heat conduction through the wall under steady condition
  • 41. Example A Wall with various Sets of B.C. 41 Consider steady 1-dimensional heat conduction in a large plane wall of thickness L and constant thermal conductivity k with no heat generation. Obtain expressions for the variation of temperature within the wall for the following figures.
  • 43. Example Heat Conduction in a Base Plate of an Iron 43 Consider the base plate of a 1200-W household iron that has a thickness of L = 0.5 cm, base area of A = 300 cm2 and thermal conductivity of k = 15 W/m °C. The inner surface of the base plate is subjected to uniform heat flux generated by the resistance heaters inside and the outer surface loses heat to the surroundings at T∞= 20°C by convection. Taking the convection heat transfer coefficient to be h = 80 W/m2 °C and disregarding heat loss by radiation, obtain an expression for the variation of temperature in the base plate and evaluate the temperatures at the inner and the outer surfaces.
  • 45. Example Heat Loss through a Steam Pipe 45 Consider a steam pipe of length L = 20 m, inner radius r1 = 6 cm, outer radius r2 = 8 cm and thermal conductivity k = 20 W/m °C. The inner and outer surfaces of the pipe are maintained at average temperature of T1 = 150°C and T2 = 60°C, respectively. Obtain a general relation for the temperature distribution inside the pipe under steady state conditions, and determine the rate of heat loss from the steam through the pipe.
  • 47. Heat Generation in Solid 47  ในกรณีที่มี Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลาง จะทาให้อุณหภูมิของตัวกลาง สูงขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงแรก ซึ่งจะถือว่า เป็นระบบแบบ Transient คือ มีการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิขึ้นอยู่กับเวลา  ในขณะเดียวกันความร้อนที่เกิดขึ้นในตัวกลางจะถูกถ่ายเทออกสู่สิ่งแวดล้อม  จนกระทั่งในที่สุดเมื่อถึงสภาวะสมดุลทางความร้อน อูณหภูมิของตัวกลางจะคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น ในช่วงนี้ระบบจะเป็นระบบแบบ Steady state สิ่งที่เราสนใจในกรณีที่มี Heat generation เกิดขึ้นในตัวกลาง คือ  อุณหภูมิที่ผิวของตัวกลาง Ts และอุณหภูมิสูงสุดที่เกิดขึ้นในตัวกลางในสภาวะที่ เป็น Steady state Tmax
  • 48. Heat Generation in Solid: Symmetry 48  ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่ (egen = constant) อัตราการถ่ายเทความร้อน ออกจากตัวกลาง อัตราการเกิด Heat generation ขึ้นในตัวกลาง = gen s s e V T T hA   (W)genQ e V VeTThA genss   )(
  • 49.  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Plane wall ที่มีลักษณะสมมาตร  ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่  จาก และ   ถ้ากาแพงมีความหนา 2L จะได้ Heat Generation in Solid: Plane wall 49 gen s s e V T T hA   walls AA 2 wallLAV 2 , gen s plane wall e L T T h   dx dT kAq  Veq gen  Ve dx dT kA gen k Le TTT gen s 2 2  maxmax
  • 50. Heat Generation in Solid: Cylindrical 50  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Cylinder  ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่  จาก และ  gen s s e V T T hA   LrAs 02 LrV 2 0 dr dT kAq r rgenVeq   rgenr Ve dr dT kA  k re TTT ogen s 4 2  maxmax h re TT ogen s 2   
  • 51.  พิจารณาการถ่ายเทความร้อนใน Sphere  ในกรณีที่ Heat generation มีค่าคงที่  จาก และ  Heat Generation in Solid: Sphere 51 gen s s e V T T hA   2 04 rAs  3 0 3 4 rV  dr dT kAq r rgenVeq   rgenr Ve dr dT kA  k re TTT ogen s 6 2  maxmax h re TT ogen s 2   
  • 52. Example Centerline Temperature of a Resistance Heater 52 A 2 kW resistance heater wire whose thermal conductivity k = 15 W/m °C has a diameter of D = 4 mm and a length of L = 0.5 m, and is used to boil water. If the outer surface temperature of a resistance wire is Ts = 105°C, determine the temperature at the center of the wire.
  • 53. Example 53 Ex 1 A pipe in a manufacturing plant is transporting superheated vapor at a mass flow rate of 0.3 kg/s. The pipe is 10 m long, has an inner diameter of 5 cm and pipe wall thickness of 6 mm. The pipe has a thermal conductivity of 17 W/m K and the inner pipe surface is at a uniform temperature of 120C. The temperature drop between the inlet and exit of the pipe is 7C, and the constant pressure specific heat of vapor is 2190 J/kg C. If the air temperature in the manufacturing plant is 25C, determine the heat transfer coefficient as a result of convection between the outer pipe surface and the surrounding air. Ex 2 Consider a large 5 cm-thick brass plate (k = 111 W/m K) in which heat is generated uniformly at a rate of 2x105 W/m3. One side of plate is insulated while the other side is exposed to an environment at 25C with a heat transfer coefficient of 44 W/m2 K. Explain where in the plate the highest and the lowest temperatures will occur and determine their values