SlideShare a Scribd company logo
1 of 104
บทที่ 7
คลื่นกล และ เสียง
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี
หัวข้อบรรยาย
• การเกิดคลื่นกล
• ประเภทคลื่น
7.1 การเกิดคลื่นกล
1. แหล่งของการรบกวน
(source of
disturbance)การเกิดคลื่นกลได้นั้นประกอบด้วยสามสิ่ง
2. ตัวกลาง
(medium)
3. อันตรกิริยาระหว่างตัวกลางที่ตาแหน่งข้างเคียงกัน
เช่น ในกรณีนี้คือแรงระหว่างโมเลกุลของน้า
7.1 การเกิดคลื่นกล
1. แหล่งของการรบกวน คือ
คนสั่นเชือก
3. อันตรกิริยาระหว่างตัวกลาง เช่น
ในกรณีนี้คือแรงระหว่างโมเลกุล
ของเชือก
2. ตัวกลาง คือ เชือก
การเกิดคลื่นกลได้นั้นประกอบด้วยสามสิ่ง
จะเห็นได้ว่า พลังงานจากการ
รบกวนจะเคลื่อนที่ตามคลื่นไป
7.1 การเกิดคลื่นกล
• อนุภาคของเชือกจะสั่นเพียงขึ้นลง
เท่านั้นไม่ได้เคลื่อนที่ไปพร้อมกับ
คลื่น
ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
ทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาค
7.1 การเกิดคลื่นกล
A
B
สรุปได้ว่า : “คลื่นก็คือการถ่ายทอดพลังงานจากแห่ง
หนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง โดยที่ตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่
ไปพร้อมกับคลื่น”
การถ่ายทอดพลังงาน
คาถามชวนคิด
เป็ นไปได้หรือไม่ที่เราสามารถใช้เสียงทาให้แก้วแตกได้
และเป็ นไปได้หรือไม่ที่ นักร้องโอเปร่า ที่มีเสียงแหลม
มากๆ สามารถส่งเสียงร้องที่ทาให้แก้วแตกได้
7.2 ชนิดของคลื่น (Wave Type)
เนื่องจากการเคลื่อนที่แบบคลื่นเกิดจากการรบกวนสภาวะสมดุลทางฟิสิกส์
ทาให้เกิดการส่งผ่านพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยจาเป็นต้องมีตัวกลางหรือไม่ก็
ได้ ดังนั้นในการแบ่งชนิดของคลื่นจึงแบ่งออกได้เป็นชนิดต่าง ๆ ดังนี้
2. แบ่งชนิดของคลื่นโดยพิจารณา การ
อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
1. แบ่งชนิดของคลื่นโดยพิจารณา การอาศัย
ตัวกลางในการเคลื่อนที่
1. แบ่งชนิดของคลื่นโดยพิจารณา
การอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ สามารถแบ่งคลื่นได้เป็ น 2 ชนิด คือ
II. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic Wave) คือ คลื่นที่
ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นแสง, คลื่นวิทยุ เป็ น
ต้น
I. คลื่นกลหรือคลื่นยืดหยุ่น (Mechanical Wave หรือ
Elastic Wave) คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
โดยตัวกลางจะเกิดการสั่นทาให้เกิดการส่งผ่านพลังงานจากที่หนึ่ง
ไปยังอีกที่หนึ่ง เช่น คลื่นเสียง, คลื่นน้า, คลื่นในเส้นเชือก เป็ น
ต้น
2. แบ่งชนิดของคลื่น โดยพิจารณาทิศทางของการเคลื่อนที่ของคลื่น
และของตัวกลางที่ ถูกรบกวน สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ชนิด คือ
I. คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) คือ คลื่นที่ทา
ให้อนุภาคของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการเคลื่อนที่
ไปกลับในทิศทางที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนของคลื่น
เช่น คลื่นน้า, คลื่นในเส้นเชือก เป็ นต้น
II. คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) คือ คลื่นที่ทาให้
อนุภาคของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการเคลื่อนที่ไปกลับใน
ทิศทางที่เดียวกันกับทิศทางการเคลื่อนของคลื่น เช่น คลื่นเสียง,
คลื่นในสปริง เป็ นต้น
7.2 ชนิดของคลื่น (Wave Type)
7.2 ประเภทคลื่น
7.2 ประเภทคลื่น
7.2 ประเภทคลื่น
7.2 ประเภทคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น:ความถี่และคาบ
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : ความยาวคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : อัตราเร็วคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : อัตราเร็วคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : อัตราเร็วคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : อัตราเร็วคลื่น
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : แอมพลิจูด
7.3 การอธิบายลักษณะของคลื่น : แอมพลิจูด
ตัวอย่างที่ 7.1 ให้หาอัตราเร็วของคลื่นตามขวางคลื่นหนึ่งที่มีระยะห่างท้อง
คลื่นเป็น 10 m และจุดหนึ่งบนคลื่นใช้เวลา 4 วินาที ในการเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ
หนึ่งรอบ
ตัวอย่างที่ 7.2 หาความยาวคลื่นของเสียงที่มีความถี่ 528 Hz (ตรงกับเสียงโด
สูง๗ กาหนดให้ความเร็วเสียงในอากาศเป็น 341 m/x
7.4 คุณสมบัติของคลื่น
7.4 คุณสมบัติของคลื่น
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การสะท้อน
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การสะท้อน
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การสะท้อน
ตัวอย่างที่ 7.3 กลาสีเรือเคาะท้องเรือด้วยค้อน เกิดเสียงสะท้อน
จากก้นมหาสมุทรกลับมาถึงตัวเขาในเวลา 0.50 s หลังจากเคาะ
อยากทราบว่าก้นมหาสมุทรลึกจากเรืองเท่าใด ให้ความเร็วเสียง
ในน้าทะเลเท่ากับ 1500 m/s
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
ตัวอย่างที่ 7.4 คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
โดยมีมุมตก 30o และเกิดมุมหักเห 45o ถ้าคลื่นมีมุมตกกระทบ 45o จะ
เกิดมุมหักเหเท่าใด
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การหักเห
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การแทรกสอด
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การแทรกสอด
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การแทรกสอด
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การแทรกสอด
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การเลี้ยวเบน
7.4 คุณสมบัติของคลื่น : การเลี้ยวเบน
7.5 เสียง
7.6 การเกิดเสียงและอัตราเร็วของคลื่นเสียง
7.5 เสียง
7.5 เสียง
7.5 เสียง
7.5 เสียง
ตัวอย่างที่ 7.5 นายฟังได้ยินเสียงตะโกนของนายดัง หลังจากนาย
ดัง ได้ตะโกนไปแล้ว 3 วินาที ถ้าขณะนั้นอุณหภูมิของอากาศมีค่า
เท่ากับ 20 oC นายดังและนายฟัง อยู่ห่างกันเป็นระยะทางเท่าไร
7.5 เสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
ตาราง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
ตัวอย่างที่ 7.6 ถ้านักเรียนวัดระดับความเข้มเสียงของแตรรถยนต์คันหนึ่งได้ 70 dB ถ้า
รถยนต์ชนิดเดียวกันเพิ่มขึ้นเป็น 10 คัน บีบแตรพร้อมกัน ๆ กัน ระดับความเข้มเสียงที่
นักเรียนวัดได้จะมีค่าเท่าไร (ระยะทางจากนักเรียนถึงรถยนต์เท่าเดิม)
ตัวอย่างที่ 7.7 นกหวีดตัวหนึ่งถูกเป่าออกมาด้วยเสียง ด้วยกาลังคงที่ ถ้านักเรียน
เคลื่อนที่ออกจากนกหวีดเป็นระยะสองเท่าจากระยะเดิม ระดับความเข้มของเสียงจะ
ลดลงกี่ dB
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
7.7 ระดับความเข้มเสียง
ตัวอย่างที่ 7.8 อุลตราซาวน์มีอัตราเร็วในเนื้อเยื่อเท่ากับ 1500 m/s (ก.)
คานวณหา รายละเอียดที่เล็กที่สุดที่สามารถมองเห็นได้ในการอุลตรา
ซาวน์ที่มีความถี่ 2 MHz (ข.) ลึกขนาดไหนที่อุลตราซาวน์สามารถ
วิเคราะห์ได้ (ค.) ใช้เวลานานเท่าไรที่อุลตราซาวน์จะเดินทางไปกลับจาก
ที่ความลึก 0.1 m
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : บีตส์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : บีตส์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : บีตส์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : บีตส์
ตัวอย่างที่ 7.9 คลื่นเสียง 2 ขบวนมาพบกันเกิดบีตส์ 4 บีตส์/วินาที
และได้ยินเสียงความถี่ 350 Hz จงหาความถี่จริงของคลื่นทั้งสองนี้
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : เรโซแนนซ์
ตัวอย่างที่ 7.10 เราสามารถสร้างเสียงได้ โดยการเป่าลมผ่านปากขวด
น้าอัดลม เสียงที่เกิดขึ้นนั้นเป็นผลของการเกิดเรโซแนนซ์ของเสียงภายใน
ขวดนั่นเอง ถ้าเราสมมติให้ขวดน้าอัดลมเป็นท่อปลายปิ ดหนึ่งด้าน
ปลายเปิดหนึ่งด้าน ที่มีความยาว 25 cm จงหาความถี่ของสามอาร์มอนิค
แรกที่สามารถเกิดขึ้นได้(สมมติให้อัตราเร็วของเสียงในอากาศมีค่าเท่ากับ
340 m/s)
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
ตัวอย่างที่ 7.11 รถไฟเปิดหวูดซึ่งมีความถี่ 3000 Hz แล่นด้วยความเร็ว 80
m/s ถ้าเสียงมีความเร็วในอากาศ 340 m/s จงหาความถี่ที่ปรากฏต่อผู้ฟัง ที่
ยืนอยู่หน้ารถไฟ และยืนอยู่หลังรถไฟ
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
ตัวอย่างที่ 7.12 รถไฟสองขบวนแล่นสวนกันบนรางขนานด้วยความเร็วที่
เท่ากัน 100 m/s อัตราเร็วของเสียงในขณะนั้นมีความเร็ว 340 m/s ถ้ารถไฟ
ขบวนนี้เปิดหวูดที่มีความถี่ 4000 Hz ผู้โดยสารในรถไฟอีกขบวนหนึ่งจะได้
ยินความถี่เท่าใด พิจารณาเฉพาะขณะที่รถไฟกาลังวิ่งเข้าหากันแต่ยังไม่สวน
เลยกันไป
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : ปรากฏการดอปเพลอร์
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : คลื่นกระแทก
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : คลื่นกระแทก
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : คลื่นกระแทก
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : คลื่นกระแทก
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : คลื่นกระแทก
ตัวอย่างที่ 7.13 ประมาณอัตราเร็วของเครื่องบิน F-18 ถ้าอัตราเร็วของ
เสียงในอากาศมีค่าเท่ากับ 350 m/s
7.8 ปรากฏการณ์ของเสียง : คลื่นกระแทก
7.9 การรับรู้เสียงของมนุษย์
7.9 การรับรู้เสียงของมนุษย์
7.9 การรับรู้เสียงของมนุษย์

More Related Content

What's hot

1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 

What's hot (20)

1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
บีตส์
บีตส์บีตส์
บีตส์
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 

Viewers also liked

การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนkrupatcharee
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้jirupi
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...Prachoom Rangkasikorn
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 

Viewers also liked (14)

การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอน
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 

Similar to บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง

เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]wattumplavittayacom
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 

Similar to บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง (7)

Problem1364
Problem1364Problem1364
Problem1364
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
 
Sound
SoundSound
Sound
 
0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 

More from Thepsatri Rajabhat University

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics IThepsatri Rajabhat University
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 

More from Thepsatri Rajabhat University (20)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 

บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง