SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
Ch 1 Introductory to Heat
Transfer and Basic Concepts
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Faculty of Engineering
Department of Mechanical and Aerospace Engineering
1
วัตถุประสงค์
 เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง Thermodynamics และ Heat transfer
 เพื่อให้สามารถบอกความแตกต่างระหว่างพลังงานความร้อนและพลังงานใน
รูปแบบอื่นๆ
 เพื่อให้วิเคราะห์สมดุลพลังงานได้
 เพื่อให้เข้าใจถึงกลไกการถ่ายเทความร้อน ซึ่งได้แก่ Conduction, Convection
และ Radiation
 เพื่อให้เข้าใจถึงสมการต่างๆ ได้แก่ Fourier's law of heat conduction,
Newton's law of cooling และ the Stefan–Boltzmann law of radiation,
 เพื่อให้สามารถวิเคราะห์กลไกการถ่ายเทความร้อนทั้ง แบบที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน
ได้ รวมทั้งการคานวณหา Heat transfer rate ที่เกิดขึ้นจากกลไกดังกล่าว
2
เนื้อหาสาคัญ
 Thermodynamics and Heat Transfer
 Engineering Heat Transfer
 Heat and other Forms of Energy
 1st of Thermodynamics
 Heat Transfer Mechanisms
 Conduction
 Convection
 Radiation
 Simultaneous Heat Transfer Mechanisms
 Problem Solving Technique
3
Thermodynamics and Heat Transfer
 Thermodynamics  ปริมาณของความร้อน (Heat) ที่ถูกถ่ายเทเข้าหรือ
ออกจากระบบ เพื่อที่จะทาให้ Process เกิดการเปลี่ยน State จากที่สภาวะ
สมดุลไปยังอีกสภาวะสมดุลหนึ่ง โดยไม่สนใจว่า จะต้องใช้ระยะเวลาเท่าใดใน
การเกิด Process นั้นๆ
Equilibrium State
 Heat transfer  อัตราการถ่ายเทความร้อน (Rate of energy) เพื่อที่ทาให้
ระบบมีการเปลี่ยนแปลอุณหภูมิ
Non-equilibrium phenomena
4
Thermodynamics and Heat Transfer
 เนื่องจาก Heat transfer เป็น Non-equilibrium phenomena
ดังนั้น Heat transfer จึงไม่สามารถใช้พื้นฐานทาง Thermodynamics
เพียงอย่างเดียว แต่กฎของ Thermodynamics จะถูกนามาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
ของวิชา Heat transfer ยกตัวอย่างเช่น
 กฏข้อที่ 1 พลังงานเข้า = พลังงานออก
 กฏข้อที่ 2 ทิศทางการถ่ายเทความร้อน
จาก Temp. สูง ไป Temp. ต่า
5
TA > TB
 Heat transfer จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีความแตกต่างของอุณหภูมิ (Temperature
difference ∆T) โดยจะมีทิศทางจาก Temp. สูง ไป Temp. ต่า
T2 > T1  Heat Transfer
T2 = T1  No heat transfer
 อัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat transfer rate) จะขึ้นอยู่กับ ∆T
 ยิ่งถ้า ∆T มาก ก็จะทาให้มี Heat transfer rate มาก
6
T2
T1
Thermodynamics and Heat Transfer
7
Application Areas of Heat Transfer
 การแก้ปัญหาวิศวกรรมเกี่ยวกับการถ่ายเทความร้อน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2
ลักษณะ คือ Rating problem และ Sizing problem
 Rating Problem
 Find: Heat transfer rate ของระบบ
 Given: ∆T ของระบบ, ขนาด (Size) ของระบบ
 Sizing Problem
 Find: ขนาด (Size) ของระบบ
 Given: ∆T ของระบบ, Heat transfer rate
8
Engineering Heat Transfer
 พลังงานทั้งหมดของระบบ จะประกอบไปด้วย พลังงานภายใน (u), พลังงานจลน์
(k.e.) และพลังงานศักย์ (p.e.) โดยสามารถหาได้จาก e = u + k.e. + p.e.
 พลังงานภายในที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ภายในของ
โมเลกุลแต่ละโมเลกุล จะสามารถแบ่งได้เป็น
 Sensible heat  Temp. change
 Latent heat  Phase change
e = u e = h = u + pv
9
Heat and other Forms of Energy
Specific Heat
10
 Specific Heat (ค่าความจุความร้อนจาเพาะ)
พลังงานความร้อนที่ต้องการในการที่ทาให้สาร
มวล 1 kg มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 °C
 Specific heat at constant volume cv
du = cvdt, ∆u = cv,avg∆T, ∆U = mcv,avg∆T
 Specific heat at constant pressure cp
dh = cpdt, ∆h = cp,avg∆T, ∆H = mcp,avg∆T
Specific Heat
11
 สาหรับ Pure substance
 ค่าความจุความร้อนจาเพาะจะขึ้นอยู่กับ
อุณหภูมิและความดัน
cv, cp = f(T, p)
 สาหรับ Ideal gas
 ค่าความจุความร้อนจาเพาะจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
cv, cp = f(T)
 สาหรับ Incompressible substance
 ค่าความจุความร้อนจาเพาะจะคงที่
cv = cp = c
Energy Transfer
12
 การถ่ายเทพลังงาน  Heat และ Work
 Heat Transfer  จะเกิดขึ้นเนื่องจากมีความแตกต่างของอุณหภูมิ ส่วนการถ่ายเท
พลังงานที่ไม่ได้เป็นผลมาจากความแตกต่างของุณหภูมิจะถือว่าเป็น Work Transfer
นิยาม ความหมาย สัญลักษณ์ หน่วย
Thermal Energy พลังงานความร้อนที่สะสมอยู่ในวัตถุ เมื่อวัตถุมีอุณหภูมิค่า
หนึ่งๆ ซึ่งจะรวบรวมพลังงานในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
ของวัตถุ (Sensible heat) และ พลังงานในการเปลี่ยน
สถานะของวัตถุ (Latent heat)
U J/kg or
J
Heat transfer พลังงานความร้อนที่ถูกถ่ายเทเนื่องจากผลต่างของอุณหภูมิ Q J
Heat transfer rate พลังงานความร้อนที่ถูกถ่ายเทต่อหนึ่งหน่วยเวลา W
Heat flux พลังงานความร้อนที่ถูกถ่ายเทต่อหนึ่งหน่วยเวลาต่อหนึ่ง
หน่วยพื้นที่
W/m2
Q
qorq 
1st of Thermodynamics
13
พลังงานทั้งหมด
ที่เข้าสู่ระบบ
พลังงานทั้งหมด
ที่ออกจากระบบ
การเปลี่ยนแปลง
พลังงานของระบบ
- =
, (J)in out gen thermal systemQ Q E E   
Net heat
transfer
Change in
thermal
energy of the
system
Heat
generation
1st of Thermodynamics
 ระบบปิด (Close System)  ระบบเปิดแบบการไหลคงที่
(Steady Flow System)
14
(J)vQ mc T 
(kg/s)in outm m m 
(kJ/s)pQ m h mc T   
Heat Transfer Mechanisms
15
 การนาความร้อน
(Conduction)
 การพาความร้อน
(Convection)
 การแผ่รังสีความร้อน
(Radiation)
Heat Transfer Mechanisms
16
การพาความร้อน (Convection): ความร้อนจะถูกถ่ายเทโดยอาศัยการเคลื่อนที่ของของไหลบนพื้นผิว
การแผ่รังสีความร้อน (Radiation): พลังงานจะถูกปล่อยออกจากวัตถุเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ
อิเลคตรอนในอะตอมหรือโมเลกุลของวัตถุ และพลังงานจะถูกถ่ายเทโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การนาความร้อน (Conduction): เป็นการถ่ายเทความร้อนโดยมีของแข็งหรือของไหลที่อยู่นิ่งเป็นตัวกลาง
โดยความร้อนจะเกิดการถ่ายเทเนื่องจากการชนกันของอะตอมหรือโมเลกุลของตัวกลาง
Conduction
17
 เมื่อโมเลกุลของวัตถุเคลื่อนที่ชนกัน จะเกิด
พลังงานขึ้น โดยพลังงานที่เกิดขึ้นจะถูกถ่ายเทใน
รูปของความร้อนจากโมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่า
ไปยังโมเลกุลที่มีพลังงานน้อยกว่าที่อยู่ใกล้ๆ กัน
Conduction
18
 อัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนจะ
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่องๆ ดังนี้
 ชนิดของวัตถุ
 พื้นที่ผิว (A)
 ความแตกต่างของอุณหภูมิ ∆T และ
 ความหนาของวัตถุ ∆x
 การหาค่าอัตราการนาความร้อน สามารถหาได้
จาก Fourier’s law of heat conduction
(W)cond
dT
Q kA
dx
 
Conduction
19
1 2
(W)cond
T T T
Q kA kA
x x
 
  
 
(W)cond
dT
Q kA
dx
  จาก
 ถ้า ∆T เพิ่มขึ้น อัตราการถ่ายเทความร้อนจะเพิ่มขึ้น
 ถ้า ∆x เพิ่มขึ้น อัตราการถ่ายเทความร้อนจะลดลง
 k = Thermal conductivity ซึ่งเป็นค่าคงที่เฉพาะตัวของวัตถุ
 dT/dx เป็นความชันของกราฟ T-x diagram
Thermal Conductivity
20
 ค่า Thermal conductivity (k) เป็นค่าที่บ่ง
บอกถึงความสามารถในการนาความร้อนของ
วัตถุ
 วัตถุที่มีค่า k สูง  ถ่ายเทความร้อนได้ดี
สามารถนาไปใช้เป็นตัวนาความร้อนได้ เช่น
ทองแดง ทอง อลูมิเนียม
 วัตถุที่มีค่า k ต่า  ถ่ายเทความร้อนได้น้อย
สามารถนามาเป็นฉนวนได้ เช่น อิฐ แก้ว
ไฟเบอร์
Thermal Conductivity
21
 โดยปกติแล้วค่า k ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
ของวัตถุ
 แต่ในความเป็นจริงแล้ว เรามักจะ
กาหนดให้ค่า k เป็นค่าคงที่
Thermal Diffusivity
22
 ค่า Thermal Diffusivity  เป็นอัตราส่วนของความสามารถในการนาความ
ร้อนของวัตถุต่อความสามารถในการเก็บสะสมความร้อนของวัตถุ
 หากวัตถุมีค่า Thermal diffusivity สูง, วัตถุนั้นจะสามารถถ่ายเทความร้อน
ได้ดี แต่จะเก็บความร้อนได้ไม่ดี
 หากวัตถุมีค่า Thermal diffusivity ต่า, วัตถุนั้นจะสามารถเก็บความร้อนได้
ดี แต่จะถ่ายเทความร้อนได้ไม่ดี
2Heat conducted
(m s)
Heat stored p
k
c


 
Convection
23
 การพาความร้อน (Convection) เป็นการถ่ายเทความร้อนระหว่างพื้นผิวของ
ของแข็งกับของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิวนั้น
 ยิ่งของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิวมี
ความเร็วมาก ก็จะทาให้
สามารถถ่ายเทความร้อนได้
มาก
Convection
24
 Newton’s law of cooling
 h sq T T
  
h = สัมประสิทธิ์การพาความร้อน
(Convection heat transfer
coefficient)
As = พื้ทนที่ผิวที่มีการพาความร้อนเกิดขึ้น
Ts = อุณหภูมิที่ผิว
T = อุณหภูมิของของไหล
Convection Heat Transfer
25
 ประเภทของการพาความร้อน แบ่งออกเป็น
 Force convection มีใช้ใช้อุปกรณ์เพื่อให้เกิดการไหลของของไหล เช่น พัดลม หรือ ปั๊ม
 Natural convection ของของไหลผ่านพื้นผิวโดยธรรมชาติ
 Phase change การถ่ายเทความร้อนโดยการพาความร้อนที่ทาให้ของไหลเปลี่ยนสถานะ
Heat Transfer Coefficient
26
 ค่าสัมประสิทธิ์การพาความร้อน h ไม่ใช่
คุณสมบัติของของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิว
 ค่า h ขึ้นอยู่กับตัวแปรต่างๆ ดังต่อนี้
 ลักษณะรูปร่างของพื้นผิว
(Surface geometry)
 ลักษณะการไหลของ (Fluid motion)
 คุณสมบัติของของไหล (Properties of
fluid)
 ความเร็วของของไหล (Bulk fluid
velocity)
Radiation
27
 Stefan Boltzmann’s Law
 ปริมาณรังสีความร้อนที่มากที่สุดที่วัตถุจะสามารถปล่อยออกมาได้ที่อุณหภูมิค่า
หนึ่งๆ (Maximum rate of heat radiation) (Blackbody = 1)
= 5.670 x 10-8 W/m2 K4 ; ค่าคงที่ Stefan-Boltzmann
As = พื้นที่ผิว m2
Ts = อุณหภูมิที่ผิว K
4
,max (W)emit s sQ A T


Emissivity
28
 เป็นคุณสมบัติในการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุ
 สาหรับวัตถุที่เป็น Blackbody จะมีค่า = 1
ซึ่ง Blacknody จะสามารถปล่อยพลังงาน
ความร้อนได้มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ
พื้นผิวอื่นๆ ที่อุณหภูมิเดียวกัน
 สาหรับพื้นผิวจริงใดๆ; 0 ≤ ≤ 1
 อัตราการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุจริงที่มี
อุณหภูมิ T (K) คือ


Absorptivity
29
 เป็นคุณสมบัติในการดูดซับ (Absorb) รังสีความร้อนของวัตถุ
 สัดส่วนของพลังงานที่ถูกดูดซับไว้ในวัตถุต่อพลังงานทั้งหมดที่ตกกระทบพื้นผิว
ของวัตถุ; โดย 0 ≤ ≤ 1
 วัตถุที่เป็น Blackbody จะสามารถดูดซับพลังงานทั้งหมดที่ตกกระทบพื้นผิว
ได้; นั่นคือ = 1
 ค่า และ จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความยาวคลื่น


 
Net Radiation Heat Transfer
30
 การถ่ายเทความร้อนสุทธิโดยการแผ่รังสี คือ
ผลต่างของอัตราการแผ่รังสีออกจากพื้นผิว
(Radiation emitted from surface) และ
อัตราการดูดซับรังสีของพื้นผิว (Radiation
absorbed by surface)
4
surrTG 
4
sTE 
4
surrabs TG 
 รังสีความร้อนทั้งหมดที่ตกลงบนพื้นผิว ;
 รังสีความร้อนที่ปล่อยออกจากพื้นผิว ;
 รังสีความร้อนที่ถูกพื้นผิวดูดซับไว้ ;
 การถ่ายเทความร้อนสุทธิจากการแผ่รังสี ( ; สาหรับวัตถุที่เป็น Gray body) 
)( 44
surrssrad TTAQ  
Problem Solving Technique
31
 ขั้นที่ 1: Problem Statement
ในขั้นตอนนี้ นศ. จะต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจ เพื่อให้ทราบว่าโจทย์กาหนดอะไรให้บ้าง และ
โจทย์ต้องการให้หาอะไร
 Step 2: Schematic
จากนั้นจึงทาการวาดรูปสเกตของระบบและตัวแปรต่างๆ ที่โจทย์กาหนดให้ รวมทั้งสิ่งที่โจทย์
ต้องการให้หา
 Step 3: Assumptions and Approximations
ตั้งสมมุติฐาน เพื่อกาหนดขอบเขตของการแก้ปัญหาโจทย์
Problem Solving Technique
32
 Step 4: Physical Laws
เลือกสูตรหรือกฏต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของโจทย์ให้ถูกต้องเหมาะสม
 Step 5: Properties
หาคุณสมบัติต่างๆ และตัวแปร หรือค่าคงที่ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้แทนค่าในสูตรที่นามาใช้
 Step 6: Calculation
เมื่อได้ตัวแปรทุกตัว ก็ดาเนินการคานวณเพื่อแก้ปัญหาโจทย์
Example 1: 1st Law of Thermo
33
Example 1: 1st Law of Thermo
34
Example 1: 1st Law of Thermo
35
Exercises
36
Ex 1 The hot combustion gas of a furnace are separated from the ambient
air and its surroundings which are at 25C by a brick wall 0.15 m think.
The brick has k = 1.2 W/m K and emissivity = 0.8. Under steady state
condition, outer surface temperature = 100C, h = 20 W/m2 K. Determine
the brick inner surface temperature
Ex 2 A Square isothermal chip is of width w = 5 mm on a side and is
mounted in a substrate such that its side and back surfaces are well
insulated, while the front surface is exposed to the flow of a coolant at T∞
= 15C. From reliability considerations, the chip temperature must not
exceed T = 85C. If the coolant is air and the corresponding convection
coefficient is h = 200 W/m2 K, what is the maximum allowable chip
power? If the coolant is a dielectric liquid for which h = 3000 W/m2 K,
what is the maximum allowable chip power?

More Related Content

What's hot

00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introductionSaranyu Pilai
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thaiSaranyu Pilai
 
013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiation013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiationSaranyu Pilai
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTIONAbdul Moiz Dota
 
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSChapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSAbdul Moiz Dota
 
HEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTION
HEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTIONHEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTION
HEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTIONPRAMOD MAURYA
 
Chapter 1 introduction of heat transfer
Chapter 1 introduction of heat transferChapter 1 introduction of heat transfer
Chapter 1 introduction of heat transferPh Yiu
 
11 Heat Transfer
11 Heat Transfer11 Heat Transfer
11 Heat Transferspsu
 
Basic of thermodynamics section a
Basic of thermodynamics  section aBasic of thermodynamics  section a
Basic of thermodynamics section aAkshit Kohli
 
SSL3 Heat Transfer
SSL3   Heat TransferSSL3   Heat Transfer
SSL3 Heat TransferKeith Vaugh
 
Chapt 6 forced heat convection (interanl flow) t
Chapt 6 forced heat convection (interanl flow) tChapt 6 forced heat convection (interanl flow) t
Chapt 6 forced heat convection (interanl flow) tDebre Markos University
 
Chapter 6 FUNDAMENTALS OF CONVECTION
Chapter 6FUNDAMENTALS OF CONVECTIONChapter 6FUNDAMENTALS OF CONVECTION
Chapter 6 FUNDAMENTALS OF CONVECTIONAbdul Moiz Dota
 

What's hot (20)

00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introduction
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
 
013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiation013 fundamental of thermal radiation
013 fundamental of thermal radiation
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
 
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSChapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
 
Uppload chap 5 convection heat trasnfer
Uppload chap  5 convection heat trasnferUppload chap  5 convection heat trasnfer
Uppload chap 5 convection heat trasnfer
 
HEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTION
HEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTIONHEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTION
HEAT TRANSFER : STEADY STATE HEAT CONDUCTION
 
Heat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lectureHeat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lecture
 
Chapter 1 introduction of heat transfer
Chapter 1 introduction of heat transferChapter 1 introduction of heat transfer
Chapter 1 introduction of heat transfer
 
Heat 4e chap08_lecture
Heat 4e chap08_lectureHeat 4e chap08_lecture
Heat 4e chap08_lecture
 
11 Heat Transfer
11 Heat Transfer11 Heat Transfer
11 Heat Transfer
 
Basic of thermodynamics section a
Basic of thermodynamics  section aBasic of thermodynamics  section a
Basic of thermodynamics section a
 
SSL3 Heat Transfer
SSL3   Heat TransferSSL3   Heat Transfer
SSL3 Heat Transfer
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Lecture 12 heat transfer.
Lecture 12   heat transfer.Lecture 12   heat transfer.
Lecture 12 heat transfer.
 
Lec03
Lec03Lec03
Lec03
 
Chapt 6 forced heat convection (interanl flow) t
Chapt 6 forced heat convection (interanl flow) tChapt 6 forced heat convection (interanl flow) t
Chapt 6 forced heat convection (interanl flow) t
 
Chapter 4 transient heat condution
Chapter 4 transient heat condution Chapter 4 transient heat condution
Chapter 4 transient heat condution
 
Rea 2.ppt
Rea 2.pptRea 2.ppt
Rea 2.ppt
 
Chapter 6 FUNDAMENTALS OF CONVECTION
Chapter 6FUNDAMENTALS OF CONVECTIONChapter 6FUNDAMENTALS OF CONVECTION
Chapter 6 FUNDAMENTALS OF CONVECTION
 

Similar to 002 introduction and basic concepts thai

บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์Thaksin Sopapiya
 

Similar to 002 introduction and basic concepts thai (14)

Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
heat
heatheat
heat
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
 

002 introduction and basic concepts thai

  • 1. Ch 1 Introductory to Heat Transfer and Basic Concepts King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Faculty of Engineering Department of Mechanical and Aerospace Engineering 1
  • 2. วัตถุประสงค์  เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง Thermodynamics และ Heat transfer  เพื่อให้สามารถบอกความแตกต่างระหว่างพลังงานความร้อนและพลังงานใน รูปแบบอื่นๆ  เพื่อให้วิเคราะห์สมดุลพลังงานได้  เพื่อให้เข้าใจถึงกลไกการถ่ายเทความร้อน ซึ่งได้แก่ Conduction, Convection และ Radiation  เพื่อให้เข้าใจถึงสมการต่างๆ ได้แก่ Fourier's law of heat conduction, Newton's law of cooling และ the Stefan–Boltzmann law of radiation,  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์กลไกการถ่ายเทความร้อนทั้ง แบบที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน ได้ รวมทั้งการคานวณหา Heat transfer rate ที่เกิดขึ้นจากกลไกดังกล่าว 2
  • 3. เนื้อหาสาคัญ  Thermodynamics and Heat Transfer  Engineering Heat Transfer  Heat and other Forms of Energy  1st of Thermodynamics  Heat Transfer Mechanisms  Conduction  Convection  Radiation  Simultaneous Heat Transfer Mechanisms  Problem Solving Technique 3
  • 4. Thermodynamics and Heat Transfer  Thermodynamics  ปริมาณของความร้อน (Heat) ที่ถูกถ่ายเทเข้าหรือ ออกจากระบบ เพื่อที่จะทาให้ Process เกิดการเปลี่ยน State จากที่สภาวะ สมดุลไปยังอีกสภาวะสมดุลหนึ่ง โดยไม่สนใจว่า จะต้องใช้ระยะเวลาเท่าใดใน การเกิด Process นั้นๆ Equilibrium State  Heat transfer  อัตราการถ่ายเทความร้อน (Rate of energy) เพื่อที่ทาให้ ระบบมีการเปลี่ยนแปลอุณหภูมิ Non-equilibrium phenomena 4
  • 5. Thermodynamics and Heat Transfer  เนื่องจาก Heat transfer เป็น Non-equilibrium phenomena ดังนั้น Heat transfer จึงไม่สามารถใช้พื้นฐานทาง Thermodynamics เพียงอย่างเดียว แต่กฎของ Thermodynamics จะถูกนามาใช้เป็นส่วนหนึ่ง ของวิชา Heat transfer ยกตัวอย่างเช่น  กฏข้อที่ 1 พลังงานเข้า = พลังงานออก  กฏข้อที่ 2 ทิศทางการถ่ายเทความร้อน จาก Temp. สูง ไป Temp. ต่า 5 TA > TB
  • 6.  Heat transfer จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีความแตกต่างของอุณหภูมิ (Temperature difference ∆T) โดยจะมีทิศทางจาก Temp. สูง ไป Temp. ต่า T2 > T1  Heat Transfer T2 = T1  No heat transfer  อัตราการถ่ายเทความร้อน (Heat transfer rate) จะขึ้นอยู่กับ ∆T  ยิ่งถ้า ∆T มาก ก็จะทาให้มี Heat transfer rate มาก 6 T2 T1 Thermodynamics and Heat Transfer
  • 7. 7 Application Areas of Heat Transfer
  • 8.  การแก้ปัญหาวิศวกรรมเกี่ยวกับการถ่ายเทความร้อน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ Rating problem และ Sizing problem  Rating Problem  Find: Heat transfer rate ของระบบ  Given: ∆T ของระบบ, ขนาด (Size) ของระบบ  Sizing Problem  Find: ขนาด (Size) ของระบบ  Given: ∆T ของระบบ, Heat transfer rate 8 Engineering Heat Transfer
  • 9.  พลังงานทั้งหมดของระบบ จะประกอบไปด้วย พลังงานภายใน (u), พลังงานจลน์ (k.e.) และพลังงานศักย์ (p.e.) โดยสามารถหาได้จาก e = u + k.e. + p.e.  พลังงานภายในที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ภายในของ โมเลกุลแต่ละโมเลกุล จะสามารถแบ่งได้เป็น  Sensible heat  Temp. change  Latent heat  Phase change e = u e = h = u + pv 9 Heat and other Forms of Energy
  • 10. Specific Heat 10  Specific Heat (ค่าความจุความร้อนจาเพาะ) พลังงานความร้อนที่ต้องการในการที่ทาให้สาร มวล 1 kg มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 °C  Specific heat at constant volume cv du = cvdt, ∆u = cv,avg∆T, ∆U = mcv,avg∆T  Specific heat at constant pressure cp dh = cpdt, ∆h = cp,avg∆T, ∆H = mcp,avg∆T
  • 11. Specific Heat 11  สาหรับ Pure substance  ค่าความจุความร้อนจาเพาะจะขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิและความดัน cv, cp = f(T, p)  สาหรับ Ideal gas  ค่าความจุความร้อนจาเพาะจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ cv, cp = f(T)  สาหรับ Incompressible substance  ค่าความจุความร้อนจาเพาะจะคงที่ cv = cp = c
  • 12. Energy Transfer 12  การถ่ายเทพลังงาน  Heat และ Work  Heat Transfer  จะเกิดขึ้นเนื่องจากมีความแตกต่างของอุณหภูมิ ส่วนการถ่ายเท พลังงานที่ไม่ได้เป็นผลมาจากความแตกต่างของุณหภูมิจะถือว่าเป็น Work Transfer นิยาม ความหมาย สัญลักษณ์ หน่วย Thermal Energy พลังงานความร้อนที่สะสมอยู่ในวัตถุ เมื่อวัตถุมีอุณหภูมิค่า หนึ่งๆ ซึ่งจะรวบรวมพลังงานในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ของวัตถุ (Sensible heat) และ พลังงานในการเปลี่ยน สถานะของวัตถุ (Latent heat) U J/kg or J Heat transfer พลังงานความร้อนที่ถูกถ่ายเทเนื่องจากผลต่างของอุณหภูมิ Q J Heat transfer rate พลังงานความร้อนที่ถูกถ่ายเทต่อหนึ่งหน่วยเวลา W Heat flux พลังงานความร้อนที่ถูกถ่ายเทต่อหนึ่งหน่วยเวลาต่อหนึ่ง หน่วยพื้นที่ W/m2 Q qorq 
  • 14. 1st of Thermodynamics  ระบบปิด (Close System)  ระบบเปิดแบบการไหลคงที่ (Steady Flow System) 14 (J)vQ mc T  (kg/s)in outm m m  (kJ/s)pQ m h mc T   
  • 15. Heat Transfer Mechanisms 15  การนาความร้อน (Conduction)  การพาความร้อน (Convection)  การแผ่รังสีความร้อน (Radiation)
  • 16. Heat Transfer Mechanisms 16 การพาความร้อน (Convection): ความร้อนจะถูกถ่ายเทโดยอาศัยการเคลื่อนที่ของของไหลบนพื้นผิว การแผ่รังสีความร้อน (Radiation): พลังงานจะถูกปล่อยออกจากวัตถุเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ อิเลคตรอนในอะตอมหรือโมเลกุลของวัตถุ และพลังงานจะถูกถ่ายเทโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การนาความร้อน (Conduction): เป็นการถ่ายเทความร้อนโดยมีของแข็งหรือของไหลที่อยู่นิ่งเป็นตัวกลาง โดยความร้อนจะเกิดการถ่ายเทเนื่องจากการชนกันของอะตอมหรือโมเลกุลของตัวกลาง
  • 17. Conduction 17  เมื่อโมเลกุลของวัตถุเคลื่อนที่ชนกัน จะเกิด พลังงานขึ้น โดยพลังงานที่เกิดขึ้นจะถูกถ่ายเทใน รูปของความร้อนจากโมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่า ไปยังโมเลกุลที่มีพลังงานน้อยกว่าที่อยู่ใกล้ๆ กัน
  • 18. Conduction 18  อัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนจะ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่องๆ ดังนี้  ชนิดของวัตถุ  พื้นที่ผิว (A)  ความแตกต่างของอุณหภูมิ ∆T และ  ความหนาของวัตถุ ∆x  การหาค่าอัตราการนาความร้อน สามารถหาได้ จาก Fourier’s law of heat conduction (W)cond dT Q kA dx  
  • 19. Conduction 19 1 2 (W)cond T T T Q kA kA x x        (W)cond dT Q kA dx   จาก  ถ้า ∆T เพิ่มขึ้น อัตราการถ่ายเทความร้อนจะเพิ่มขึ้น  ถ้า ∆x เพิ่มขึ้น อัตราการถ่ายเทความร้อนจะลดลง  k = Thermal conductivity ซึ่งเป็นค่าคงที่เฉพาะตัวของวัตถุ  dT/dx เป็นความชันของกราฟ T-x diagram
  • 20. Thermal Conductivity 20  ค่า Thermal conductivity (k) เป็นค่าที่บ่ง บอกถึงความสามารถในการนาความร้อนของ วัตถุ  วัตถุที่มีค่า k สูง  ถ่ายเทความร้อนได้ดี สามารถนาไปใช้เป็นตัวนาความร้อนได้ เช่น ทองแดง ทอง อลูมิเนียม  วัตถุที่มีค่า k ต่า  ถ่ายเทความร้อนได้น้อย สามารถนามาเป็นฉนวนได้ เช่น อิฐ แก้ว ไฟเบอร์
  • 21. Thermal Conductivity 21  โดยปกติแล้วค่า k ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ของวัตถุ  แต่ในความเป็นจริงแล้ว เรามักจะ กาหนดให้ค่า k เป็นค่าคงที่
  • 22. Thermal Diffusivity 22  ค่า Thermal Diffusivity  เป็นอัตราส่วนของความสามารถในการนาความ ร้อนของวัตถุต่อความสามารถในการเก็บสะสมความร้อนของวัตถุ  หากวัตถุมีค่า Thermal diffusivity สูง, วัตถุนั้นจะสามารถถ่ายเทความร้อน ได้ดี แต่จะเก็บความร้อนได้ไม่ดี  หากวัตถุมีค่า Thermal diffusivity ต่า, วัตถุนั้นจะสามารถเก็บความร้อนได้ ดี แต่จะถ่ายเทความร้อนได้ไม่ดี 2Heat conducted (m s) Heat stored p k c    
  • 23. Convection 23  การพาความร้อน (Convection) เป็นการถ่ายเทความร้อนระหว่างพื้นผิวของ ของแข็งกับของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิวนั้น  ยิ่งของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิวมี ความเร็วมาก ก็จะทาให้ สามารถถ่ายเทความร้อนได้ มาก
  • 24. Convection 24  Newton’s law of cooling  h sq T T    h = สัมประสิทธิ์การพาความร้อน (Convection heat transfer coefficient) As = พื้ทนที่ผิวที่มีการพาความร้อนเกิดขึ้น Ts = อุณหภูมิที่ผิว T = อุณหภูมิของของไหล
  • 25. Convection Heat Transfer 25  ประเภทของการพาความร้อน แบ่งออกเป็น  Force convection มีใช้ใช้อุปกรณ์เพื่อให้เกิดการไหลของของไหล เช่น พัดลม หรือ ปั๊ม  Natural convection ของของไหลผ่านพื้นผิวโดยธรรมชาติ  Phase change การถ่ายเทความร้อนโดยการพาความร้อนที่ทาให้ของไหลเปลี่ยนสถานะ
  • 26. Heat Transfer Coefficient 26  ค่าสัมประสิทธิ์การพาความร้อน h ไม่ใช่ คุณสมบัติของของไหลที่ไหลผ่านพื้นผิว  ค่า h ขึ้นอยู่กับตัวแปรต่างๆ ดังต่อนี้  ลักษณะรูปร่างของพื้นผิว (Surface geometry)  ลักษณะการไหลของ (Fluid motion)  คุณสมบัติของของไหล (Properties of fluid)  ความเร็วของของไหล (Bulk fluid velocity)
  • 27. Radiation 27  Stefan Boltzmann’s Law  ปริมาณรังสีความร้อนที่มากที่สุดที่วัตถุจะสามารถปล่อยออกมาได้ที่อุณหภูมิค่า หนึ่งๆ (Maximum rate of heat radiation) (Blackbody = 1) = 5.670 x 10-8 W/m2 K4 ; ค่าคงที่ Stefan-Boltzmann As = พื้นที่ผิว m2 Ts = อุณหภูมิที่ผิว K 4 ,max (W)emit s sQ A T  
  • 28. Emissivity 28  เป็นคุณสมบัติในการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุ  สาหรับวัตถุที่เป็น Blackbody จะมีค่า = 1 ซึ่ง Blacknody จะสามารถปล่อยพลังงาน ความร้อนได้มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ พื้นผิวอื่นๆ ที่อุณหภูมิเดียวกัน  สาหรับพื้นผิวจริงใดๆ; 0 ≤ ≤ 1  อัตราการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุจริงที่มี อุณหภูมิ T (K) คือ  
  • 29. Absorptivity 29  เป็นคุณสมบัติในการดูดซับ (Absorb) รังสีความร้อนของวัตถุ  สัดส่วนของพลังงานที่ถูกดูดซับไว้ในวัตถุต่อพลังงานทั้งหมดที่ตกกระทบพื้นผิว ของวัตถุ; โดย 0 ≤ ≤ 1  วัตถุที่เป็น Blackbody จะสามารถดูดซับพลังงานทั้งหมดที่ตกกระทบพื้นผิว ได้; นั่นคือ = 1  ค่า และ จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความยาวคลื่น    
  • 30. Net Radiation Heat Transfer 30  การถ่ายเทความร้อนสุทธิโดยการแผ่รังสี คือ ผลต่างของอัตราการแผ่รังสีออกจากพื้นผิว (Radiation emitted from surface) และ อัตราการดูดซับรังสีของพื้นผิว (Radiation absorbed by surface) 4 surrTG  4 sTE  4 surrabs TG   รังสีความร้อนทั้งหมดที่ตกลงบนพื้นผิว ;  รังสีความร้อนที่ปล่อยออกจากพื้นผิว ;  รังสีความร้อนที่ถูกพื้นผิวดูดซับไว้ ;  การถ่ายเทความร้อนสุทธิจากการแผ่รังสี ( ; สาหรับวัตถุที่เป็น Gray body)  )( 44 surrssrad TTAQ  
  • 31. Problem Solving Technique 31  ขั้นที่ 1: Problem Statement ในขั้นตอนนี้ นศ. จะต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจ เพื่อให้ทราบว่าโจทย์กาหนดอะไรให้บ้าง และ โจทย์ต้องการให้หาอะไร  Step 2: Schematic จากนั้นจึงทาการวาดรูปสเกตของระบบและตัวแปรต่างๆ ที่โจทย์กาหนดให้ รวมทั้งสิ่งที่โจทย์ ต้องการให้หา  Step 3: Assumptions and Approximations ตั้งสมมุติฐาน เพื่อกาหนดขอบเขตของการแก้ปัญหาโจทย์
  • 32. Problem Solving Technique 32  Step 4: Physical Laws เลือกสูตรหรือกฏต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของโจทย์ให้ถูกต้องเหมาะสม  Step 5: Properties หาคุณสมบัติต่างๆ และตัวแปร หรือค่าคงที่ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้แทนค่าในสูตรที่นามาใช้  Step 6: Calculation เมื่อได้ตัวแปรทุกตัว ก็ดาเนินการคานวณเพื่อแก้ปัญหาโจทย์
  • 33. Example 1: 1st Law of Thermo 33
  • 34. Example 1: 1st Law of Thermo 34
  • 35. Example 1: 1st Law of Thermo 35
  • 36. Exercises 36 Ex 1 The hot combustion gas of a furnace are separated from the ambient air and its surroundings which are at 25C by a brick wall 0.15 m think. The brick has k = 1.2 W/m K and emissivity = 0.8. Under steady state condition, outer surface temperature = 100C, h = 20 W/m2 K. Determine the brick inner surface temperature Ex 2 A Square isothermal chip is of width w = 5 mm on a side and is mounted in a substrate such that its side and back surfaces are well insulated, while the front surface is exposed to the flow of a coolant at T∞ = 15C. From reliability considerations, the chip temperature must not exceed T = 85C. If the coolant is air and the corresponding convection coefficient is h = 200 W/m2 K, what is the maximum allowable chip power? If the coolant is a dielectric liquid for which h = 3000 W/m2 K, what is the maximum allowable chip power?