SlideShare a Scribd company logo
1 of 133
Download to read offline
Heat and
Kinetic theory of gas
ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
Heat and
Kinetic theory of gas
Pre-test
...เวลา 15 นาที...
ความร้อน (Heat)
- พลังงานรูปหนึ่งที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของโมเลกุลของวัตถุ
- ถ่ายเทจากที่ที่มีระดับความร้อนสูงกว่าไปสู่ที่ที่มีระดับความร้อน
ตํ่ากว่า จนกระทั่งมีระดับความร้อนเท่ากันก็จะหยุดการถ่ายเท
- เปลี่ยนแปลงไปเป็นพลังงานรูปอื่นได้
- เปลี่ยนแปลงมาจากพลังงานรูปอื่นได้
James Prescott Joule นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ทดลองแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณความร้อนในหน่วยแคลอรีกับจูล
อุณหภูมิ (Temperature)
- ระดับความร้อน
- วัตถุที่มีปริมาณความร้อนสูงจะมีอุณหภูมิสูง
- วัตถุที่มีปริมาณความร้อนตํ่าจะมีอุณหภูมิตํ่า
- อุปกรณ์ที่ใช้สําหรับวัดอุณหภูมิ เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์
(Thermometer)
สมดุลความร้อน (Thermal equilibrium)
ความร้อนจะถ่ายเทจากที่ที่มีอุณหภูมิมีค่าสูงกว่าไปสู่ที่ที่มีอุณหภูมิ
ตํ่ากว่า จนกระทั่งมีระดับความร้อนหรืออุณหภูมิเท่ากันจึงหยุดการ
ถ่ายเท โดยเมื่อสารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจะมีผลต่อสมบัติของสาร
ความร้อนส่งผลต่อสสาร
อย่างไรบ้าง ?
การเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร
จุดหลอมเหลว
จุดเยือกแข็ง
จุดเดือด
จุดควบแน่น
การเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร
จุดหลอมเหลว (Melting point) คือ อุณหภูมิที่สารเปลี่ยนสถานะ
จากของแข็งเป็นของเหลว
จุดเดือด (Boiling point) คือ อุณหภูมิที่สารเปลี่ยนสถานะ
จากของเหลวเป็นไอหรือแก๊ส
จุดควบแน่น (Condensation point) คือ อุณหภูมิที่สารเปลี่ยน
สถานะจากแก๊สเป็นของเหลวเป็นจุดที่มีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือด
จุดเยือกแข็ง (Freezing point) คือ อุณหภูมิที่สารเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเป็นของแข็ง เป็นจุดที่มีอุณหภูมิเดียวกับจุดหลอมเหลว
การเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร
การเปลี่ยนสถานะของวัตถุเมื่อรับความร้อนและคายความร้อน
การเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร
ความจุความร้อนจําเพาะ (Specific heat capacity : c)
ความจุความร้อน (heat capacity : C)
ปริมาณความร้อนที่ทําให้สสารชนิดหนึ่งมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป
1 หน่วย มีหน่วยเป็น จูลต่อเคลวิน (J/K) : ระบบเอสไอ
ความจุความร้อนจําเพาะ (c)
ความจุความร้อนต่อหนึ่งหน่วยมวลของสาร มีหน่วยเป็น จูลต่อ
กิโลกรัม-เคลวิน (J/kg.K) : ระบบเอสไอ
สารแต่ละชนิดมีความสามารถในการรับหรือคายพลังงานความร้อน
ได้ต่างกัน
ความจุความร้อนจําเพาะ (Specific heat capacity : c)
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความร้อน Q ที่ทําให้สารมวล m
มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป ΔT
ความจุความร้อนจําเพาะ (Specific heat capacity : c)
ความร้อนแฝงจําเพาะ (Specific latent heat : L)
ความร้อนแฝง (Latent heat)
ปริมาณความร้อนที่ต้องให้แก่สสารในช่วงที่สสารเปลี่ยนสถานะโดย
อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง
ความร้อนแฝงจําเพาะ ( L )
ค่าความร้อนแฝงต่อหนึ่งหน่วยมวลของสสาร มีหน่วยเป็น
จูลต่อกิโลกรัม (J/kg)
ปริมาณความร้อน Q ที่ทําให้สารมวล m ซึ่งมีค่าความร้อนแฝงจําเพาะ
เป็น L เปลี่ยนสถานะ คือ
ความร้อนแฝงจําเพาะ (Specific latent heat : L)
Simulation : ความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงาน
ข้อสอบแนว O-Net
พิจารณาข้อมูลจากตารางต่อไปนี้
ก. ถ้าของเหลวมีปริมาตรเท่ากัน ของเหลว ก จะเดือดได้เร็วที่สุด เมื่อให้
ปริมาณความร้อนเท่ากัน
ข. การทําให้ของเหลวทั้ง 4 ชนิด เปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอ ของเหลว ง
จะใช้ปริมาณความร้อนน้อยที่สุด
ค. ถ้ามวลของของเหลวทุกชนิดเท่ากัน ของเหลว ง จะใช้ปริมาณความร้อน
น้อยที่สุด เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส
ข้อสอบแนว O-Net
ต้องการทําให้นํ้าแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
กลายเป็นนํ้ามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส จะต้องใช้
ปริมาณความร้อนเท่าไร (กําหนดให้ ความร้อนจําเพาะของนํ้าเท่ากับ
4.2 kJ/kg.K และความร้อนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของ
นํ้าแข็งเท่ากับ 333 kJ/kg)
ก. 33.7 kJ ข. 37.5 kJ ค. 45.9 kJ
ง. 52.3 kJ จ. 95.6 kJ
ข้อสอบแนว O-Net
ต้องการทําให้นํ้าแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลาย
เป็นนํ้ามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส จะต้องใช้ปริมาณความ
ร้อนเท่าไร (กําหนดให้ ความร้อนจําเพาะของนํ้าเท่ากับ 4.2 kJ/kg.K และ
ความร้อนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของนํ้าแข็งเท่ากับ 333 kJ/kg)
การขยายตัวเชิงความร้อนของวัตถุ
วัตถุส่วนใหญ่จะขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน ซึ่งในระดับอะตอม
ระยะห่างระหว่างอะตอมจะเพิ่มมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น แต่ทั้งนี้
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิจะต้องไม่มากเกินไปจนทําาให้วัตถุ
เกิดการเปลี่ยนสถานะ
1. การขยายตัวเชิงเส้น
2. การขยายตัวเชิงพื้นที่
3. การขยายตัวเชิงปริมาตร
การขยายตัวเชิงความร้อนของวัตถุ
1. การขยายตัวเชิงเส้น
การขยายตัวเชิงความร้อนของวัตถุ
สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้นของวัตถุจะมีค่าขึ้นอยู่กับชนิดของ
วัตถุและมีค่าคงที่ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงในช่วงไม่กว้างมากนัก
การขยายตัวเชิงความร้อนของวัตถุ
2. การขยายตัวเชิงพื้นที่
การขยายตัวเชิงความร้อนของวัตถุ
3. การขยายตัวเชิงปริมาตร
การขยายตัวเชิงความร้อนของวัตถุ
การถ่ายโอนความร้อน
- การถ่ายโอนความร้อนจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดความแตกต่างกันระหว่าง
อุณหภูมิ 2 บริเวณ
- ความร้อนจะถ่ายโอนจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่บริเวณที่มี
อุณหภูมิตํ่า
- จะถ่ายโอนจนกระทั่งทั้งสองบริเวณมีอุณหภูมิเท่ากัน
What is Heat
Transfer?
การถ่ายโอนความร้อนการแผ่รังสี
1. การนําความร้อน (Conduction)
เมื่อเผาปลายด้านหนึ่งของแท่งโลหะ ความร้อนจะไหลจากปลายด้าน
ที่ได้รับความร้อนไปยังปลายอีกด้านที่เย็น โดยโมเลกุลของแท่งโลหะ
ปลายด้านที่ร้อนจะเกิดการสั่นอย่างรุนแรง ความร้อนที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายเท
ไปยังโมเลกุลที่อยู่ใกล้ ๆ และส่งต่อไปยังโมเลกุลถัดไปเรื่อย ๆ โดยที่
โมเลกุลไม่มีการเคลื่อนย้ายตําแหน่ง
1. การนําความร้อน (Conduction)
- ความร้อนไหลจากอุณหภูมิสูง (T2
) ไป
ยังอุณหภูมิตํ่า (T1
)
- ตามแนวของแท่งโลหะที่มีความยาว L
- พื้นที่หน้าตัด A
2. การพาความร้อน (Convection)
- อาศัยโมเลกุลของตัวกลางให้เคลื่อนที่พาพลังงานความร้อนไปกับ
ตัวกลาง จากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่บริเวณที่มีอุณหภูมิตํ่า
- กระบวนการถ่ายโอนความร้อนแบบการพาความร้อนจะเกิดขึ้นกับ
ตัวกลางประเภทของไหล โดยส่งผ่านความร้อนออกจากบริเวณหนึ่งไปสู่
อีกบริเวณหนึ่ง
- การพาความร้อนของอากาศในห้องขึ้นไปยังช่องลม
- การพาความร้อนของแมกมาภายใต้เปลือกโลก
Convection experiment
2. การพาความร้อน (Convection)
อัตราการพาความร้อนจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความแตกต่าง
ระหว่างอุณหภูมิของของไหลที่เป็นตัวกลางกับอุณหภูมิของพื้นที่ผิว A
ที่อยู่ติดกับของไหล
2. การพาความร้อน (Convection)
3. การแผ่รังสีความร้อน (Radiation)
- วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิเหนือศูนย์องศาสัมบูรณ์จะปลดปล่อยพลังงาน
จากผิว เรียกว่า การแผ่รังสีของวัตถุดํา (Black body radiation)
- อัตราการแผ่รังสีจากผิวจะขึ้นอยู่กับค่า สภาพการปลดปล่อยรังสี
(Emissivity : e) ค่า e จะอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1
- ตัวแผ่รังสีในอุดมคติ คือ วัตถุดํา (Black body) จะดูดกลืนรังสีทั้งหมด
ที่ตกกระทบวัตถุค่า e ของวัตถุดําามีค่าเท่ากับ 1
ศูนย์องศาสัมบูรณ์วัตถุดํา
3. การแผ่รังสีความร้อน (Radiation)
อัตราการแผ่รังสีจากผิววัตถุจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับพื้นที่ผิว (A) และ
อุณหภูมิสัมบูรณ์ (T) ยกกําลังสี่
กฎของสเตฟาน-โบลต์ซมันน์ (Stefan-Boltzmann’s law) แสดงความ
สัมพันธ์ระหว่างอัตราการแผ่รังสี (H) กับอุณหภูมิ (T) ดังนี้
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง ความร้อน
1. อุณหภูมิหมายความว่าอย่างไร และอุณหภูมิของวัตถุไม่ขึ้นกับสมบัติใดบ้าง
2. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส เท่ากับกี่เคลวิน
3. นํ้าแข็งมวล 0.1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส จะต้องใช้พลังงานความ
ร้อนกี่จูล เมื่อ
ก. นํ้าแข็งเปลี่ยนเป็นนํ้า ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ข. นํ้าที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส เปลี่ยนเป็นนํ้าที่อุณหภูมิ 80
องศาเซลเซียส
4. อะลูมิเนียมมวล 0.01 กิโลกรัม อุณหภูมิ 227 องศาเซลเซียส ผสมกับนํ้าแข็ง
มวล 1 กิโลกรัม กําหนดให้ ค่าความจุความร้อนจําเพาะของเหล็กมีค่าเท่ากับ
900 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน อุณหภูมิผสมมีค่าเท่าไร
5. เมื่อจับฝาหม้อแล้วรู้สึกร้อน ใช้หลักการถ่ายโอนความร้อนแบบใด
เพราะเหตุใด
6. เมื่อเปิดพัดลมแล้วรู้สึกเย็น ใช้หลักการถ่ายโอนความร้อนแบบใด
เพราะเหตุใด
7. การนั่งข้างเตาผิงเพื่อคลายความหนาว ใช้หลักการถ่ายโอนความ
ร้อนแบบใดเพราะเหตุใด
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง ความร้อน (ต่อ)
จะเกิดอะไรขึ้น ?
แก๊สอุดมคติ (Ideal gas)
- เป็นแก๊สที่มีโมเลกุลขนาดเล็กมาก
- ถือว่าไม่มีปริมาตร ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
- มีการเคลื่อนที่อย่างอิสระ และมีการชนแบบยืดหยุ่น
- มีสมบัติเป็นไปตามกฎของแก๊ส
*** แก๊สในธรรมชาติจะใกล้เคียงแก๊สอุดมคติเมื่ออุณหภูมิสูง และ
ความดันตํ่า***
กฎของบอยล์ (Boyle’s law)
ศึกษาเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส
โดยทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ความดันและปริมาตรของแก๊ส
ปริมาณหนึ่งในภาชนะปิด ที่อุณหภูมิ
คงตัว พบว่า เมื่อปริมาตรของแก๊ส
เปลี่ยนแปลงจะทําให้ความดันของ
แก๊สเปลี่ยนแปลงไปด้วย
กิจกรรมที่ 2.1 กฎของบอยล์
กิจกรรมที่ 2.1 กฎของบอยล์
Boyle’s Law Experiment - Balloon Test - Science Projects for
Kids | Educational Videos by Mocomi
กิจกรรมที่ 2.1 กฎของบอยล์
ความสัมพันธระหว่างความดัน (P)กับปริมาตรของอากาศ (V) ในกระบอกสูบ
กิจกรรมที่ 2.1 กฎของบอยล์
ความสัมพันธระหว่างความดัน (P)กับส่วนกลับของปริมาตร
กิจกรรมที่ 2.1 กฎของบอยล์
จากกราฟ แสดงให้เห็นว่า ความดันของแก๊สจะแปรผันตรงกับ
ส่วนกลับของปริมาตร ซึ่งเป็นไปตาม กฎของบอยล์ (Boyle’s law)
มีใจความว่า “สําหรับแก๊สปริมาณหนึ่งที่อุณหภูมิคงตัว ปริมาตร
ของแก๊สจะแปรผกผันกับความดันของแก๊ส”
ความดันและปริมาตรของแก๊สที่สภาวะของแก๊สแตกต่างกัน 2 สภาวะ
จะมีความสัมพันธ์ดังสมการ
กฎของชาร์ล (Charles’s law)
ศึกษาเกี่ยวกับการขยายตัวของ
แก๊ส โดยทดลองหาความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาตรของแก๊สปริมาณ
หนึ่งในภาชนะปิดกับอุณหภูมิที่
เปลี่ยนแปลง ที่ความดันคงตัว
พบว่าเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
จะทําให้ปริมาตรของแก๊ส
เปลี่ยนแปลงไปด้วยจ๊าค อเล็กซองดร์ เซซา ชาร์ล
(Jacques Alexandre César Charles,
ค.ศ.1746 - 1823)
กิจกรรมที่ 2.2 กฎของชาร์ล
กิจกรรมที่ 2.2 กฎของชาร์ล
กิจกรรมที่ 2.2 กฎของชาร์ล
กิจกรรมที่ 2.2 กฎของชาร์ล
จากกราฟ แสดงให้เห็นว่า ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับ
อุณหภูมิซึ่งเป็นไปตาม กฎของชาร์ล (Charles’s law) มีใจความว่า
“สําหรับแก๊สปริมาณหนึ่งที่ความดันคงตัว ปริมาตรของแก๊สจะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์”
ปริมาตรและอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สที่สภาวะของแก๊สแตกต่างกัน
2 สภาวะ จะมีความสัมพันธ์ดังสมการ
กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ความดันกับอุณหภูมิของแก๊ส
ปริมาณหนึ่ง ที่ปริมาตรคงตัว
พบว่า เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
จะทําให้ความดันของแก๊ส
เปลี่ยนแปลงไปด้วย
โชแซฟ-ลุย เกย์-ลูแซก
(Joseph-Loius Gay-Lussac ,
ค.ศ.1778 - 1850)
กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)
กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)
จากกราฟ ความดันของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิซึ่งเป็นไป
ตาม กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law) มีใจความว่า
“สําหรับแก๊สปริมาณหนึ่งที่ปริมาตรคงตัว ความดันของแก๊สจะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์”
ความดันและอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สที่สภาวะของแก๊สแตกต่างกัน
2 สภาวะ จะมีความสัมพันธ์ดังสมการ
กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)
พิจารณากฎของบอยล์และกฎของชาร์ล จะได้ว่า
กฎของแก๊ส
ความดันปริมาตรและอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สที่สภาวะของ
แก๊สแตกต่างกัน 2 สภาวะจะมีความสัมพันธ์ดังสมการ
กฎของแก๊ส
แก๊ส 1 โมล = 6.02 x 1023
โมเลกุล
แก๊สอุดมคติที่ STP (Standard Temperature and Pressure)
T = 273 K , P = 1.013 x 105
N/m2
แก๊ส 1 โมล = 22.4 x 10-3
m3
(22.4 ลิตร)
แก๊ส n โมล ที่ STP = n(22.4x10-3
) m3
กฎของแก๊ส
การหาความดันของแก๊สผสม
กฎความดันย่อยของดอลตัน (Dalton’s law of partial pressure)
ที่มีใจความว่า “สําหรับแก๊สผสม ความดันของแก๊สแต่ละชนิดขึ้นกับ
จํานวนโมเลกุลของแก๊สชนิดนั้น”
สมมติให้แก๊ส 3 ชนิด ที่ไม่มีปฏิกิริยาต่อกัน
มีจํานวนโมเลกุล N1
, N2
และ N3
เมื่อผสมกันจะได้แก๊สรวมที่มีจํานวนโมเลกุล
เท่ากับ N โดย N = N1
+N2
+N3
**ความดันรวม = ผลรวมของความดันย่อย**
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง แก๊สอุดมคติ
กิจกรรมกระสุนจากฝาขวดนา !!!
กดที่รูปภาพ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gases)
- ทฤษฎีที่ใช้อธิบายสมบัติของแก๊สในระดับโมเลกุล
- ศึกษาพลังงานจลน์และการเคลื่อนที่ของโมเลกุลแก๊สด้วยกฎ
การเคลื่อนที่ของนิวตันและกฎของแก๊สอุดมคติ
- พิจารณาแก๊สที่มีสมบัติตามแบบจําลองที่ได้ตั้งสมมติฐานไว้
เรียกว่า แบบจําลองของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas model)
แบบจําลองของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas model)
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส
- โมเลกุลแก๊สเกิดการชนแบบยืดหยุ่น
- ความดันแก๊สเกิดจากแรงดลของโมเลกุลแก๊ส
แรงที่ผนังภาชนะ
กระทําต่อโมเลกุลแก๊ส
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส (ต่อ)
จาก กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน
จะได้
แรงที่โมเลกุลแก๊ส
กระทําต่อผนังภาชนะ
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส (ต่อ)
- โมเลกุลมีโอกาสเข้าชน 6 ทิศทาง
- จํานวนโมเลกุลเฉลี่ยที่เข้าชนผนังภาชนะ จะเท่ากับ
จาก แรงที่โมเลกุลแก๊ส
กระทําต่อผนังภาชนะ
จะได้ แรงเฉลี่ยที่โมเลกุลแก๊ส
กระทําต่อผนังภาชนะ
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส (ต่อ)
จัดรูปสมการใหม่
ใช้ ความเร็วเฉลี่ย
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส (ต่อ)
จาก
จะได้
อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส
อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส (ต่อ)
อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส (ต่อ)
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ภาชนะ 2 ใบนี้ บรรจุแก๊สชนิดเดียวกัน
และอุณหภูมิเท่ากัน
ระบบ (System) คือ ขอบเขตที่ต้องการศึกษา
สิ่งแวดล้อม (Surrounding) คือ สิ่งที่อยู่นอกระบบ
พลังงานภายในระบบ (Internal energy : U)
คือ พลังงานจลน์ + พลังงานศักย์ (ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ)
แก๊สอุดมคติ --> พลังงานภายในระบบ = พลังงานจลน์
อุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น
ลดลง
พลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น
พลังงานภายในระบบลดลง
พลังงานภายในระบบ (Internal energy : U)
พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สทุกโมเลกุล
,
,
,
พลังงานภายในระบบ (Internal energy : U)
งานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส
พื้นที่หน้าตัด A
งานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส (ต่อ)
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
“ความร้อนที่ให้แก่ระบบจะมีค่า
เท่ากับผลรวมของการเปลี่ยนแปลง
พลังงานภายในระบบกับงานที่ระบบ
ทําให้กับสิ่งแวดล้อม” (ตามกฎการ
อนุรักษ์พลังงาน)
กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
(First law of thermodynamics)
ความรู้เพิ่มเติม
ความรู้เพิ่มเติม (ต่อ)
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง พลังงานภายในระบบ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สในชีวิตประจําวัน
เครื่องจักรไอนํ้า (Steamengine)
- เป็นเครื่องจักร 2 จังหวะ
- วาล์ว : ควบคุมทิศทางการไหลของไอนํ้าความดันสูง
- มีการสันดาปภายนอก ต้มนํ้าให้กลายเป็นไอ แล้วส่งไปตามท่อ
- จังหวะคายไอนํ้า ไอนํ้าจะถูกผลักออกสู่ภายนอกผ่านทางปล่อง
ของเครื่องจักร
เครื่องจักรไอนํ้า (Steamengine)
How Locomotive Engine Work
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (Four-stroke engine)
2 จังหวะ VS 4 จังหวะ ใครเหนือกว่าใคร
!!!ทําไมสองจังหวะเลิกผลิต??
The Differences Between Petrol and Diesel Engines
เครื่องทําความเย็น
หลัก 2 ประการของทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
1. เมื่อของเหลวระเหยเป็นไอจะดูดพลังงาน
เพื่อใช้ในการระเหย บริเวณโดยรอบจึงมีอุณหภูมิลดลง
2. ที่ความดันตํ่า ของเหลวสามารถระเหยเป็นไอได้ง่าย
ที่อุณหภูมิตํ่า
Team work
แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อสืบค้น และทํา Pop-up
1. เครื่องจักรไอนํ้า
2. เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ
3. หม้อต้มอัดแรงดัน
4. ตู้เย็น
5. เครื่องปรับอากาศ
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊สในชีวิตประจําวัน
1. เหตุใดเมื่ออากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้น จึงทําให้ลูกสูบ
เคลื่อนที่ได้
2. การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของอากาศภายในกระบอกสูบ
ทําให้เครื่องจักรหรือรถจักรเคลื่อนที่ได้อย่างไร
3. เครื่องปรับอากาศมีขั้นตอนการทํางานอย่างไร
: Mind Map
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

More Related Content

What's hot

บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 

Similar to ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thaiSaranyu Pilai
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thaiSaranyu Pilai
 

Similar to ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
Applications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural productsApplications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural products
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 

More from Chanthawan Suwanhitathorn

พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันChanthawan Suwanhitathorn
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดChanthawan Suwanhitathorn
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมChanthawan Suwanhitathorn
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีChanthawan Suwanhitathorn
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีChanthawan Suwanhitathorn
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 

More from Chanthawan Suwanhitathorn (20)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
 
กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสี
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 

ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส