SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
1
แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค The 5E’s Learning Cycle
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303
โดย
โดย
นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์
วุฒิ ศษ.ม. วิทยาศาสตร์ศึกษา
2
แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
ชื่อวิชา: วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ แผนกวิชาทักษะชีวิต
ชื่อเรื่อง: ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม เวลา 3 ชั่วโมง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ตั้งสมมติฐาน สังเกต ทดลอง บันทึก และวาดรูปประกอบ เพื่อบรรยายรูปร่างลักษณะของกลุ่มก้อน
ดีเอ็นเอที่สกัดได้จากพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอ
2. หน้าที่ของสารพันธุกรรม
สาระความคิด/แนวความคิดรวบยอด
สารพันธุกรรม (Genetic) คือ สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลรหัสสาหรับการ
ทางานของของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เอาไว้ ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะตัวไม่
เหมือนกับสิ่งมีชีวิตอื่น หรือ ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวมีหลายลักษณะที่แตกต่างกัน
เนื่องจากภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตมียีน (gene) ซึ่งอยู่ในรูปสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA) เป็น
สารพันธุกรรมที่เป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะ และสามารถถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไป
ยังรุ่นต่อๆ ไปได้
ดีเอ็นเอมีขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่กลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สกัดได้เป็นสายดี
เอ็นเอจากเซลล์พืชจานวนมากมายเป็นล้านเซลล์มารวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน จึงทาให้เรามองเห็นได้ด้วยตา
เปล่า
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อเรียนจบแล้ว นักเรียนสามารถ
ด้านความรู้ความคิด (K)
1. อธิบายความหมายของสารพันธุกรรมได้
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. สร้างสมมติฐานเรื่องรูปร่างลักษณะของดีเอ็นเอได้
2. กาหนดชนิดของพืชและส่วนที่นามาใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ และปริมาณที่ใช้ได้
3. สกัดดีเอ็นเอจากพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางได้
3
4. บรรยายรูปร่าง ลักษณะ ของกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สกัดได้
ด้านจิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ความสนใจใฝ่รู้
2. ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นอดทน และเพียรพยายาม
3. ความมีเหตุผล
กระบวนการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์องค์ความรู้โดยใช้เทคนิค The 5E’s Learning Cycle
ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ (Engagement) (ใช้เวลา 15 นาที)
1.1 ครูนาตัวอย่างพืชจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางที่มีรูปร่างลักษณะที่หลากหลายมาให้นักเรียน
สังเกตความแตกต่าง
1.2 ครูถามนักเรียนเพื่อสร้างความสนใจว่า “ทราบหรือไม่เหตุใดพืชต่างชนิดกันจึงรูปร่างไม่
เหมือนกัน” (ครูเฉลยว่า: สาเหตุที่พืชต่างชนิดกันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน เพราะสารพันธุกรรมที่เรียกว่า ดีเอ็น
เอ)
1.3 ครูถามผู้เรียนว่ามีใครอยากรู้จักดีเอ็นเอบ้าง และดีเอ็นเอมีลักษณะอย่างไร (ครูยังไม่เฉลย
คาตอบ)
ขั้นที่ 2 การสารวจตรวจสอบ (Exploration) (ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที)
2.1 ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 5 คน โดยคละนักเรียนตามความสามารถ คือ คนเก่ง ปานกลาง
และอ่อน เป็น 1:3:1 และให้นักเรียนแบ่งหน้าที่กันในแต่ละกลุ่ม
2.2 ครูสาธิตการสกัดดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง และให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
เลือกพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง กลุ่มละ 1 ชนิดมาทดลองสกัดดีเอ็นเอ ตามใบกิจกรรมเรื่องการสกัด
สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
2.3 ให้นักเรียนบันทึกผลการสังเกตลงในแบบบันทึกการสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์
พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
ขั้นที่ 3 การอธิบาย (Explanation) (ใช้เวลา 15 นาที)
3.1 ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันในกลุ่มว่าดีเอ็นเอที่กลุ่มตนเองสกัดได้มีลักษณะอย่างไร (แนว
คาตอบ: ดีเอ็นเอที่สกัดได้มีลักษณะคล้ายเส้นไหมสีขาว)
ขั้นที่ 4 การขยายความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ (Extension) (ใช้เวลา 15 นาที)
4.1 ครูให้นักเรียนนาตัวอย่างดีเอ็นเอจากพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางที่กลุ่มตนเองสกัดได้ไป
เปรียบเทียบกับดีเอ็นเอที่กลุ่มอื่นสกัดได้แล้วบันทึกผลการสังเกตลงในแบบบันทึกผล
4
ขั้นที่ 5 การประเมิน (Evaluation) (ใช้เวลา 1 ชั่วโมง)
5.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลอง รวมทั้งผลการเปรียบเทียบกับดีเอ็นเอจากเซลล์
พืชชนิดอื่นๆ ที่กลุ่มอื่นสกัดได้ จากนั้นให้ผู้เรียนร่วมกันสรุปว่า สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเออยู่ที่ใด (แนว
คาตอบ: อยู่ภายในนิวเคลียสของเซลล์พืช)
5.2 ครูประเมินผลการเรียนรู้จากชิ้นงานที่นักเรียนทา และการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนระหว่างทา
การทดลอง
5.3 ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ดีเอ็นเอมีขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่กลุ่มก้อนดี
เอ็นเอที่ผู้เรียนสังเกตเห็น เป็นเพราะสายดีเอ็นเอเหล่านี้มาจากดีเอ็นเอจากเซลล์พืชจานวนมากมายเป็นล้าน
เซลล์มารวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน จึงทาให้เรามองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
5.4 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสรุปความหมายและหน้าที่ของสารพันธุกรรมดังนี้
- สารพันธุกรรม (Genetic) คือ สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลรหัส
สาหรับการทางานของของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เอาไว้ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะตัว
ไม่เหมือนกับสิ่งมีชีวิตอื่น
- ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวมีหลายลักษณะที่แตกต่างกัน เนื่องจากภายใน
เซลล์สิ่งมีชีวิตมียีน (gene) ซึ่งอยู่ในรูปสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA) เป็นสารพันธุกรรมที่
เป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะ และสามารถถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้
5.5 ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
5.6 ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด
วัสดุ/อุปกรณ์ สื่อ และแหล่งเรียนรู้
วัสดุ/อุปกรณ์
1. เนื้อเยื่อพืชจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง เช่น ใบอ่อน เมล็ด หนัก 50 กรัม
2. เครื่องปั่น
3. น้าเกลืออุ่น เตรียมจากการละลายเกลือแกง 2 ช้อนชา ลงในน้าอุ่น 250 มิลลิลิตร
4. น้ายาล้างจานชนิดใสและไม่มีสี 2 ช้อนชา
5. แก้วใสไม่มีสี หรือหลอดทดลอง 1 หลอด
6. กรวยกรอง 1 อัน
7. ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้
8. แอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร (เตรียมโดยนาแอลกอฮอล์ 95% แช่ในตู้เย็น 30 นาที)
สื่อ และแหล่งเรียนรู้
1. ใบกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
5
2. ใบรายงานกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษา
ลาปาง
3. แบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
4. เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
ภาระงาน
ภาระงานครู
1. เตรียมสื่อการเรียนการสอน
2. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
3. ควบคุม ดูแล คอยให้ความช่วยเหลือแนะนานักเรียนขณะที่นักเรียนทาการทดลองและอภิปราย
สรุปร่วมกันของนักเรียน
4. อธิบายเสริมความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการอภิปรายและสรุปผลการทดลอง
ภาระงานนักเรียน
1. ศึกษาและทาการทดลองตามกิจกรรมที่ครูเตรียมไว้ให้
2. อภิปรายและสรุปผลการทดลองในใบรายงานกิจกรรมที่ครูเตรียมไว้ให้ตามลาดับ
3. ทาแบบฝึกหัด
การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
1. ด้านความรู้ (K) - ตรวจผลงาน
- ตรวจคาตอบในใบ
รายงานกิจกรรม
- ตรวจแบบฝึกหัด
- ใบกิจกรรม
เรื่อง การสกัดสาร
พันธุกรรมหรือ
ดีเอ็นเอจากเซลล์พืช
- ใบรายงานกิจกรรม เรื่อง
การสกัดสารพันธุกรรม
หรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืช
- แบบฝึกหัด
- ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ (P)
- สังเกตขณะปฏิบัติ
กิจกรรม
- แบบประเมินทักษะ
ในการปฏิบัติการ
- แบบสังเกตพฤติกรรมการ
ทางานกลุ่ม
- ระดับคุณภาพ
ปานกลาง ผ่านเกณฑ์
- ระดับคุณภาพ
ปานกลาง ผ่านเกณฑ์
6
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
3. ด้านจิตวิทยาศาสตร์
(A)
- สังเกตขณะปฏิบัติ
กิจกรรม
- แบบสังเกตพฤติกรรม
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
- ระดับคุณภาพ (1)
ผ่านเกณฑ์
7
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
1. ขั้นการสร้างความสนใจ (Engagement)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
2. ขั้นการสารวจตรวจสอบ (Exploration)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
3. ขั้นการอธิบาย (Explanation)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
4. ขั้นการขยายความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ (Extension)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
5. ขั้นการประเมิน (Evaluation)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
6. ปัญหา/อุปสรรค (Problems/Obstacles)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข (Suggestions/Solutions)
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ.....................................................ผู้สอน
(นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์)
............/............./.............
8
ใบกิจกรรม
เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
วัสดุอุปกรณ์
1. เนื้อเยื้อพืชจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางเช่น ใบอ่อน เมล็ด หนัก 50 กรัม
2. เครื่องปั่น
3. น้าเกลืออุ่น เตรียมจากการละลายเกลือแกง 2 ช้อนชา ลงในน้าอุ่น 250 มิลลิลิตร
4. น้ายาล้างจานชนิดใสและไม่มีสี 2 ช้อนชา
5. แก้วใสไม่มีสี หรือหลอดทดลอง 1 หลอด
6. กรวยกรอง 1 อัน
7. ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้
8. แอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร (เตรียมโดยนาแอลกอฮอล์ 95% แช่ในตู้เย็น 30 นาที)
วิธีทา
4 ขั้นตอนง่าย ๆ ในการสกัดดีเอ็นเอ
ขั้นที่ 1. หั่นเนื้อเยื่อพืชที่ต้องการสกัดดีเอ็นเอเป็นชิ้นเล็ก ๆ
ขั้นที่ 2. นาเนื้อเยื่อที่หั่นไว้50 กรัม และน้าเกลืออุ่น 250
มิลลิลิตรใส่ลงในเครื่องปั่น ใช้เวลาปั่น 5-10 วินาที (ไม่ต้องปั่น
ให้ละเอียดจนเป็นเนื้อเดียวกัน)
ขั้นที่ 3. เติมน้ายาล้างจาน 2 ช้อนชา
ลงในของเหลวที่ปั่นได้ค่อย ๆ คน
ให้เข้ากันและระวังอย่าให้มีฟอง
จากนั้นกรองของเหลวด้วยกรวยกรอง
9
ขั้นที่ 4. นาของเหลวที่กรองได้10 มิลลิลิตรใส่ลงในหลอดแก้ว
จากนั้นค่อย ๆ เติมแอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร ลงทางด้านข้าง
ของหลอดแก้ว เราจะสังเกตเห็นแอลกอฮอล์แยกชั้น ลอยอยู่เหนือ
ชั้นของเหลวที่กรองได้(ถ้าใช้แก้วใส ให้เพิ่มปริมาณของเหลวและ
แอลกอฮอล์เย็นมากขึ้นให้เหมาะกับขนาดของแก้ว)
ห้ามคนหรือเขย่าแก้ว รอประมาณ 2-3 นาที ระหว่างนี้ให้สังเกต
บริเวณใกล้ลอยแยกระหว่างชั้นให้ดี ว่าเกิดอะไรขึ้น?
2-3 นาทีผ่านไป เราจะสังเกตเห็นกลุ่มเส้นไหม
บาง ๆ หรือดีเอ็นเอค่อย ๆ ลอยขึ้นมาอยู่ในชั้น
แอลกอฮอล์ด้านบนหลอดแก้ว เราอาจใช้ไม้เขี่ย
กลุ่มดีเอ็นเอขึ้นมาสังเกตใกล้ๆ
**ไชโย เราสกัดดีเอ็นเอสาเร็จแล้ว!!!
ที่มาของข้อมูลและภาพ
- The Gene School: DNA Extraction : http://library.thinkquest.org/19037/dna_extraction.html
- Genetics Science Learning Center at the University of Utah :
http://www.chm.bris.ac.uk/webprojects2002/anderson/dna_extraction.htm
- DNA Extraction in Lab : http://nobel.scas.bcit.ca/resource/dna/station1.htm
10
ใบรายงานกิจกรรม
เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
ชื่อ...................................................นามสกุล......................................................เลขที่.....................................
วันที่ทาการทดลอง...........................................................................................................................................
สมมติฐานการทดลอง.......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
วิธีการทดลอง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
บันทึกผลการทดลอง
ชื่อพืช...............................................................................................................................................................
ส่วนที่ใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ......................................................ปริมาณที่ใช้....................................................
บรรยายรูปร่างลักษณะ......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
วาดภาพกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สังเกตเห็น
11
ชื่อพืช...............................................................................................................................................................
ส่วนที่ใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ......................................................ปริมาณที่ใช้....................................................
บรรยายรูปร่างลักษณะ......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
วาดภาพกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สังเกตเห็น
ชื่อพืช...............................................................................................................................................................
ส่วนที่ใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ......................................................ปริมาณที่ใช้....................................................
บรรยายรูปร่างลักษณะ......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
วาดภาพกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สังเกตเห็น
12
สรุปผลการทดลอง
กลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สกัดได้จากพืชแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
13
แบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. พืชต่างชนิดกันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน เพราะเหตุใด
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
2. สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตมีหน้าที่อย่างไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. จงอธิบายขั้นตอนการสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืช มาโดยละเอียด
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม
1. พืชต่างชนิดกันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน เพราะสารพันธุกรรมที่ เรียกว่า ดีเอ็นเอ
2. สารพันธุกรรม (Genetic) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลรหัสสาหรับการทางานของของสิ่งมีชีวิตต่างๆ
เอาไว้ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะตัวไม่เหมือนกับสิ่งมีชีวิตอื่น และสามารถ
ถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตรุ่นต่อไปได้
3. ขั้นตอนการสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืช มี 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1. หั่นเนื้อเยื่อพืชที่ต้องการสกัดดีเอ็นเอเป็นชิ้นเล็ก ๆ
ขั้นที่ 2. นาเนื้อเยื่อที่หั่นไว้ 50 กรัม และน้าเกลืออุ่น 250 มิลลิลิตรใส่ลงในเครื่องปั่น ใช้เวลาปั่น 5-
10 วินาที (ไม่ต้องปั่นให้ละเอียดจนเป็นเนื้อเดียวกัน)
ขั้นที่ 3. เติมน้ายาล้างจาน 2 ช้อนชา ลงในของเหลวที่ปั่นได้ค่อย ๆ คนให้เข้ากันและระวังอย่าให้มี
ฟอง จากนั้นกรองของเหลวด้วยกรวยกรอง
ขั้นที่ 4. นาของเหลวที่กรองได้10 มิลลิลิตรใส่ลงในหลอดแก้ว จากนั้นค่อย ๆ เติมแอลกอฮอล์เย็น
10 มิลลิลิตร ลงทางด้านข้างของหลอดแก้ว เราจะสังเกตเห็นแอลกอฮอล์แยกชั้น ลอยอยู่เหนือชั้นของเหลว
2-3 นาทีผ่านไป เราจะสังเกตเห็นกลุ่มเส้นไหมบาง ๆ หรือดีเอ็นเอค่อย ๆ ลอยขึ้นมาอยู่ในชั้นแอลกอฮอล์
ด้านบนหลอดแก้ว เราอาจใช้ไม้เขี่ยกลุ่มดีเอ็นเอขึ้นมาสังเกตได้
14
แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการ
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303
วันที่ประเมิน...............เดือน......................................พ.ศ...............
คาชี้แจง แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการนี้ใช้ประเมินทักษะในการปฏิบัติการของนักเรียน ซึ่งครูผู้สอน
เป็นผู้ประเมิน
กลุ่มที่
ประเด็นที่ประเมิน/คะแนนที่ได้
รวม
(9 คะแนน)
สรุป
สร้างสมมติฐาน
เรื่องรูปร่าง
ลักษณะของ
ดีเอ็นเอได้
อธิบายวิธีการ
ในการสกัด
ดีเอ็นเอได้
บรรยายรูปร่าง
ลักษณะของ
กลุ่มก้อน
ดีเอ็นเอได้
ผ่าน ไม่ผ่าน
0 1 2 3 0 1 2 3 0 1 2 3
1……..
2……..
3……..
4……..
5……..
6……..
7……..
8……..
สรุปผลการประเมิน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 7 - 9 ระดับคุณภาพ ดี แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 4 - 6 ระดับคุณภาพ ปานกลาง แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 0 - 3 ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์)
............/............./............
15
มาตราส่วนประเมินค่าในการประเมินทักษะในการปฏิบัติการ
ประเด็นที่
ประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1 0
1. สร้างสมมติฐาน
เรื่องรูปร่าง
ลักษณะของ
ดีเอ็นเอได้
ตั้งสมมติฐานได้
ถูกต้อง ชัดเจน
ตั้งสมมติฐานได้
แต่ยังไม่ถูกต้อง
และไม่ชัดเจน
ไม่สามารถ
ตั้งสมมติฐานได้
ต้องให้ความ
ช่วยเหลือ
ไม่สามารถ
ตั้งสมมติฐานได้
ต้องให้ความ
ช่วยเหลือ
อย่างมาก
2. กาหนดชนิด
ของพืชและ
ส่วนที่นามา
ใช้ในการสกัด
ดีเอ็นเอ และ
ปริมาณที่ใช้ได้
กาหนดชนิดของพืช
และส่วนที่นามาใช้
ในการสกัดดีเอ็นเอ
และปริมาณที่ใช้ได้
กาหนดชนิดของ
พืชและส่วนที่นา
มาใช้ในการสกัด
ดีเอ็นเอได้แต่
ไม่สามารถบอก
ปริมาณที่ใช้ได้
ไม่สามารถกาหนด
ชนิดของพืชและ
ส่วนที่นามาใช้
และปริมาณที่
นามาใช้ได้ต้องให้
ความช่วยเหลือ
ไม่สามารถ
กาหนดชนิดของ
พืชและ ส่วนที่
นามาใช้และ
ปริมาณที่นามา
ใช้ได้ต้องให้
ความช่วยเหลือ
อย่างมาก
2. สามารถสกัด
ดีเอ็นเอได้
สามารถสกัดดีเอ็นเอ
ได้สมบูรณ์
สามารถสกัด
ดีเอ็นเอได้แต่
ยังไม่ครบถ้วน
ไม่สามารถสกัด
ดีเอ็นเอได้
ต้องให้ความ
ช่วยเหลือ
ไม่สามารถสกัด
ดีเอ็นเอได้
ต้องให้ความ
ช่วยเหลือ
อย่างมาก
3. บรรยายรูปร่าง
ลักษณะของ
กลุ่มก้อน
ดีเอ็นเอที่สกัด
ได้
บรรยายรูปร่าง
ลักษณะของกลุ่ม
ก้อนดีเอ็นเอที่สกัด
ได้ครบถ้วน
บรรยายรูปร่าง
ลักษณะของกลุ่ม
ก้อนดีเอ็นเอที่สกัด
ได้ไม่ครบถ้วน
ไม่สามารถบรรยาย
รูปร่าง ลักษณะ
ของกลุ่มก้อน
ดีเอ็นเอที่สกัดได้
ต้องให้ความ
ช่วยเหลือ
ไม่สามารถ
บรรยายรูปร่าง
ลักษณะของกลุ่ม
ก้อนดีเอ็นเอที่
สกัดได้ต้องให้
ความช่วยเหลือ
อย่างมาก
16
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303
วันที่สังเกต...............เดือน......................................พ.ศ...............
คาชี้แจง แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มนี้ใช้ประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ซึ่ง
ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน
กลุ่มที่
ประเด็นที่ประเมิน/คะแนนที่ได้
รวม
(20)
สรุป
คณะ
ทางาน
ความ
รับผิดชอบ
ต่อหน้าที่
ขั้นตอน
การทางาน
ความ
ร่วมมือใน
การทางาน
เวลา
ผ่าน ไม่ผ่าน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
1………..
2………..
3………..
4………..
5………..
6………..
7………..
8………..
สรุปผลการประเมิน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 15 - 20 ระดับคุณภาพ ดีมาก แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 11 - 15 ระดับคุณภาพ ดี แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 6 - 10 ระดับคุณภาพ ปานกลาง แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 1 - 5 ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์)
............/............./............
17
มาตราส่วนประเมินค่าในการประเมินผลการทางานเป็นกลุ่ม
ประเด็น
การประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. คณะทางาน มีประธาน
เลขานุการ ผู้นา
เสนอ ผู้ร่วมงาน
ขาดองค์ประกอบ
1 อย่าง
ขาดองค์ประกอบ
2 อย่าง
ขาดองค์ประกอบ
2 อย่างขึ้นไป
2. ความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่
ทุกคนมีหน้าที่และ
ความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ของตนเอง
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่
รับผิดชอบ 1 คน
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่
รับผิดชอบ 2 คน
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่
รับผิดชอบ 2 คน
ขึ้นไป
3. ขั้นตอนการ
ทางาน
- คัดเลือกและ
เตรียมข้อมูลได้
เหมาะสม
- มีการวางแผน
การทางาน
- มีการเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์
- มีการปฏิบัติตาม
แผนและพัฒนา
งาน
ขาด 1 ขั้นตอน
หรือไม่ชัดเจน
ขาด 2 ขั้นตอน
หรือไม่ชัดเจน
ขาดมากกว่า 2
ขั้นตอนขึ้นไป
4. ความร่วมมือ
ในการทางาน
ทุกคนมีส่วนร่วม
และให้ความ
ร่วมมืออย่างเต็มที่
80% ของกลุ่มมี
ส่วนร่วมและให้
ความร่วมมือ
60% ของกลุ่มมี
ส่วนร่วมและให้
ความร่วมมือ
40% ของกลุ่มมี
ส่วนร่วมและให้
ความร่วมมือ
5. เวลา เสร็จก่อนกาหนด
และงานมีคุณภาพ
เสร็จตามกาหนด
และงานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันกาหนด
แต่งานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันกาหนด
และงานไม่มี
คุณภาพ
18
แบบสังเกตพฤติกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์
ชื่อ..................................................................................เลขที่...............ชั้น..................ชื่อกลุ่ม.........................
คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินพิจารณาพฤติกรรมนักเรียนต่อไปนี้ แล้วให้ระดับคะแนน 0, 1, 2, 3 ที่ตรงกับการ
ปฏิบัติของนักเรียนตามความเป็นจริง
คุณลักษณะ พฤติกรรม/ลักษณะบ่งชี้
ระดับพฤติกรรม
3 2 1 0
1. ความสนใจใฝ่ รู้ 1.1 มีความสนใจและพอใจใคร่จะสืบเสาะแสวงหาความรู้ใน
สถานการณ์และปัญหาใหม่อยู่เสมอ
1.2 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและเรื่องราวต่างๆ
1.3 ชอบทดลองค้นคว้า
1.4 ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
2. ความรับผิดชอบ
ความมุ่งมั่นอดทน
และเพียรพยายาม
2.1 ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย
2.2 ทางานที่ได้รับการมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกาหนด และ
ตรงต่อเวลา
2.3 เว้นการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย
2.4 ทางานเต็มความสามารถ
2.5 ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว
2.6 มีความอดทนแม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้
เวลา
3. ความมีเหตุผล 3.1 ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลมาสนับสนุน
อย่างเพียงพอ
3.2 พยายามอธิบายสิ่งต่างๆในแง่เหตุและผลไม่เชื่อโชคลาง
หรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ได้
3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
3.4 ตรวจสอบความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผลของ
แนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
3.5 รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนจะลงข้อสรุปเรื่องราว
ต่างๆ
19
คะแนนรวม…………….………………คะแนน
คะแนนเฉลี่ย……..………….…………คะแนน
สรุปผลการประเมิน….………….……..……….
สรุปผลการประเมิน
คะแนนเฉลี่ย 2.5 – 3.0 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3)
คะแนนเฉลี่ย 1.5 – 2.4 ระดับคุณภาพ ดี (2)
คะแนนเฉลี่ย 1.0 – 1.4 ระดับคุณภาพ ผ่าน (1)
คะแนนเฉลี่ย 0 – 0.9 ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (0)
ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์)
............/............./............
20
มาตราส่วนประเมินค่าในการประเมินผลพฤติกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์
1. ความสนใจใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงถึงความอยากรู้อยากเห็น ชอบซักถาม
ชอบริเริ่ม และสืบเสาะหาความรู้ใหม่ๆ รวมทั้งพยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบเมื่อเกิดปัญหาหรือ
ข้อสงสัย
พฤติกรรม/
ลักษณะบ่งชี้
ระดับคะแนน
3 2 1 0
1.1 มีความสนใจ
และพอใจใคร่จะ
สืบเสาะแสวงหา
ความรู้ใน
สถานการณ์
และปัญหาใหม่
มีความสนใจและพอใจ
ใคร่จะสืบเสาะแสวงหา
ความรู้ในสถานการณ์
และปัญหาใหม่เป็น
ประจา
มีความสนใจและพอใจ
ใคร่จะสืบเสาะแสวงหา
ความรู้ในสถานการณ์
และปัญหาใหม่
บ่อยครั้ง
มีความสนใจและพอใจ
ใคร่จะสืบเสาะแสวงหา
ความรู้ในสถานการณ์
และปัญหาใหม่น้อย
ครั้ง
ไม่มีความสนใจและ
พอใจใคร่จะสืบเสาะ
แสวงหาความรู้ใน
สถานการณ์และปัญหา
ใหม่
1.2 มีความ
กระตือรือร้นต่อ
กิจกรรมและ
เรื่องราวต่างๆ
มีความกระตือรือร้น
ต่อกิจกรรมและ
เรื่องราวต่างๆเป็น
ประจา
มีความกระตือรือร้น
ต่อกิจกรรมและ
เรื่องราวต่างๆ
บ่อยครั้ง
มีความกระตือรือร้น
ต่อกิจกรรมและ
เรื่องราวต่างๆน้อย
ครั้ง
ไม่มีความระตือรือ
ร้นต่อกิจกรรมและ
เรื่องราวต่างๆ
1.3ชอบทดลองค้นคว้า ชอบทดลองค้นคว้าเป็น
ประจา
ชอบทดลองค้นคว้า
บ่อยครั้ง
ชอบทดลองค้นคว้าน้อย
ครั้ง
ไม่ชอบทดลองค้นคว้า
1.4 ชอบสนทนา
ซักถาม ฟัง อ่าน
เพื่อให้ได้รับความรู้
เพิ่มขึ้น
ชอบสนทนา ซักถาม
ฟัง อ่าน เพื่อให้
ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
เป็นประจา
ชอบสนทนา ซักถาม
ฟัง อ่าน เพื่อให้
ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
บ่อยครั้ง
ชอบสนทนา ซักถาม
ฟัง อ่าน เพื่อให้
ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
น้อยครั้ง
ไม่ชอบสนทนา
ซักถาม ฟัง อ่าน
เพื่อให้ได้รับความรู้
เพิ่มขึ้น
21
2. ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นอดทน และเพียรพยายาม หมายถึง การยอมรับผลการกระทาของ
ตนเองและมีความตั้งใจในการทางานให้ประสบผลสาเร็จ แม้ว่าจะต้องใช้เวลามาก หรือมีปัญหาอุปสรรค
มาก
พฤติกรรม/
ลักษณะบ่งชี้
ระดับคะแนน
3 2 1 0
2.1 ยอมรับผลการ
กระทาของตนเอง
ทั้งที่เป็นผลดีและ
ผลเสีย
ยอมรับผลการ
กระทาของตนเองทั้ง
ที่เป็นผลดีและผลเสีย
เป็นประจา
ยอมรับผลการ
กระทาของตนเองทั้ง
ที่เป็นผลดีและผลเสีย
บ่อยครั้ง
ยอมรับผลการ
กระทาของตนเองทั้ง
ที่เป็นผลดีและผลเสีย
น้อยครั้ง
ไม่ยอมรับผลการ
กระทาของตนเองทั้ง
ที่เป็นผลดีและผลเสีย
2.2 ทางานที่ได้รับ
การมอบหมายให้
สมบูรณ์ตาม
กาหนด และตรงต่อ
เวลา
ทางานที่ได้รับการ
มอบหมายให้
สมบูรณ์ตามกาหนด
และตรงต่อเวลาเป็น
ประจา
ทางานที่ได้รับการ
มอบหมายให้
สมบูรณ์ตามกาหนด
และตรงต่อเวลา
บ่อยครั้ง
ทางานที่ได้รับการ
มอบหมายให้
สมบูรณ์ตามกาหนด
และตรงต่อเวลาน้อย
ครั้ง
ไม่ทางานที่ได้รับการ
มอบหมายให้
สมบูรณ์ตามกาหนด
และตรงต่อเวลา
2.3 เว้นการกระทา
ของตนเองทั้งที่เป็น
ผลดีและผลเสีย
เว้นการกระทาของ
ตนเองทั้งที่เป็นผลดี
และผลเสียเป็นประจา
เว้นการกระทาของ
ตนเองทั้งที่เป็นผลดี
และผลเสียบ่อยครั้ง
เว้นการกระทาของ
ตนเองทั้งที่เป็นผลดี
และผลเสียน้อยครั้ง
ไม่ละเว้นการกระทา
ของตนเองทั้งที่เป็น
ผลดีและผลเสีย
2.4 ทางานเต็ม
ความสามารถ
ทางานเต็ม
ความสามารถเป็น
ประจาเป็นประจา
ทางานเต็ม
ความสามารถ
บ่อยครั้ง
ทางานเต็ม
ความสามารถน้อย
ครั้ง
ไม่ทางานเต็ม
ความสามารถ
2.5 ไม่ท้อถอยใน
การทางาน เมื่อมี
อุปสรรคหรือ
ล้มเหลว
ไม่ท้อถอยในการ
ทางาน เมื่อมี
อุปสรรคหรือ
ล้มเหลวเป็นประจา
ไม่ท้อถอยในการ
ทางาน เมื่อมี
อุปสรรคหรือ
ล้มเหลวบ่อยครั้ง
ไม่ท้อถอยในการ
ทางาน เมื่อมี
อุปสรรคหรือ
ล้มเหลวน้อยครั้ง
ท้อถอยในการทางาน
เมื่อมีอุปสรรคหรือ
ล้มเหลว
2.6 มีความอดทน
แม้การดาเนินการ
แก้ปัญหาจะยุ่งยาก
และใช้เวลา
มีความอดทนแม้การ
ดาเนินการแก้ปัญหา
จะยุ่งยากและใช้เวลา
เป็นประจา
มีความอดทนแม้การ
ดาเนินการแก้ปัญหา
จะยุ่งยากและใช้เวลา
บ่อยครั้ง
มีความอดทนแม้การ
ดาเนินการแก้ปัญหา
จะยุ่งยากและใช้เวลา
น้อยครั้ง
ไม่มีความอดทนแม้
การดาเนินการ
แก้ปัญหาจะยุ่งยาก
และใช้เวลา
22
3. ความมีเหตุผล หมายถึง คุณลักษณะที่เชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นต้องมีสาเหตุไม่เชื่อโชคลาง เห็นคุณค่า
ของการสืบหาความจริงก่อนที่จะยอมรับหรือปฏิบัติตาม
พฤติกรรม/
ลักษณะบ่งชี้
ระดับคะแนน
3 2 1 0
3.1 ยอมรับใน
คาอธิบายเมื่อมี
หลักฐานหรือข้อมูล
มาสนับสนุนอย่าง
เพียงพอ
ยอมรับในคาอธิบาย
เมื่อมีหลักฐานหรือ
ข้อมูลมาสนับสนุน
อย่างเพียงพอเป็น
ประจา
ยอมรับในคาอธิบาย
เมื่อมีหลักฐานหรือ
ข้อมูลมาสนับสนุน
อย่างเพียงพอ
บ่อยครั้ง
ยอมรับในคาอธิบาย
เมื่อมีหลักฐานหรือ
ข้อมูลมาสนับสนุน
อย่างเพียงพอน้อยครั้ง
ไม่ยอมรับใน
คาอธิบายเมื่อมี
หลักฐานหรือข้อมูล
มาสนับสนุนอย่าง
เพียงพอ
3.2 พยายามอธิบาย
สิ่งต่างๆในแง่เหตุ
และผลไม่เชื่อโชค
ลางหรือคาทานายที่
ไม่สามารถอธิบาย
ตามวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ได้
พยายามอธิบายสิ่ง
ต่างๆในแง่เหตุและ
ผลไม่เชื่อโชคลาง
หรือคาทานายที่ไม่
สามารถอธิบายตาม
วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ได้เป็น
ประจา
พยายามอธิบายสิ่ง
ต่างๆในแง่เหตุและ
ผลไม่เชื่อโชคลาง
หรือคาทานายที่ไม่
สามารถอธิบายตาม
วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ได้
บ่อยครั้ง
พยายามอธิบายสิ่ง
ต่างๆในแง่เหตุและ
ผลไม่เชื่อโชคลาง
หรือคาทานายที่ไม่
สามารถอธิบายตาม
วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ได้น้อย
ครั้ง
ไม่พยายามอธิบายสิ่ง
ต่างๆในแง่เหตุและ
ผล หรือเชื่อโชคลาง
หรือคาทานายที่ไม่
สามารถอธิบายตาม
วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ได้
3.3 อธิบายหรือ
แสดงความคิดอย่าง
มีเหตุผล
อธิบายหรือแสดง
ความคิดอย่างมี
เหตุผลเป็นประจา
อธิบายหรือแสดง
ความคิดอย่างมี
เหตุผลบ่อยครั้ง
อธิบายหรือแสดง
ความคิดอย่างมี
เหตุผลน้อยครั้ง
ไม่อธิบายหรือแสดง
ความคิดอย่างมี
เหตุผล
3.4 ตรวจสอบ
ความถูกต้องหรือ
ความสมเหตุสมผล
ของแนวความคิด
ต่างๆ กับแหล่ง
ข้อมูลที่เชื่อถือได้
ตรวจสอบความถูก
ต้องหรือความ
สมเหตุสมผลของ
แนวความคิดต่างๆ
กับแหล่งข้อมูลที่
เชื่อถือได้เป็นประจา
ตรวจสอบความถูก
ต้องหรือความ
สมเหตุสมผลของ
แนวความคิดต่างๆ
กับแหล่งข้อมูลที่
เชื่อถือได้บ่อยครั้ง
ตรวจสอบความถูก
ต้องหรือความ
สมเหตุสมผลของ
แนวความคิดต่างๆ
กับแหล่งข้อมูลที่
เชื่อถือได้น้อยครั้ง
ไม่ตรวจสอบความ
ถูกต้องหรือความ
สมเหตุสมผลของ
แนวความคิดต่างๆ
กับแหล่งข้อมูลที่
เชื่อถือได้
3.5 รวบรวมข้อมูล
อย่างเพียงพอก่อน
จะลงข้อสรุป
เรื่องราวต่างๆ
รวบรวมข้อมูลอย่าง
เพียงพอก่อนจะลง
ข้อสรุปเรื่องราว
ต่างๆ เป็นประจา
รวบรวมข้อมูลอย่าง
เพียงพอก่อนจะลง
ข้อสรุปเรื่องราว
ต่างๆบ่อยครั้ง
รวบรวมข้อมูลอย่าง
เพียงพอก่อนจะลง
ข้อสรุปเรื่องราว
ต่างๆน้อยครั้ง
ไม่รวบรวมข้อมูล
อย่างเพียงพอก่อนจะ
ลงข้อสรุปเรื่องราว
ต่างๆ
23
แบบบันทึกการตรวจใบกิจกรรม/แบบฝึกหัด
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303
คะแนนเต็ม.................คะแนน
เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนน
ผลการ
ประเมิน
เลขที่ ชื่อ-สกุล
คะแนน
ผลการ
ประเมิน
ผ่าน
ไม่
ผ่าน
ผ่าน
ไม่
ผ่าน

More Related Content

What's hot

สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
Aon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 

What's hot (20)

1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
โครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำโครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin

วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
Aroonswat
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
citylong117
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
juckit009
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
Wareerut Hunter
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
Mind Kyn
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7
juckit009
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
korakate
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin (20)

ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 

หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin

  • 1. 1 แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค The 5E’s Learning Cycle หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303 โดย โดย นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์ วุฒิ ศษ.ม. วิทยาศาสตร์ศึกษา
  • 2. 2 แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ ชื่อวิชา: วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ แผนกวิชาทักษะชีวิต ชื่อเรื่อง: ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม เวลา 3 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตั้งสมมติฐาน สังเกต ทดลอง บันทึก และวาดรูปประกอบ เพื่อบรรยายรูปร่างลักษณะของกลุ่มก้อน ดีเอ็นเอที่สกัดได้จากพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอ 2. หน้าที่ของสารพันธุกรรม สาระความคิด/แนวความคิดรวบยอด สารพันธุกรรม (Genetic) คือ สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลรหัสสาหรับการ ทางานของของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เอาไว้ ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะตัวไม่ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตอื่น หรือ ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวมีหลายลักษณะที่แตกต่างกัน เนื่องจากภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตมียีน (gene) ซึ่งอยู่ในรูปสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA) เป็น สารพันธุกรรมที่เป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะ และสามารถถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไป ยังรุ่นต่อๆ ไปได้ ดีเอ็นเอมีขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่กลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สกัดได้เป็นสายดี เอ็นเอจากเซลล์พืชจานวนมากมายเป็นล้านเซลล์มารวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน จึงทาให้เรามองเห็นได้ด้วยตา เปล่า จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อเรียนจบแล้ว นักเรียนสามารถ ด้านความรู้ความคิด (K) 1. อธิบายความหมายของสารพันธุกรรมได้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. สร้างสมมติฐานเรื่องรูปร่างลักษณะของดีเอ็นเอได้ 2. กาหนดชนิดของพืชและส่วนที่นามาใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ และปริมาณที่ใช้ได้ 3. สกัดดีเอ็นเอจากพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางได้
  • 3. 3 4. บรรยายรูปร่าง ลักษณะ ของกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สกัดได้ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ความสนใจใฝ่รู้ 2. ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นอดทน และเพียรพยายาม 3. ความมีเหตุผล กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์องค์ความรู้โดยใช้เทคนิค The 5E’s Learning Cycle ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ (Engagement) (ใช้เวลา 15 นาที) 1.1 ครูนาตัวอย่างพืชจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางที่มีรูปร่างลักษณะที่หลากหลายมาให้นักเรียน สังเกตความแตกต่าง 1.2 ครูถามนักเรียนเพื่อสร้างความสนใจว่า “ทราบหรือไม่เหตุใดพืชต่างชนิดกันจึงรูปร่างไม่ เหมือนกัน” (ครูเฉลยว่า: สาเหตุที่พืชต่างชนิดกันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน เพราะสารพันธุกรรมที่เรียกว่า ดีเอ็น เอ) 1.3 ครูถามผู้เรียนว่ามีใครอยากรู้จักดีเอ็นเอบ้าง และดีเอ็นเอมีลักษณะอย่างไร (ครูยังไม่เฉลย คาตอบ) ขั้นที่ 2 การสารวจตรวจสอบ (Exploration) (ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที) 2.1 ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 5 คน โดยคละนักเรียนตามความสามารถ คือ คนเก่ง ปานกลาง และอ่อน เป็น 1:3:1 และให้นักเรียนแบ่งหน้าที่กันในแต่ละกลุ่ม 2.2 ครูสาธิตการสกัดดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง และให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เลือกพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง กลุ่มละ 1 ชนิดมาทดลองสกัดดีเอ็นเอ ตามใบกิจกรรมเรื่องการสกัด สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง 2.3 ให้นักเรียนบันทึกผลการสังเกตลงในแบบบันทึกการสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์ พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง ขั้นที่ 3 การอธิบาย (Explanation) (ใช้เวลา 15 นาที) 3.1 ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันในกลุ่มว่าดีเอ็นเอที่กลุ่มตนเองสกัดได้มีลักษณะอย่างไร (แนว คาตอบ: ดีเอ็นเอที่สกัดได้มีลักษณะคล้ายเส้นไหมสีขาว) ขั้นที่ 4 การขยายความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ (Extension) (ใช้เวลา 15 นาที) 4.1 ครูให้นักเรียนนาตัวอย่างดีเอ็นเอจากพืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางที่กลุ่มตนเองสกัดได้ไป เปรียบเทียบกับดีเอ็นเอที่กลุ่มอื่นสกัดได้แล้วบันทึกผลการสังเกตลงในแบบบันทึกผล
  • 4. 4 ขั้นที่ 5 การประเมิน (Evaluation) (ใช้เวลา 1 ชั่วโมง) 5.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลอง รวมทั้งผลการเปรียบเทียบกับดีเอ็นเอจากเซลล์ พืชชนิดอื่นๆ ที่กลุ่มอื่นสกัดได้ จากนั้นให้ผู้เรียนร่วมกันสรุปว่า สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเออยู่ที่ใด (แนว คาตอบ: อยู่ภายในนิวเคลียสของเซลล์พืช) 5.2 ครูประเมินผลการเรียนรู้จากชิ้นงานที่นักเรียนทา และการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนระหว่างทา การทดลอง 5.3 ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ดีเอ็นเอมีขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่กลุ่มก้อนดี เอ็นเอที่ผู้เรียนสังเกตเห็น เป็นเพราะสายดีเอ็นเอเหล่านี้มาจากดีเอ็นเอจากเซลล์พืชจานวนมากมายเป็นล้าน เซลล์มารวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน จึงทาให้เรามองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 5.4 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสรุปความหมายและหน้าที่ของสารพันธุกรรมดังนี้ - สารพันธุกรรม (Genetic) คือ สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลรหัส สาหรับการทางานของของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เอาไว้ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะตัว ไม่เหมือนกับสิ่งมีชีวิตอื่น - ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวมีหลายลักษณะที่แตกต่างกัน เนื่องจากภายใน เซลล์สิ่งมีชีวิตมียีน (gene) ซึ่งอยู่ในรูปสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA) เป็นสารพันธุกรรมที่ เป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะ และสามารถถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้ 5.5 ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม 5.6 ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด วัสดุ/อุปกรณ์ สื่อ และแหล่งเรียนรู้ วัสดุ/อุปกรณ์ 1. เนื้อเยื่อพืชจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง เช่น ใบอ่อน เมล็ด หนัก 50 กรัม 2. เครื่องปั่น 3. น้าเกลืออุ่น เตรียมจากการละลายเกลือแกง 2 ช้อนชา ลงในน้าอุ่น 250 มิลลิลิตร 4. น้ายาล้างจานชนิดใสและไม่มีสี 2 ช้อนชา 5. แก้วใสไม่มีสี หรือหลอดทดลอง 1 หลอด 6. กรวยกรอง 1 อัน 7. ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้ 8. แอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร (เตรียมโดยนาแอลกอฮอล์ 95% แช่ในตู้เย็น 30 นาที) สื่อ และแหล่งเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
  • 5. 5 2. ใบรายงานกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษา ลาปาง 3. แบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม 4. เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม ภาระงาน ภาระงานครู 1. เตรียมสื่อการเรียนการสอน 2. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน 3. ควบคุม ดูแล คอยให้ความช่วยเหลือแนะนานักเรียนขณะที่นักเรียนทาการทดลองและอภิปราย สรุปร่วมกันของนักเรียน 4. อธิบายเสริมความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการอภิปรายและสรุปผลการทดลอง ภาระงานนักเรียน 1. ศึกษาและทาการทดลองตามกิจกรรมที่ครูเตรียมไว้ให้ 2. อภิปรายและสรุปผลการทดลองในใบรายงานกิจกรรมที่ครูเตรียมไว้ให้ตามลาดับ 3. ทาแบบฝึกหัด การวัดและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ 1. ด้านความรู้ (K) - ตรวจผลงาน - ตรวจคาตอบในใบ รายงานกิจกรรม - ตรวจแบบฝึกหัด - ใบกิจกรรม เรื่อง การสกัดสาร พันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอจากเซลล์พืช - ใบรายงานกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืช - แบบฝึกหัด - ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. ด้านทักษะ กระบวนการ (P) - สังเกตขณะปฏิบัติ กิจกรรม - แบบประเมินทักษะ ในการปฏิบัติการ - แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทางานกลุ่ม - ระดับคุณภาพ ปานกลาง ผ่านเกณฑ์ - ระดับคุณภาพ ปานกลาง ผ่านเกณฑ์
  • 6. 6 สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ 3. ด้านจิตวิทยาศาสตร์ (A) - สังเกตขณะปฏิบัติ กิจกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - ระดับคุณภาพ (1) ผ่านเกณฑ์
  • 7. 7 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม 1. ขั้นการสร้างความสนใจ (Engagement) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 2. ขั้นการสารวจตรวจสอบ (Exploration) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 3. ขั้นการอธิบาย (Explanation) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 4. ขั้นการขยายความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ (Extension) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 5. ขั้นการประเมิน (Evaluation) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 6. ปัญหา/อุปสรรค (Problems/Obstacles) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข (Suggestions/Solutions) ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ.....................................................ผู้สอน (นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์) ............/............./.............
  • 8. 8 ใบกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง วัสดุอุปกรณ์ 1. เนื้อเยื้อพืชจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปางเช่น ใบอ่อน เมล็ด หนัก 50 กรัม 2. เครื่องปั่น 3. น้าเกลืออุ่น เตรียมจากการละลายเกลือแกง 2 ช้อนชา ลงในน้าอุ่น 250 มิลลิลิตร 4. น้ายาล้างจานชนิดใสและไม่มีสี 2 ช้อนชา 5. แก้วใสไม่มีสี หรือหลอดทดลอง 1 หลอด 6. กรวยกรอง 1 อัน 7. ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้ 8. แอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร (เตรียมโดยนาแอลกอฮอล์ 95% แช่ในตู้เย็น 30 นาที) วิธีทา 4 ขั้นตอนง่าย ๆ ในการสกัดดีเอ็นเอ ขั้นที่ 1. หั่นเนื้อเยื่อพืชที่ต้องการสกัดดีเอ็นเอเป็นชิ้นเล็ก ๆ ขั้นที่ 2. นาเนื้อเยื่อที่หั่นไว้50 กรัม และน้าเกลืออุ่น 250 มิลลิลิตรใส่ลงในเครื่องปั่น ใช้เวลาปั่น 5-10 วินาที (ไม่ต้องปั่น ให้ละเอียดจนเป็นเนื้อเดียวกัน) ขั้นที่ 3. เติมน้ายาล้างจาน 2 ช้อนชา ลงในของเหลวที่ปั่นได้ค่อย ๆ คน ให้เข้ากันและระวังอย่าให้มีฟอง จากนั้นกรองของเหลวด้วยกรวยกรอง
  • 9. 9 ขั้นที่ 4. นาของเหลวที่กรองได้10 มิลลิลิตรใส่ลงในหลอดแก้ว จากนั้นค่อย ๆ เติมแอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร ลงทางด้านข้าง ของหลอดแก้ว เราจะสังเกตเห็นแอลกอฮอล์แยกชั้น ลอยอยู่เหนือ ชั้นของเหลวที่กรองได้(ถ้าใช้แก้วใส ให้เพิ่มปริมาณของเหลวและ แอลกอฮอล์เย็นมากขึ้นให้เหมาะกับขนาดของแก้ว) ห้ามคนหรือเขย่าแก้ว รอประมาณ 2-3 นาที ระหว่างนี้ให้สังเกต บริเวณใกล้ลอยแยกระหว่างชั้นให้ดี ว่าเกิดอะไรขึ้น? 2-3 นาทีผ่านไป เราจะสังเกตเห็นกลุ่มเส้นไหม บาง ๆ หรือดีเอ็นเอค่อย ๆ ลอยขึ้นมาอยู่ในชั้น แอลกอฮอล์ด้านบนหลอดแก้ว เราอาจใช้ไม้เขี่ย กลุ่มดีเอ็นเอขึ้นมาสังเกตใกล้ๆ **ไชโย เราสกัดดีเอ็นเอสาเร็จแล้ว!!! ที่มาของข้อมูลและภาพ - The Gene School: DNA Extraction : http://library.thinkquest.org/19037/dna_extraction.html - Genetics Science Learning Center at the University of Utah : http://www.chm.bris.ac.uk/webprojects2002/anderson/dna_extraction.htm - DNA Extraction in Lab : http://nobel.scas.bcit.ca/resource/dna/station1.htm
  • 10. 10 ใบรายงานกิจกรรม เรื่อง การสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืชในวิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง ชื่อ...................................................นามสกุล......................................................เลขที่..................................... วันที่ทาการทดลอง........................................................................................................................................... สมมติฐานการทดลอง....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... วิธีการทดลอง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... บันทึกผลการทดลอง ชื่อพืช............................................................................................................................................................... ส่วนที่ใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ......................................................ปริมาณที่ใช้.................................................... บรรยายรูปร่างลักษณะ...................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... วาดภาพกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สังเกตเห็น
  • 11. 11 ชื่อพืช............................................................................................................................................................... ส่วนที่ใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ......................................................ปริมาณที่ใช้.................................................... บรรยายรูปร่างลักษณะ...................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... วาดภาพกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สังเกตเห็น ชื่อพืช............................................................................................................................................................... ส่วนที่ใช้ในการสกัดดีเอ็นเอ......................................................ปริมาณที่ใช้.................................................... บรรยายรูปร่างลักษณะ...................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... วาดภาพกลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สังเกตเห็น
  • 12. 12 สรุปผลการทดลอง กลุ่มก้อนดีเอ็นเอที่สกัดได้จากพืชแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
  • 13. 13 แบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. พืชต่างชนิดกันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน เพราะเหตุใด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตมีหน้าที่อย่างไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. จงอธิบายขั้นตอนการสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืช มาโดยละเอียด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ทาความรู้จักกับสารพันธุกรรม 1. พืชต่างชนิดกันมีรูปร่างไม่เหมือนกัน เพราะสารพันธุกรรมที่ เรียกว่า ดีเอ็นเอ 2. สารพันธุกรรม (Genetic) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลรหัสสาหรับการทางานของของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เอาไว้ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะตัวไม่เหมือนกับสิ่งมีชีวิตอื่น และสามารถ ถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตรุ่นต่อไปได้ 3. ขั้นตอนการสกัดสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอจากเซลล์พืช มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1. หั่นเนื้อเยื่อพืชที่ต้องการสกัดดีเอ็นเอเป็นชิ้นเล็ก ๆ ขั้นที่ 2. นาเนื้อเยื่อที่หั่นไว้ 50 กรัม และน้าเกลืออุ่น 250 มิลลิลิตรใส่ลงในเครื่องปั่น ใช้เวลาปั่น 5- 10 วินาที (ไม่ต้องปั่นให้ละเอียดจนเป็นเนื้อเดียวกัน) ขั้นที่ 3. เติมน้ายาล้างจาน 2 ช้อนชา ลงในของเหลวที่ปั่นได้ค่อย ๆ คนให้เข้ากันและระวังอย่าให้มี ฟอง จากนั้นกรองของเหลวด้วยกรวยกรอง ขั้นที่ 4. นาของเหลวที่กรองได้10 มิลลิลิตรใส่ลงในหลอดแก้ว จากนั้นค่อย ๆ เติมแอลกอฮอล์เย็น 10 มิลลิลิตร ลงทางด้านข้างของหลอดแก้ว เราจะสังเกตเห็นแอลกอฮอล์แยกชั้น ลอยอยู่เหนือชั้นของเหลว 2-3 นาทีผ่านไป เราจะสังเกตเห็นกลุ่มเส้นไหมบาง ๆ หรือดีเอ็นเอค่อย ๆ ลอยขึ้นมาอยู่ในชั้นแอลกอฮอล์ ด้านบนหลอดแก้ว เราอาจใช้ไม้เขี่ยกลุ่มดีเอ็นเอขึ้นมาสังเกตได้
  • 14. 14 แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303 วันที่ประเมิน...............เดือน......................................พ.ศ............... คาชี้แจง แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการนี้ใช้ประเมินทักษะในการปฏิบัติการของนักเรียน ซึ่งครูผู้สอน เป็นผู้ประเมิน กลุ่มที่ ประเด็นที่ประเมิน/คะแนนที่ได้ รวม (9 คะแนน) สรุป สร้างสมมติฐาน เรื่องรูปร่าง ลักษณะของ ดีเอ็นเอได้ อธิบายวิธีการ ในการสกัด ดีเอ็นเอได้ บรรยายรูปร่าง ลักษณะของ กลุ่มก้อน ดีเอ็นเอได้ ผ่าน ไม่ผ่าน 0 1 2 3 0 1 2 3 0 1 2 3 1…….. 2…….. 3…….. 4…….. 5…….. 6…….. 7…….. 8…….. สรุปผลการประเมิน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 7 - 9 ระดับคุณภาพ ดี แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 4 - 6 ระดับคุณภาพ ปานกลาง แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 0 - 3 ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์) ............/............./............
  • 15. 15 มาตราส่วนประเมินค่าในการประเมินทักษะในการปฏิบัติการ ประเด็นที่ ประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1. สร้างสมมติฐาน เรื่องรูปร่าง ลักษณะของ ดีเอ็นเอได้ ตั้งสมมติฐานได้ ถูกต้อง ชัดเจน ตั้งสมมติฐานได้ แต่ยังไม่ถูกต้อง และไม่ชัดเจน ไม่สามารถ ตั้งสมมติฐานได้ ต้องให้ความ ช่วยเหลือ ไม่สามารถ ตั้งสมมติฐานได้ ต้องให้ความ ช่วยเหลือ อย่างมาก 2. กาหนดชนิด ของพืชและ ส่วนที่นามา ใช้ในการสกัด ดีเอ็นเอ และ ปริมาณที่ใช้ได้ กาหนดชนิดของพืช และส่วนที่นามาใช้ ในการสกัดดีเอ็นเอ และปริมาณที่ใช้ได้ กาหนดชนิดของ พืชและส่วนที่นา มาใช้ในการสกัด ดีเอ็นเอได้แต่ ไม่สามารถบอก ปริมาณที่ใช้ได้ ไม่สามารถกาหนด ชนิดของพืชและ ส่วนที่นามาใช้ และปริมาณที่ นามาใช้ได้ต้องให้ ความช่วยเหลือ ไม่สามารถ กาหนดชนิดของ พืชและ ส่วนที่ นามาใช้และ ปริมาณที่นามา ใช้ได้ต้องให้ ความช่วยเหลือ อย่างมาก 2. สามารถสกัด ดีเอ็นเอได้ สามารถสกัดดีเอ็นเอ ได้สมบูรณ์ สามารถสกัด ดีเอ็นเอได้แต่ ยังไม่ครบถ้วน ไม่สามารถสกัด ดีเอ็นเอได้ ต้องให้ความ ช่วยเหลือ ไม่สามารถสกัด ดีเอ็นเอได้ ต้องให้ความ ช่วยเหลือ อย่างมาก 3. บรรยายรูปร่าง ลักษณะของ กลุ่มก้อน ดีเอ็นเอที่สกัด ได้ บรรยายรูปร่าง ลักษณะของกลุ่ม ก้อนดีเอ็นเอที่สกัด ได้ครบถ้วน บรรยายรูปร่าง ลักษณะของกลุ่ม ก้อนดีเอ็นเอที่สกัด ได้ไม่ครบถ้วน ไม่สามารถบรรยาย รูปร่าง ลักษณะ ของกลุ่มก้อน ดีเอ็นเอที่สกัดได้ ต้องให้ความ ช่วยเหลือ ไม่สามารถ บรรยายรูปร่าง ลักษณะของกลุ่ม ก้อนดีเอ็นเอที่ สกัดได้ต้องให้ ความช่วยเหลือ อย่างมาก
  • 16. 16 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303 วันที่สังเกต...............เดือน......................................พ.ศ............... คาชี้แจง แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มนี้ใช้ประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ซึ่ง ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน กลุ่มที่ ประเด็นที่ประเมิน/คะแนนที่ได้ รวม (20) สรุป คณะ ทางาน ความ รับผิดชอบ ต่อหน้าที่ ขั้นตอน การทางาน ความ ร่วมมือใน การทางาน เวลา ผ่าน ไม่ผ่าน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1……….. 2……….. 3……….. 4……….. 5……….. 6……….. 7……….. 8……….. สรุปผลการประเมิน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 15 - 20 ระดับคุณภาพ ดีมาก แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 11 - 15 ระดับคุณภาพ ดี แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 6 - 10 ระดับคุณภาพ ปานกลาง แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 1 - 5 ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์) ............/............./............
  • 17. 17 มาตราส่วนประเมินค่าในการประเมินผลการทางานเป็นกลุ่ม ประเด็น การประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. คณะทางาน มีประธาน เลขานุการ ผู้นา เสนอ ผู้ร่วมงาน ขาดองค์ประกอบ 1 อย่าง ขาดองค์ประกอบ 2 อย่าง ขาดองค์ประกอบ 2 อย่างขึ้นไป 2. ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ ทุกคนมีหน้าที่และ ความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ของตนเอง มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่ รับผิดชอบ 1 คน มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่ รับผิดชอบ 2 คน มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่ รับผิดชอบ 2 คน ขึ้นไป 3. ขั้นตอนการ ทางาน - คัดเลือกและ เตรียมข้อมูลได้ เหมาะสม - มีการวางแผน การทางาน - มีการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ - มีการปฏิบัติตาม แผนและพัฒนา งาน ขาด 1 ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน ขาด 2 ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน ขาดมากกว่า 2 ขั้นตอนขึ้นไป 4. ความร่วมมือ ในการทางาน ทุกคนมีส่วนร่วม และให้ความ ร่วมมืออย่างเต็มที่ 80% ของกลุ่มมี ส่วนร่วมและให้ ความร่วมมือ 60% ของกลุ่มมี ส่วนร่วมและให้ ความร่วมมือ 40% ของกลุ่มมี ส่วนร่วมและให้ ความร่วมมือ 5. เวลา เสร็จก่อนกาหนด และงานมีคุณภาพ เสร็จตามกาหนด และงานมีคุณภาพ เสร็จไม่ทันกาหนด แต่งานมีคุณภาพ เสร็จไม่ทันกาหนด และงานไม่มี คุณภาพ
  • 18. 18 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์ ชื่อ..................................................................................เลขที่...............ชั้น..................ชื่อกลุ่ม......................... คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินพิจารณาพฤติกรรมนักเรียนต่อไปนี้ แล้วให้ระดับคะแนน 0, 1, 2, 3 ที่ตรงกับการ ปฏิบัติของนักเรียนตามความเป็นจริง คุณลักษณะ พฤติกรรม/ลักษณะบ่งชี้ ระดับพฤติกรรม 3 2 1 0 1. ความสนใจใฝ่ รู้ 1.1 มีความสนใจและพอใจใคร่จะสืบเสาะแสวงหาความรู้ใน สถานการณ์และปัญหาใหม่อยู่เสมอ 1.2 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและเรื่องราวต่างๆ 1.3 ชอบทดลองค้นคว้า 1.4 ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น 2. ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นอดทน และเพียรพยายาม 2.1 ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย 2.2 ทางานที่ได้รับการมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกาหนด และ ตรงต่อเวลา 2.3 เว้นการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย 2.4 ทางานเต็มความสามารถ 2.5 ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว 2.6 มีความอดทนแม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้ เวลา 3. ความมีเหตุผล 3.1 ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลมาสนับสนุน อย่างเพียงพอ 3.2 พยายามอธิบายสิ่งต่างๆในแง่เหตุและผลไม่เชื่อโชคลาง หรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้ 3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล 3.4 ตรวจสอบความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผลของ แนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ 3.5 รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนจะลงข้อสรุปเรื่องราว ต่างๆ
  • 19. 19 คะแนนรวม…………….………………คะแนน คะแนนเฉลี่ย……..………….…………คะแนน สรุปผลการประเมิน….………….……..………. สรุปผลการประเมิน คะแนนเฉลี่ย 2.5 – 3.0 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3) คะแนนเฉลี่ย 1.5 – 2.4 ระดับคุณภาพ ดี (2) คะแนนเฉลี่ย 1.0 – 1.4 ระดับคุณภาพ ผ่าน (1) คะแนนเฉลี่ย 0 – 0.9 ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (0) ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนภษร จุ้ยอินทร์) ............/............./............
  • 20. 20 มาตราส่วนประเมินค่าในการประเมินผลพฤติกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความสนใจใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงถึงความอยากรู้อยากเห็น ชอบซักถาม ชอบริเริ่ม และสืบเสาะหาความรู้ใหม่ๆ รวมทั้งพยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบเมื่อเกิดปัญหาหรือ ข้อสงสัย พฤติกรรม/ ลักษณะบ่งชี้ ระดับคะแนน 3 2 1 0 1.1 มีความสนใจ และพอใจใคร่จะ สืบเสาะแสวงหา ความรู้ใน สถานการณ์ และปัญหาใหม่ มีความสนใจและพอใจ ใคร่จะสืบเสาะแสวงหา ความรู้ในสถานการณ์ และปัญหาใหม่เป็น ประจา มีความสนใจและพอใจ ใคร่จะสืบเสาะแสวงหา ความรู้ในสถานการณ์ และปัญหาใหม่ บ่อยครั้ง มีความสนใจและพอใจ ใคร่จะสืบเสาะแสวงหา ความรู้ในสถานการณ์ และปัญหาใหม่น้อย ครั้ง ไม่มีความสนใจและ พอใจใคร่จะสืบเสาะ แสวงหาความรู้ใน สถานการณ์และปัญหา ใหม่ 1.2 มีความ กระตือรือร้นต่อ กิจกรรมและ เรื่องราวต่างๆ มีความกระตือรือร้น ต่อกิจกรรมและ เรื่องราวต่างๆเป็น ประจา มีความกระตือรือร้น ต่อกิจกรรมและ เรื่องราวต่างๆ บ่อยครั้ง มีความกระตือรือร้น ต่อกิจกรรมและ เรื่องราวต่างๆน้อย ครั้ง ไม่มีความระตือรือ ร้นต่อกิจกรรมและ เรื่องราวต่างๆ 1.3ชอบทดลองค้นคว้า ชอบทดลองค้นคว้าเป็น ประจา ชอบทดลองค้นคว้า บ่อยครั้ง ชอบทดลองค้นคว้าน้อย ครั้ง ไม่ชอบทดลองค้นคว้า 1.4 ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้ เพิ่มขึ้น ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น เป็นประจา ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น บ่อยครั้ง ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น น้อยครั้ง ไม่ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้ เพิ่มขึ้น
  • 21. 21 2. ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นอดทน และเพียรพยายาม หมายถึง การยอมรับผลการกระทาของ ตนเองและมีความตั้งใจในการทางานให้ประสบผลสาเร็จ แม้ว่าจะต้องใช้เวลามาก หรือมีปัญหาอุปสรรค มาก พฤติกรรม/ ลักษณะบ่งชี้ ระดับคะแนน 3 2 1 0 2.1 ยอมรับผลการ กระทาของตนเอง ทั้งที่เป็นผลดีและ ผลเสีย ยอมรับผลการ กระทาของตนเองทั้ง ที่เป็นผลดีและผลเสีย เป็นประจา ยอมรับผลการ กระทาของตนเองทั้ง ที่เป็นผลดีและผลเสีย บ่อยครั้ง ยอมรับผลการ กระทาของตนเองทั้ง ที่เป็นผลดีและผลเสีย น้อยครั้ง ไม่ยอมรับผลการ กระทาของตนเองทั้ง ที่เป็นผลดีและผลเสีย 2.2 ทางานที่ได้รับ การมอบหมายให้ สมบูรณ์ตาม กาหนด และตรงต่อ เวลา ทางานที่ได้รับการ มอบหมายให้ สมบูรณ์ตามกาหนด และตรงต่อเวลาเป็น ประจา ทางานที่ได้รับการ มอบหมายให้ สมบูรณ์ตามกาหนด และตรงต่อเวลา บ่อยครั้ง ทางานที่ได้รับการ มอบหมายให้ สมบูรณ์ตามกาหนด และตรงต่อเวลาน้อย ครั้ง ไม่ทางานที่ได้รับการ มอบหมายให้ สมบูรณ์ตามกาหนด และตรงต่อเวลา 2.3 เว้นการกระทา ของตนเองทั้งที่เป็น ผลดีและผลเสีย เว้นการกระทาของ ตนเองทั้งที่เป็นผลดี และผลเสียเป็นประจา เว้นการกระทาของ ตนเองทั้งที่เป็นผลดี และผลเสียบ่อยครั้ง เว้นการกระทาของ ตนเองทั้งที่เป็นผลดี และผลเสียน้อยครั้ง ไม่ละเว้นการกระทา ของตนเองทั้งที่เป็น ผลดีและผลเสีย 2.4 ทางานเต็ม ความสามารถ ทางานเต็ม ความสามารถเป็น ประจาเป็นประจา ทางานเต็ม ความสามารถ บ่อยครั้ง ทางานเต็ม ความสามารถน้อย ครั้ง ไม่ทางานเต็ม ความสามารถ 2.5 ไม่ท้อถอยใน การทางาน เมื่อมี อุปสรรคหรือ ล้มเหลว ไม่ท้อถอยในการ ทางาน เมื่อมี อุปสรรคหรือ ล้มเหลวเป็นประจา ไม่ท้อถอยในการ ทางาน เมื่อมี อุปสรรคหรือ ล้มเหลวบ่อยครั้ง ไม่ท้อถอยในการ ทางาน เมื่อมี อุปสรรคหรือ ล้มเหลวน้อยครั้ง ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือ ล้มเหลว 2.6 มีความอดทน แม้การดาเนินการ แก้ปัญหาจะยุ่งยาก และใช้เวลา มีความอดทนแม้การ ดาเนินการแก้ปัญหา จะยุ่งยากและใช้เวลา เป็นประจา มีความอดทนแม้การ ดาเนินการแก้ปัญหา จะยุ่งยากและใช้เวลา บ่อยครั้ง มีความอดทนแม้การ ดาเนินการแก้ปัญหา จะยุ่งยากและใช้เวลา น้อยครั้ง ไม่มีความอดทนแม้ การดาเนินการ แก้ปัญหาจะยุ่งยาก และใช้เวลา
  • 22. 22 3. ความมีเหตุผล หมายถึง คุณลักษณะที่เชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นต้องมีสาเหตุไม่เชื่อโชคลาง เห็นคุณค่า ของการสืบหาความจริงก่อนที่จะยอมรับหรือปฏิบัติตาม พฤติกรรม/ ลักษณะบ่งชี้ ระดับคะแนน 3 2 1 0 3.1 ยอมรับใน คาอธิบายเมื่อมี หลักฐานหรือข้อมูล มาสนับสนุนอย่าง เพียงพอ ยอมรับในคาอธิบาย เมื่อมีหลักฐานหรือ ข้อมูลมาสนับสนุน อย่างเพียงพอเป็น ประจา ยอมรับในคาอธิบาย เมื่อมีหลักฐานหรือ ข้อมูลมาสนับสนุน อย่างเพียงพอ บ่อยครั้ง ยอมรับในคาอธิบาย เมื่อมีหลักฐานหรือ ข้อมูลมาสนับสนุน อย่างเพียงพอน้อยครั้ง ไม่ยอมรับใน คาอธิบายเมื่อมี หลักฐานหรือข้อมูล มาสนับสนุนอย่าง เพียงพอ 3.2 พยายามอธิบาย สิ่งต่างๆในแง่เหตุ และผลไม่เชื่อโชค ลางหรือคาทานายที่ ไม่สามารถอธิบาย ตามวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้ พยายามอธิบายสิ่ง ต่างๆในแง่เหตุและ ผลไม่เชื่อโชคลาง หรือคาทานายที่ไม่ สามารถอธิบายตาม วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้เป็น ประจา พยายามอธิบายสิ่ง ต่างๆในแง่เหตุและ ผลไม่เชื่อโชคลาง หรือคาทานายที่ไม่ สามารถอธิบายตาม วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้ บ่อยครั้ง พยายามอธิบายสิ่ง ต่างๆในแง่เหตุและ ผลไม่เชื่อโชคลาง หรือคาทานายที่ไม่ สามารถอธิบายตาม วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้น้อย ครั้ง ไม่พยายามอธิบายสิ่ง ต่างๆในแง่เหตุและ ผล หรือเชื่อโชคลาง หรือคาทานายที่ไม่ สามารถอธิบายตาม วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้ 3.3 อธิบายหรือ แสดงความคิดอย่าง มีเหตุผล อธิบายหรือแสดง ความคิดอย่างมี เหตุผลเป็นประจา อธิบายหรือแสดง ความคิดอย่างมี เหตุผลบ่อยครั้ง อธิบายหรือแสดง ความคิดอย่างมี เหตุผลน้อยครั้ง ไม่อธิบายหรือแสดง ความคิดอย่างมี เหตุผล 3.4 ตรวจสอบ ความถูกต้องหรือ ความสมเหตุสมผล ของแนวความคิด ต่างๆ กับแหล่ง ข้อมูลที่เชื่อถือได้ ตรวจสอบความถูก ต้องหรือความ สมเหตุสมผลของ แนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่ เชื่อถือได้เป็นประจา ตรวจสอบความถูก ต้องหรือความ สมเหตุสมผลของ แนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่ เชื่อถือได้บ่อยครั้ง ตรวจสอบความถูก ต้องหรือความ สมเหตุสมผลของ แนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่ เชื่อถือได้น้อยครั้ง ไม่ตรวจสอบความ ถูกต้องหรือความ สมเหตุสมผลของ แนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่ เชื่อถือได้ 3.5 รวบรวมข้อมูล อย่างเพียงพอก่อน จะลงข้อสรุป เรื่องราวต่างๆ รวบรวมข้อมูลอย่าง เพียงพอก่อนจะลง ข้อสรุปเรื่องราว ต่างๆ เป็นประจา รวบรวมข้อมูลอย่าง เพียงพอก่อนจะลง ข้อสรุปเรื่องราว ต่างๆบ่อยครั้ง รวบรวมข้อมูลอย่าง เพียงพอก่อนจะลง ข้อสรุปเรื่องราว ต่างๆน้อยครั้ง ไม่รวบรวมข้อมูล อย่างเพียงพอก่อนจะ ลงข้อสรุปเรื่องราว ต่างๆ
  • 23. 23 แบบบันทึกการตรวจใบกิจกรรม/แบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจบริการ รหัสวิชา 2000-1303 คะแนนเต็ม.................คะแนน เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนน ผลการ ประเมิน เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนน ผลการ ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน ผ่าน ไม่ ผ่าน