SlideShare a Scribd company logo
1 of 229
Download to read offline
บทที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง (Recognition and response)
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1
ครูผู้สอน
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
 พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
3
ระบบประสาท (nervous system)
ฮอร์โมน (hormone)
ระบบประสานงาน
(coordinating system)
 สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันเกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกาย และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
แตกต่างกัน
การรับรู้และการตอบสนอง
ระบบประสาท
4
 หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับ
ระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน โดยใช้เวลารวดเร็วและ
สิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่างช้าๆและกระทาต่อเนื่อง
เป็นเวลานาน
• ไวต่อสิ่งเร้า(stimulus)
• นากระแสประสาทได้
คุณสมบัติของเซลล์ประสาท
5
พารามีเซียม
6
 ไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง มีเส้นใยประสานงาน (co-
ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้ผิวเซลล์เชื่อมโยงระหว่าง
โคนซิเลียแต่ละเส้นทาให้เกิดการประสานงานกัน
ยูกลีนา
 มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถ
ทราบความเข้มแสงและทิศทางของแสงได้
7
ฟองน้า (P. Porifera)
 มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเเต่ฟองน้าไม่มีการประสานงาน
ระหว่างเซลล์
 มีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงาน
ระหว่างเซลล์ โดยจะตอบสนองต่อแรงกด และแรงสัมผัสได้
ซีเลนเทอเรต หรือ ไนดาเรีย
8
 ไฮดรายังไม่มีระบบประสาท แต่มีเส้นใยประสาท
เรียกว่า ร่างแหประสาท (nerve net)
 เมื่อกระตุ้นทุกส่วนร่างกายจะหดตัว
 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้ากว่าสัตว์ชั้นสูงมาก
และมีทิศทางที่ไม่แน่นอน
 ปากและเทนตาเคิล (tentacle) มีเส้นใยประสาทมาก
 พบที่ผนังลาไส้ในสัตว์ชั้นสูง ทาให้เกิด peristalsis
หนอนตัวแบน (P. Platyhelminthes)
 พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ส่วนหัว เรียกว่า ปม
ประสาทสมอง (cerebral ganglion) ทาหน้าที่เป็นสมอง
 ทางด้านล่างสมองมีเส้นประสาทแยกออกข้างลาตัวข้างละเส้น
เรียกว่า เส้นประสาททางด้านข้าง (lateral nerve cord) มี
เส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะเรียกว่า เส้นประสาทตามขวาง
(transverse nerve)
หนอนตัวกลม (P. Nematoda)
9
 มีปมประสาทรูปวงแหวน(nerve ring) อยู่รอบคอหอย
(circumpharyngeal brian)
 มีเส้นประสาททางด้านหลัง เรียกว่า dorsal nerve
cord และเส้นประสาททางด้านล่าง เรียกว่า ventral
nerve cord
มอลลัสก์ (P. Mollusca)  หอยกาบคู่ มีปมประสาท 3 คู่
1. ปมประสาทสมอง(cerebral ganglion) อยู่
ทางด้านข้างของปาก ควบคุมอวัยวะตอนบน
2. ปมประสาทที่อวัยวะภายใน(visceral
ganglion)อยู่ทางด้านท้ายควบคุมอวัยวะ
ภายใน เช่นระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ
3. ปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)อยู่ที่เท้า
ทาหน้าควบคุมการยืดตัวและหดตัวที่
กล้ามเนื้อเท้า
แอนเนลิด (P. Annelida)
10
 ไส้เดือนมีระบบประสาทประกอบด้วย
1. สมอง (brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปมประสาท
ซีรีบรัล (cerebral ganglion)
2. ปมประสาทใต้คอหอย (subpharyngeal ganglion) เกิด
จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอ
หอย (circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน
3. เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord) มี
เส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม
ประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3-5 คู่แยกออกไป
เลี้ยงอวัยวะต่างๆ
 ไส้เดือนมีเซลล์ที่ทาหน้าที่รับสัมผัสแสงเรียกว่า โฟโตรีเซปเตอร์
เซลล์ (photoreceptor cell)
 มีเซลล์ทาหน้าที่รับความรู้สึก (sensory cell) และดมกลิ่น
ด้วย
อาร์โทพอด (P. Arthropoda)
11
 แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนามากประกอบด้วย
1. สมอง(brain)เกิดจากปมประสาท 2 ปมมารวมกัน ไปยัง
optic nerve 1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่
2. ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal
ganglion)
3. เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)
 แมลงมีตาประกอบ (compound eye) รับภาพและแสงได้ดี
 อวัยวะรับเสียง (sound receptors) เช่น อวัยวะทิมพานัม
(tympanum organ)รับแรงสันสะเทือนได้ดี
 อวัยวะรับรู้สารเคมี(chemoreceptors) เช่น หนวด ปาก ขาเดิน
เอไคโนเดิร์ม (P. Echinodermata)
12
 ระบบประสาท วงแหวนประสาท(nerve ring)อยู่รอบปาก มี
แขนงประสาทแยกออกไปยัง arm เรียกว่า radial nerve
 มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา(eyespot) อยู่ที่บริเวณ
ปลายสุดของทุกแฉก
 เทนเทเคิล(tentacle) รับสัมผัสเคมี
 ประกอบด้วยสมอง เป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนง
แยกไปเลี้ยงตา (optic nerve) และไปเลี้ยงหนวด
 จากปมประสาท สมองมีเส้นประสาทล้อมรอบหลอดอาหาร ลง
มายังปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก
(thoracic ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7 ปม จากนั้นจะทอดยาว
เป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral nerve cord) และมีปม
ประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และระยางค์ต่าง ๆ
ระบบประสาทของกุ้ง
13
14
15
สรุป
-สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net
-ในดาวทะเล ระบบประสาทจะซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อม
กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกทีหนึ่ง
-สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท (ganglion) ที่บริเวณ
หัว เรียก cephalization
-พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้างและจะมีเส้นประสาท
เชื่อม เรียก transverse nerve
-ตั้งแต่พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้องเรียก ventral
nerve cord
-ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว
-ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord และไม่
มี segmental ganglia
กาเนิดระบบประสาท
16
• ระบบประสาทพัฒนามาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm)ทางด้านหลังของตัวอ่อน พัฒนาเปลี่ยน
สภาพเป็นหลอดประสาทหรือนิวรัลทิวบ์(neural tube)
17
18
19
20
การเจริญพัฒนาการของสมอง
โครงสร้างของสมอง
21
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
พัฒนาการสมองของสัตว์
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เป็นส่วน
ใหญ่ พบในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น จะมี
ขนาดใหญ่สุดในปลาและมีขนาดเล็กลงในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) จะมีพัฒนาการดีมากในสัตว์ที่
เคลื่อนที่ 3 มิติ เช่น ปลา นก รวมทั้งคนด้วย
22
เปรียบเทียบการพัฒนาสมองส่วนต่างๆของสัตว์
มีกระดูกสันหลังชนิดต่างๆ
23
24
-เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง
พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจาก
สารเคมี ความร้อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
(electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential
เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
การขนส่งสารของเซลล์ประสาท
25
มี 2 ระบบ ได้แก่
1. ระบบแอกโซพลาสมิกโฟลว์ (axoplasmic flow) สารที่ขนส่งจะไปทาหน้าที่ซ่อมแซมใย
ประสาทที่ถูกตัดหรือถูกทาลาย ซึ่งจะเป็นการขนส่งช้าๆ
2. ระบบแอกโซนัล ทรานสปอร์ต (axonal transport) ขนส่งสารที่ทาหน้าที่ปลายแอกซอน
และต้องใช้พลังงานด้วย
โครงสร้างของระบบประสาท
26
 เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
 เซลล์ค้าจุน (glial cells)
เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body)
2. ใยประสาท (cell process หรือ nerve fiber)
- เดนไดรต์ (dendrite)
- แอกซอน (axon)
27
Neuroglia :ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์ประสาททาหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มี
จานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า ไม่มีบทบาทในการส่งสัญญาณประสาท ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด ได้แก่
Supporting cell or glial cells or neuroglia
• Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆ
capillary ทาให้เกิด Blood-brain barrierเป็นเซลล์ที่
มีขนาดใหญ่ ติดกับเซลล์ประสาท หรือเส้นเลือดที่มา
เลี้ยงสมอง ทาหน้าที่ รับส่งสารให้แก่เซลล์ประสาท
• Oligodendrocyte(ในCNS): glial cell ที่ทาหน้าที่
สร้างเยื่อmyelin sheath หุ้มแอกซอนของเซลล์
ประสาทในสมอง
• Microglia มีขนาดเล็กสุดลักษณะเหมือนรากไม้อยู่รอบ
เซลล์ประสาท
• Ependymal cell เป็นเกลียเซลล์สั้นบุอยู่รอบๆใน
สมองและในไขสันหลัง
• Schwann cell (ในPNS)เป็นเกลียเซลล์ที่ทาหน้าที่
สร้างเยื่อไมอีลินชีทหุ้มแอกซอน(แต่ละปล้องคือ 1
เซลล์ชวันน์เซลล์)
28
29
30
เยื่อไมอีลิน
31
 เกิดจากชวันน์ เซลล์ไปห่อหุ้มแอกซอนโดยการโอบล้อมปลายแอกซอน คุณสมบัติเป็น
ชนวน การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเกิดที่ Node of Ranvier เท่านั้น
32
33
โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse)
เซลล์ประสาทประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ dendrite, cell body, axon และ synaptic terminal
34
35
Dendrite
-dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง cell
body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ)
-มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากและสามารถรับข้อมูลได้
มากๆ ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body
-มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่ dendrite รับข้อมูล
-คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณว่า
ถึง threshold หรือไม่
-ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูลโดยตรงทาง cell body
Cell body
-Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon
-ประกอบด้วย nucleus&organelle ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป
-ganglion (ganglia):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในบริเวณ
PNS เช่นที่ dorsal root ganglion (or sensory ganglion)
-Nucleus (nuclei):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในสมอง
(CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
36
-axon นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell
bodyไปยังเซลล์/neuron อื่น (ทาหน้าที่คล้ายสายเคเบิล)
นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง
axon ending หรือจาก axon ending cell body
-axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่เรียกว่า
axon hillox
-axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก dendrite
และก่อให้เกิด action potential (ถ้าสัญญาณที่รวบรวม
ได้ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action potential)
-Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน
Axon
37
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite
Axon Dendrite
1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์
2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine)
3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell
4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome
5.มี myelin 5.ไม่มี myelin
6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก
cell body
6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ
cell body
เซลล์ประสาทแบ่งตามจานวนแขนงที่แยกออกจากตัวเซลล์ แบ่งได้ 3 ชนิดคือ
38
 เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron)
- เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก
- พบที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง(dorsal root
ganglion)
- มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว
 เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
- มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง
- ความยาวของเดนไดรต์และแอกซอนใกล้เคียงกัน
- พบที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และเยื่อดมกลิ่นที่
จมูก
 เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron)
- มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็นแอกซอน
1 และเดนไดรต์หลายแขนง
- เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบหลายขั้ว ซึ่งมี
แอกซอนยาวเดนไดรต์สั้นทาหน้าที่นาคาสั่งไปยังอวัยวะ
ตอบสนอง
- พบที่สมองและไขสันหลัง
*เซลล์ประสาทขั้วเดียวและสองขั้วมักจะทาหน้าที่
เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)
39
dorsal root ganglion (or sensory ganglion)
40
เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่การทางาน แบ่งได้ 3 ชนิดคือ
41
 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
- มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัส เช่นหู ตา จมูก ผิวหนัง มี
แอกซอนต่ออยู่กับเซลล์ประสาทอื่น และนาความรู้สึกเข้าสู่
สมองและไขสันหลัง
 เซลล์ประสาทประสานงาน
(association neuron หรือ interneuron)
มีเดนไดรต์ต่อยู่กับแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
และมีแอกซอนต่อกับเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ ทา
หน้าที่เชื่อมโยงวงจรประสาท พบที่ไขสันหลัง
 เซลล์ประสาทสั่งการ(motor neuron)
มีเดนไดรต์ต่อยู่กับเซลล์ประสาทอื่นและมีแอกซอนต่อกับ
กล้ามเนื้อมัดต่างๆต่อมมีท่อหรือต่อมไร้ท่อ เซลล์ประสาทสั่ง
การเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบที่สมอง และไขสันหลัง
42
43
44
การลาเลียงกระแสประสาทในเส้นใยประสาท
โครงสร้างของเซลล์ประสาท การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
1.ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดใหญ่ 12 – 120 เมตร/วินาที
2. ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดเล็ก 3 – 15 เมตร/วินาที
3. ใยประสาทมีไม่ไมอีลินหุ้ม 0.5 – 2.3 เมตร/วินาที
แบบ 1 พบที่ เส้นประสาทนาความรู้สึกและสั่งการ
แบบ 2 พบที่ เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ
แบบ 3 พบที่ ระบบประสาทซิมพาเทติก และเส้นใยรับความรู้สึกเจ็บปวด ร้อนหนาว เข้าสู่ไขสันหลัง
ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท
 เยื่อไมอีลิน ถ้าเยื่อประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้มล้อมรอบกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้นประมาณ 10 เท่า
 ระยะห่างระหว่างโนด ออฟ แรนเวียร์ ถ้าโนด ออฟ แรนเวียร์ ห่างกันมากขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้น กระแสประสาทจะเคลื่อนที่
ได้เร็วขึ้นเพราะเหตุว่ามีความต้านทานต่าลง
Synapse
45
 หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาท (nerve impulse) ระหว่างเซลล์ประสาทด้วยกัน หรือ
เซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน
46
47
48
-synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่หลั่งสาร
neurotransmitter(สารสื่อประสาท)
-synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์เป้าหมาย(neuron/effector)
-เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell
-เซลล์เป้าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell)
Synaptic terminal
หน้าที่ของซิแนปส์
49
 กระแสประสาทเดินทางเป็ นทิศทางเดียวเท่านั้น ไม่ยุ่งเหยิงสับสน
 ทาหน้าที่ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจายกระแสประสาทออกทาให้คาสั่ง
นั้นแผ่กระจายกว้างขวางมากขึ้น
 ทาหน้าที่เป็ นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆมีทั้งเร่งการทางานหรือรั่งการทางาน ให้
มีการตอบสนองที่แน่นอนเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
ซิแนปส์มี 2 ประเภท
 ไซแนปส์ไฟฟ้า(electeical synapse) เป็ นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่มีขนาดเล็กมาก
กระแสประสาทสามารถผ่านข้ามไปได้โดยตรงโดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยสื่อใดๆ พบ
น้อยมาก เช่น บริเวณปลายกล้ามเนื้อเรียบ
 ไซแนปส์เคมี(chemical synapse) เป็ นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่กระแสประสาทไม่
สามารถผ่านได้ ต้องอาศัยสารสื่อประสาทไปกระตุ้นให้เกิดกระแสประสาท
50
51
Electrical synapse
-บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย
gap junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีก
เซลล์หนึ่งได้โดยตรง
Chemical synapse
1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx
2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์
3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับตัวรับที่ postsynatic membrane
4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด depolarization
สารสื่อประสาท
(neurotransmitter)
สารสื่อประสาท ตาแหน่งที่สร้าง
Acetylcholine CNS,PNS
สร้างจากปลายแอกซอนทั่วไป
Norepinephrine CNS,PNS
Dopamine CNS,PNS
Serotonin CNS
52
53
การค้นพบสารสื่อประสาท
54
 ออทโต ลอวิ (Otto Loewi ) นักวิทยาศาสตร์ชาว
ออสเตรเลียทาการทดลองโดยศึกษาจากหัวใจกบพบว่า
เมื่อกระตุ้นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 จะทาให้เกิดการ
ปล่อยสารบางชนิดออกมายับยั้งการทางานของหัวใจ
เช่นเดียวกับการกระตุ้น ใยประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ
นั้น โดยมีการหลั่งสารจากปลายประสาทเพื่อกระตุ้นให้
กล้ามเนื้อหดตัว สารนี้เรียกว่า สารสื่อประสาท
(neurotransmitter) ต่อมามีการศึกษาพบว่า ที่
บริเวณปลายแอกซอนจะมีปริมาณสารดังกล่าวใน
ปริมาณที่สูงมาก สารนี้จะทาหน้าที่เป็นตัวกลางถ่ายทอด
กระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
55
ชนิดของสารสื่อประสาท ในคนเรามีมากกว่า 100 ชนิด ตัวอย่างเช่น
56
สารสื่อประสาท แหล่งกาเนิด ผลการทางาน หมายเหตุ
1. Acetylcholine CNS/รอยเชื่อมต่อ
กล้ามเนื้อ/ปม
ประสาทอัตโนวัติ
กระตุ้นสมอง(จา,เรียนรู้)/กระตุ้นการ
ทางานกล้ามเนื้อลายและเรียบ/ยับยั้งการ
ทางานกล้ามเนื้อหัวใจ
หากมีน้อยส่งผลด้านความจา
สมาธิสั้น และเป็นอัลไซเมอร์
ได้
2. Epinephrine
Norepinephirne
CNS/Symphathetic กระตุ้นหรือยับยั้งการทางานของANS เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อม
หมวกไต
3. Endorphin Brain ลดความรู้สึกเจ็บปวด เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อใต้
สมอง
4. Dopamine CNS ควบคุมอารมณ์ ความคิด การเคลื่อนไหว
ร่างกาย
ถ้าสมองขาดจะเกิดโรคพาร์
กินสัน/ฮอร์โมนจาก
hypothalamus
5. Histamine สมอง การหลั่งกรดในกระเพาะ/การหดตัว
กล้ามเนื้อเรียบ/กระตุ้นหัวใจ
เป็นสารภูมิคุ้มกัน (ภูมิแพ้)
6. Serotonin CNS ผลต่อพฤติกรรมสัตว์ ควบคุมความโกรธ/
ก้าวร้าว
เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
7. GABA สมอง ยับยั้งการส่งกระแสประสาทข้ามเซลล์ ทา
ให้เกิดสมดุลในสมอง
-
57
58
59
60
สารสื่อประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติที่สาคัญได้แก่ acetylcholine (ACh) และ
noradrenaline (norepinephrine, NE) ซึ่งเส้นประสาทที่มี ACh เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า
เส้นประสาท cholinergic และเส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท
adrenergic
การทางานของสารสื่อประสาท
 เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยมาจากแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนป์ไปยังเดนไดรต์ของเซลล์
ประสาทหลังไซแนป์ จะมีการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาท
Acetylcholine
Enzyme cholinesterase
Acetic acid + Choline
61
 เซลล์ประสาทที่ปล่อยสารสื่อประสาทแอซีทิลโคลินออกมาที่ปลายแอกซอน เรียกว่า คอลิเนอจิก
นิวรอน(cholinergic neuron)
 สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการทางานของระบบประสาท คือ แอซิทิลโคลิน เอพิเนฟริน
นอร์เอพิเนฟริน โดปามีน เซโรโทนิน แอล-กลูทาเมต แอล-แอสพาเตต
 สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่ยับยั้งการทางานของระบบประสาท คือ GABA ไกลซีน และอะลานีน
สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ซิแนปส์
 สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาททาให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว
เกิดอาการอัมพาต
 ยาระงับประสาท ทาให้สารสื่อประสาทปล่อยออกมาน้อย อันมีผลทาให้กระแสประสาทส่งไปยังสมอง
น้อยจึงเกิดอาการสงบ ไม่วิตก
 สารนิโคติน คาแฟอีน แอมเฟตามีน จะไปกระตุ้นให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทา
ให้เกิดอาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
 ยาฆ่าแมลงบางชนิด จะไปยับยั้งการทางานของเอมไซม์ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท
สรุป : สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาท
62
 สารพิษจากแบคทีเรีย : อาหารเป็นพิษ (boltulism) ยับยั้งการหลั่ง Ach กล้ามเนื้อไม่ทางาน เช่น
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
 ยาระงับประสาท : สารสื่อประสาทหลั่งออกมาน้อย กระแสประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลงทาให้มี
อาการสงบไม่วิตกกังวล
 นิโคติน คาเฟอิน แอมเฟตามีน : กระตุ้นให้ axon หลั่งสารสื่อประสาทออกมามาก ทาให้เกิดการ
ตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
 ยาชา : บางชนิดจะไปจับกับ receptor ของ Na-channel ทาให้ Na ion ไม่สามารถผ่านเข้าสู่เซลล์ได้
บางชนิดมีผลทาให้ระดับ threshold เพิ่มขึ้น
 ยานอนหลับ : จะลดการทางานของสมองและเส้นประสาท ห้ามการส่งผ่านกระแสประสาทข้าม
ไซแนปส์ในทาลามัส
 ยาสลบ : กดการทางานของ CNS ด้วยการเพิ่มค่า threshold การส่งสัญญาณประสาท ทาให้หมดสติ
ไม่รับรู้ความรู้สึก กดศูนย์ควบคุมการหายใจ การบีบตัวของหัวใจ เป็นต้น
 ยาฆ่าแมลงบางชนิด : ยับยั้งเอนไซม์สลายสารสื่อประสาท ทาให้เกิดอาการชักกระตุกและเสียชีวิตได้
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทตามลาดับไม่มีการย้อนกลับ
63
แอกซอน ซิแนปส์แคลฟต์ เดนไดรต์
ตัวเซลล์ประสาทแอกซอนซิแนปส์แคลฟต์
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในเซลล์ประสาท
พบว่าไมอีลินชีทมีสมบัติฉนวนไฟฟ้ากั้นประจุไฟฟ้าได้
ทาให้ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผิวนอกและผิวด้านใน
แตกต่างกันจึงทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ประมาณ
60-80 mv การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจึงเป็นการ
กระโดด (saltatory conduction)ระหว่างโนดออฟ
เรนเวียร์ที่อยู่ถัดไป
64
65
-membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์
เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอกเซลล์
(Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง
-100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบ
เมื่อเทียบกับนอกเซลล์)
-สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ
voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้
micromanipulator วัด
-membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง
ไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential จะมีค่าเป็นลบ -
65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้นเรียกว่า action potential
จะมีค่าเป็นบวก +65 มิลลิโวลต์
การศึกษาการเกิดกระแสประสาท
66
67
68
69
Action potential
-action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อ
ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential
-เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none
threshold potential
 หมายถึง ระดับของการกระตุ้นที่สามารถทาให้เกิดกระแสประสาทในเซลล์ประสาท ความแรง
ของการกระตุ้นที่สูงกว่าระดับเทรสโฮลต์ มิได้ทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ได้เร็วแต่อย่างใด
all-or-none rule
• หมายถึง ถ้ากระตุ้นแรงเพียงพอ ก็จะเกิดการนากระแสประสาทไปโดยตลอด แต่ถ้าไม่แรงถึง
ระดับขีดเริ่มก็จะไม่มีการนากระแสประสาทเกิดขึ้นเลย
70
71
72
แผนภูมิวงจรระยะการทางานของเซลล์ประสาท
Hyperpolarization
DepolarizationRepolarization
การทางานของเซลล์ประสาท
 มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายใน
ออกสู่ภายนอก แต่อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน
 มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียม
จากภายในออกสู่ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
Resting stage
73
Polarization
• มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายในออกสู่ภายนอก แต่
อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน
• มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ภายนอก
และโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
Depolarization
• ช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามาภายในเซลล์มากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุที่ผิว
ด้านนอกเป็นลบ ประจุด้านในเป็นบวก
• การเปลี่ยนแปลงของประจุที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นผลทาให้เกิดแอกชันโพเทลเชียล หรือ กระแสประสาทขึ้นกระแส
ประสาทส่งไปด้วยความเร็วไม่เกิน 1,000 ครั้ง/วินาที
Repolarization
• มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายในออกสู่ภายนอก ที่เยื่อหุ้มเซลล์ด้านนอก
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้า ทาให้ภายนอกเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นประจุบวกและ
ภายในเซลล์เปลี่ยนเป็นประจุลบ
74
75
แผนภูมิการทางานของกระแสประสาท
76
77
78
ระยะคืนกลับสู่ระยะพัก
• มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-
potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่
ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP
แผนภาพสรุป
79
การกาเนิดระบบประสาท
80
 ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์(neural tube)
ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm)ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอดยาวมีการ
เจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้ม
เดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง(meninges)ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายและเป็นทางให้อาหารแก่สมองและ
ไขสันหลัง
ระบบประสาทแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous
system; CNS): สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่
รวบรวมและแปลผลข้อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous
system; PNS): เส้นประสาทสมอง(cranial
nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และ
ปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณ
ประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
โครงสร้างและการทางานของเซลล์ประสาท
81
Cranial nerves Spinal nerves
เยื่อหุ้ม (meninges) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
82
 ชั้นนอก (dura mater) หนาและเหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกันอันตรายและกระทบกระเทือน
ให้แก่สมองและไขสันหลัง
 ชั้นกลาง (arachniod mater) เป็นเยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้นอกกับชั้นใน
 ชั้นใน (pia mater) เป็นชั้นที่อยู่ติดกับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มากนา
อาการและออกซิเจนมาให้สมอง
ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervous system)
83 Meningioma เนื้องอกของเยื่อหุ้มสมอง
84
85
โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
1. ซีรีบัล(cerebrum)
* frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe
2. ทาลามัส(thalamus)
3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus)
4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb)
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
1.ออฟติก โลป(optic lope)
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) 2.medulla ablongata 3. pons
สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
86
1. cerebrum
- เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ - เป็นศูนย์กลางการรับรู้
- ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย - ควบคุมการออกเสียงของคน
- ควบคุมเกี่ยวกับอารมณ์ - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
- ควบคุมทักษะ - เกี่ยวกับการต่อสู้
- ควบคุมพฤติกรรมทางสังคม
 frontal lobe เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ
 temporal lobe ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด
เข้าใจคาพูดและการอ่าน
 parietal lope การรู้สึกตัว รับรส/ความรู้สึก
 occipital lobe การมองเห็น
Frontal lobe
87
 Prefrontal area : ศูนย์ความฉลาดระดับสูง (higher intellectual process)
 Primary motor area : ศูนย์ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย (motor area) ,
ควบคุมการเคลื่อนไหว
 Premotor area : วางแผนการเคลื่อนไหว
 Motor speech (Broca’s) area : ศูนย์การวางแผนการพูดให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
Temporal lobe
 Primary auditory area : ศูนย์กลางการได้ยิน แยกความสูงต่าของเสียง และการแปล
ความหมายของเสียงอย่างง่าย
 Auditory association area : ศูนย์กลางการแปลความหมายการได้ยินอย่างซับซ้อน
(รู้ว่าเสียงใครหรืออะไร)
 Sensory speech (Wernicke’s) area : ศูนย์กลางเข้าใจภาษา (language
comprehension)
Parietal lobe
88
 Primary somatosensory area : ศูนย์รับความรู้สึกระดับแรก = primary
sensory (ร้อน หนาว สัมผัส first pain)
 Somatosensory association area : นาข้อมูลจาก somatosensory มาแปล
ความหมายเป็นรูปร่าง/ขนาด/ลักษณะผิววัตถุ
 Primary taste area : ศูนย์รับการรับรสที่มาจากลิ้น
 General interpretation area : บริเวณติดต่อจาก 3 ระบบ คือ สัมผัส ตา หู เพื่อใช้
สาหรับแปลข้อมูลที่ซับซ้อน
Occipital lobe
 Primary visual area : รับข้อมูลจากเรตินามาสร้างให้เกิดภาพในสมอง
 Visual association area : แปลผลข้อมูลภาพที่ได้ รวมภาพที่เห็นเข้ากับประสบการณ์
ด้านความรู้สึก
89
90
91
92
Limbic system (CNS: forebrain/prosencephalon)
93
 Amygdala และ hippocampus : ควบคุมพฤติกรรมทางอารมณ์ (ก้าวร้าว/
กล้า/สับสน/กลัว)
 Amygdala
 ตาแหน่ง : เป็นส่วนที่ผิวด้านในของ cerebral cortex ด้าน temporal lobe
 หน้าที่ : ร่วมกับ olfactory bulb และ temporal lobe ในการรับกลิ่น ,ร่วมกับ
โครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ
 Hippocampus
 ตาแหน่ง : อยู่บริเวณผิวด้านในของ cerebral cortex มีรูปร่างคล้ายเขาแกะและอยู่
ใต้ต่อม amygdala
 หน้าที่ : เกี่ยวกับความจาทั้งระยะสั้น (recent memory) และระยะยาว (long-
term memory) ,ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบต่อมไร้ท่อและระบบ
ประสาทอัตโนมัติ
94
95
96
2. ทาลามัส(thalamus)
- ทาหน้าที่เป็ นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง จึงอาจเรียกส่วนนี้ว่า
เป็ นสถานีถ่ายทอดที่สาคัญของสมอง
- ทาหน้าที่เป็ นศูนย์ควบคุมอารมณ์และการตื่น
3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus)
- ควบคุมอุณภูมิของร่างกาย การเต้นหัวใจ ความดันเลือด การนอนการหลับ ความหิว ความอิ่ม ความรู้สึกทาง
เพศและสร้างฮอร์โมน
- เป็ นศูนย์แห่งความสุขและใน mammal : biological clock/circadian rhythms
4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb)
- ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
- ในพวกปลาจะเจริญดีมากต่างจากพวกไพรเมต(primate)
97
98
• สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon)
ออฟติก โลป(optic lope) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเจริญพัฒนามากในสัตว์พวกปลา นกและลดน้อยลง
ในสัตว์ชั้นสูง (การเคลื่อนไหวของลูกตาและควบคุมการปิด-เปิดของม่านตา)
• สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon)
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆให้เป็นไปอย่างสละสลวย ควบคุมการทรงตัว
2.เมดุลา ออฟลองกาตา(medulla ablongata) ทาหน้าที่เกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนวัติ ได้แก่ควบคุมอัตราการเต้น
ของหัวใจ ควบคุมการหายใจ ความดันเลือด การกลืนการจาม การอาเจียน
3. พอนส์(pons) ทาหน้าที่ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลายและการเคลื่อนไหวของใบหน้าควบคุมการหายใจ เป็น
ทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างซีรีบรัมกับซีรีเบลลัมและระหว่างซีรีเบลลัมกับไขสันหลัง
99
Brainstem (ก้านสมอง)
- ตาแหน่ง = midbrain + pons + medulla oblongata
- หน้าที่ = ระบบ reticular formation / Ascending Reticular Activating System
(ARAS)
ARAS = ควบคุมระดับความรู้สึกตัว (level of consciousness) / หลับตื่น / รู้ตัว / ฝัน 
[full awake  coma]
ถ้าก้านสมองถูกทาลาย = เสียชีวิตในทางการแพทย์ ยังสามารถบริจาคอวัยวะเพื่อูู้อื่นด้้
100
เส้นประสาทสมอง (cranial nerve)
เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับความรู้สึก(sensory nerve)ทำหน้ำที่ รับกระแสควำมรู้สึกจำกหน่วย
รับควำมรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (moter nerve) ทำหน้ำที่ นำกระแสคำสั่งจำกสมองไปยังหน่วย
ปฏิบัติงำน
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) ทำหน้ำที่รับกระแสควำมรู้สึกจำกหน่วยรับ
ควำมรู้สึก ไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจำกสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงำน
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) คนมี 12 คู่
103
104
105
106
สรุป
107
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ
ความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่
1 , 2 , 8
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นา
คาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่
3 , 4 , 6 , 11 , 12
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม มี
4 คู่ ได้แก่
5 , 7 , 9 , 10
ควรเข้าใจเพิ่มเติม
108
 Olfactory bulb : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1
 Occipital lobe (cerebral cortex) : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2
 Mid brain : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 และ 4
 Pons : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 ถึง 7
 Medulla oblongata : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 ถึง 12
109
โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease)
110
 เป็นหนึ่งในโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อ AloisAlzheimer ในปี
พ.ศ. 2499 ผู้ ป่ วยโรคนี้จะมีอาการสาคัญ คือ ความจาเสื่อม หลงลืม มีพฤติกรรมและนิสัยเปลี่ยนไป อาการจะดาเนินไปอย่าง
ช้าๆ แต่ค่อยๆรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดจะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และเสีย ชีวิตในที่สุด ไม่มีวิธีป้องกันหรือวิธีสาหรับรักษาให้
หายได้
 โรคอัลไซเมอร์จะพบในผู้สูงอายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบอัตราการเป็นโรคมากขึ้น โดยในช่วงอายุ 65-69 ปี พบอุบัติการณ์การ
เกิดผู้ป่ วยรายใหม่ประมาณ 3 คนต่อพันคนต่อปี แต่หากเป็นช่วงอายุ 85-89 ปี จะพบสูงถึง 40 คนต่อพันคนต่อปี พบได้ในทุก
เชื้อชาติเพศหญิงพบมากกว่าเพศชายเล็กน้อยอาจเนื่องจากเพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่าในประเทศไทยมีผู้ป่ วยโรคนี้ประมาณ
2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า60 ปี และจะพบเพิ่มขึ้น 2 เท่าทุก 5 ปีหลังอายุ 60 ปี
 ผู้ป่ วยประมาณ 7% มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม และสามารถถ่ายทอดสู่ลูกหลานได้ ตาแหน่งความผิดปกติบนโครโมโซมที่พบ
ชัดเจนแล้วว่าทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 21, 14, 1, และ 19 ผู้ที่มีความผิดปกติของพันธุกรรมเหล่านี้จะป่ วย
เป็นโรคอัลไซเมอร์ที่อายุน้อยกว่าคนที่ไม่ได้มีความผิดปกติทางพันธุกรรม นอกจากนี้พบว่าในผู้ป่ วยโรคกลุ่มอาการ
ดาวน์ (Down’ssyndrome) ซึ่งมีความผิดปกติคือมีสารพันธุกรรมของโครโมโซมแท่งที่ 21 เกินมา หากมีชีวิตอยู่เกิน 40 ปี จะ
ป่ วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ในที่สุด
 ผู้ป่ วยส่วนใหญ่ที่เหลือไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน แต่พบปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ดังนี้ คือ อายุที่มากขึ้น มีประวัติ
คนในครอบครัวเป็นโรคนี้ เคยประสบอุบัติเหตุที่สมอง หรือสมองได้รับบาดเจ็บ เป็นโรคอ้วน เป็นโรคเบาหวาน (เพิ่มความ
เสี่ยงขึ้นประมาณ 3 เท่า) เป็นโรคความดันโลหิตสูง และเป็นโรคไขมันในเลือดสูง แต่ระดับการศึกษาและระดับสติ ปัญญาไม่มี
ผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรค
โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease)
111
 นอกจากนี้มีการศึกษาพบว่าสารเคมีในธรรมชาติบางตัว เช่น อะลูมิเนียม ปรอท รวมทั้งไวรัสบางชนิด อาจเป็นสาเหตุของ
โรคนี้ แต่หลักฐานก็ยังไม่ชัดเจน
 ส่วนปัจจัยที่ช่วยลดโอกาสการเกิดโรคนี้ลงได้ ได้แก่ การใช้ยาต้านการอักเสบในกลุ่มเอนเสดส์ (Non-steroidalanti-
inflammatorydrugs, NSAIDs)การใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในหญิงวัยหมดประจาเดือน การกินผักและผลไม้
เป็นประจา การดื่มไวน์แดงในปริมาณที่เหมาะสม การออกกาลังกายสม่าเสมอการใช้สมองฝึกคิด ฝึกเรียนรู้สิ่งใหม่ๆเป็น
ประจา
 อนึ่ง ยาทั้งสองชนิดที่กล่าวถึง ไม่ควรซื้อกินเองเพราะมีผลข้างเคียงสูง เช่น เอนเสดส์อาจก่อให้เกิดแผลในกระเพาะ
อาหาร (โรคแผลเปบติค) และเอสโตรเจน เพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม และภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดดา
112
113
โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease)
114
 การรักษาด้วยยาแบ่งเป็น
 การรักษาอาการความจาเสื่อม ปัจจุบันมียาอยู่ 4 ชนิดที่ได้รับการรับรองจากคณะ กรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
ในการนามาใช้กับผู้ป่ วยโรคอัลไซเมอร์ คือ Donezpezil , Rivastigmin,Galantamine, และ Memantine มีการศึกษาพบว่า
การใช้สารสกัดจากใบแปะก๊วย (Ginkgo biloba) ช่วยบรร เทาอาการของผู้ป่ วยได้ แต่ก็ยังไม่มีการศึกษายืนยันชัดเจน บาง
การศึกษาพบว่าการให้วิตามินอีเสริมในขนาดสูงจะช่วยชะลอการเสียชีวิตได้ แต่ก็อาจมีผลข้างเคียงต่อระบบหัวใจและ
หลอดเลือดได้
 การรักษาอารมณ์และพฤติกรรมที่รุนแรง รวมทั้งอาการประสาทหลอน โดยการใช้ยารักษาโรคจิตมารักษาตามอาการที่
ปรากฏ
 การรักษาทางจิตสังคม ได้แก่
 การรักษาที่มุ่งเน้นการกระตุ้นสมอง เช่น ศิลปะบาบัด ดนตรีบาบัด การบาบัดโดยอาศัยสัตว์เลี้ยง
 การบาบัดด้วยการราลึกถึงเรื่องราวในอดีต เช่น การรวมกลุ่มทากิจกรรมแลก เปลี่ยนประสบการณ์ในอดีต การใช้ภาพถ่าย
สิ่งของเครื่องใช้ในบ้าน ดนตรี ที่ผู้ป่ วยคุ้นเคยในอดีตมาช่วยฟื้นความทรงจา
 การให้เข้าไปอยู่ในห้องที่เรียกว่าSnoezelen room ซึ่งเป็นห้องที่ออกแบบให้มีสภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะกับวิธีการ
กระตุ้นการรับรู้และความรู้สึกที่หลากหลาย ที่เรียกว่า Multisensory integration อันได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การได้
กลิ่น การรับสัมผัส และการเคลื่อนไหว
 การให้การดูแลผู้ป่ วย เป็นสิ่งสาคัญที่สุด ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจะต้องเข้าใจอาการของโรค ทาใจ ยอมรับ อดทน ไม่ทอดทิ้งผู้ป่ วยไว้คน
เดียว และเข้าใจการดาเนินของโรคว่า ผู้ป่ วยต้องอาศัยความช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานมากขึ้นเรื่อยๆ
115
 เป็ นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็ นอันดับที่ 2 รองจากโรคอัลไซ
เมอร์ สถิติผู้ป่ วยเป็ นโรคพาร์กินสันทั่วโลกอยู่ที่ประมาณร้อยละ 1 ในผู้ที่อายุเกิน 65 ปี สาหรับใน
ประเทศไทยมีการเก็บรวบรวมสถิติการเกิดโรค จากสภากาชาดไทยพบว่าอุบัติการณ์การเกิดโรคพาร์กิน
สันอยู่ที่ 425 คน ต่อประชากร 100,000 คน ซึ่งพบมากในประชากรแถบภาคกลางของประเทศ คน
ไทยสมัยโบราณรู้จักโรคพาร์กินสันมานานแล้วในนามของ ‘โรคสันนิบาตลูกนก’ แต่ก็ไม่ได้มีการบันทึกไว้
อย่างเป็ นทางการ ปัจจุบันคนไทยตื่นตัวเรื่องนี้มากขึ้น ผู้ป่ วยจึงได้มาพบแพทย์เร็วขึ้นทาให้ได้รับการดูแล
แต่เนิ่น ๆ
 ผู้ป่ วยมีอาการที่พบได้บ่อย ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวช้า อาการสั่นของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในท่าพัก
แต่ดีขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหว และอาการเกร็ง ซึ่งสัมพันธ์กับเซลล์สมองที่ถูกทาลายไปแล้วอย่างน้อยร้อย
ละ 60 ความผิดปกติที่เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวเนื่องจากโรคพาร์กินสันเป็ นผลจากการตายของเซลล์
สมองส่วนก้านสมองส่วนกลาง (Midbrain) ในส่วนสับสแตนเชียไนกราซึ่งมีผลทาให้สารสื่อประสาท
โดพามีนซึ่งควบคุมการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องของร่างกายลดลง
 อาการโดยทั่วไป : สั่น การเคลื่อนไหวช้า กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง การทรงตัวไม่ดี เสียงค่อยและเบาลง
สีหน้าไร้อารมณ์ หลังค่อม ตัวงุ้มลง ความสามารถในการได้กลิ่นลดลง ท้องผูก ตะโกนร้อง หรือมีการ
ขยับแขนขาอย่างรุนแรงในขณะหลับ เขียนตัวหนังสือเล็กลง
โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคพาร์กินสัน (Parkinson's disease)
116
117
118
1. รักษาด้วยยา ซึ่งแม้ว่ายาจะไม่สามารถทาให้เซลล์สมองที่ตายไปแล้วฟื้นตัวหรือกลับมางอกทดแทนเซลล์
เดิมได้ แต่ก็จะทาให้สารเคมีโดปามีนในสมองมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกายได้ สาหรับยาที่ใช้ใน
ปัจจุบัน คือ ยากลุ่ม LEVODOPA และยากลุ่ม DOPAMINE AGONIST เป็นหลัก (การใช้ยาแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับ
การวินิจฉัยจากแพทย์ ตามความเหมาะสม)
2. ทากายภาพบาบัด จุดมุ่งหมายของการรักษาก็คือ ให้ผู้ป่ วยกลับคืนสู่สภาพชีวิตที่ใกล้เคียงคนปกติที่สุด
สามารถเข้าสังคมได้อย่างดี มีความสุขทั้งกายและใจ ซึ่งมีหลักวิธีปฏิบัติง่าย ๆ คือ ฝึกการเดินให้ค่อย ๆ ก้าวขาแต่
พอดี โดยเอาส้นเท้าลงเต็มฝ่ าเท้า และแกว่งแขนไปด้วยขณะเดินเพื่อช่วยในการทรงตัวดี นอกจากนี้ควรหมั่นจัด
ท่าทางในอิริยาบถต่าง ๆ ให้ถูกสุขลักษณะ รองเท้าที่ใช้ควรเป็นแบบส้นเตี้ย และพื้นต้องไม่ทามาจากยาง หรือวัสดุที่
เหนียวติดพื้นง่าย /เมื่อถึงเวลานอน ไม่ควรให้นอนเตียงที่สูงเกินไป เวลาจะขึ้นเตียงต้องค่อย ๆ เอนตัวลงนอนตะแคง
ข้างโดยใช้ศอกยันก่อนยกเท้าขึ้นเตียง /ฝึกการพูด โดยญาติจะต้องให้ความเข้าอกเข้าใจค่อย ๆ ฝึกผู้ป่ วย และควรทา
ในสถานที่ที่เงียบสงบ
3. การผ่าตัด โดยมากจะได้ผลดีในผู้ป่ วยที่มีอายุน้อย และมีอาการไม่มากนัก หรือในผู้ที่มีอาการแทรกซ้อน
จากยาที่ใช้มาเป็นระยะเวลานาน ๆ เช่น อาการสั่นที่รุนแรง หรือมีการเคลื่อนไหวแขน ขา มากผิดปกติจากยา ปัจจุบัน
มีการใช้วิธีกระตุ้นไฟฟ้าที่สมองส่วนลึกโดยผ่าตัดฝังไว้ในร่างกาย พบว่ามีผลดี แต่ค่าใช้จ่ายสูงมาก ผู้ป่ วยโรคพาร์กิน
สัน จาเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างในการพัฒนาฟื้นฟูด้านร่างกาย รวมถึงจิตใจ ดังนั้นหากท่านมี
คนใกล้ชิดที่เป็นโรคชนิดนี้ จึงควรรีบนามาพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยโรคอันจะนาไปสู่การรักษาที่ถูกต้องและ
เหมาะสมต่อไป
โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคพาร์กินสัน (Parkinson's disease)
119
ไขสันหลัง (spinal cord)
• เนื้อไขสันหลังมี 2 ส่วนคือ
- white matter เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบนอก โดยบริเวณนี้มีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
โดยไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย
- Gray matter เป็นส่วนที่มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ โดยบริเวณนี้มีทั้งตัวเซลล์ประสาทและใย
ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตัวเซลล์ประสาทมีทั้งเซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทนา
คาสั่ง
โครงสร้างของไขสันหลัง
 เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก
1. Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ
ประกอบด้วย - ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก
- ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนาคาสั่ง
- ปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาท
นา คาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่
120
ไขสันหลังของคนอยู่ภายในกระดูกสันหลังตั้งแต่กระดูกสันหลังบริเวณข้อแรกถึงกระดูก
สันหลังบริเวณเอวข้อที่ 2 : L2 (เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่) แต่ในทารกแรกคลอดจะอยู่
บริเวณเอวข้อที่ 3 : L3
121
122
123
(1) รีเฟล็กแอกชันของการกระตุ้นขา (2) รีเฟล็กแอกชันเมื่อเหยีบเศษแก้ว
124
125
126
127
เส้นประสาทไขสันหลัง
128
 ในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมดเป็ น
เส้นประสาทผสม(mixed nerve)
 เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือน
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5,7,9,10
129
ภาพแสดงไขสันหลังที่บรรจุอยู่ในโพรงกระดูก
130
131
ระบบประสาทรอบนอกหรือระบบประสาทส่วนปลาย
(peripheral nervous system = PNS)
132
1. ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ(voluntary
nervous system) หรือระบบประสาท
โซมาติก(somatic nervous system)
- ศูนย์สั่งการอยู่ที่ สมองและไขสันหลัง
- หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อลาย
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ(involuntary
nervous system หรือ autonomic
nervous system) หรือ ระบบ
ประสาทนอกอานาจจิตใจ
- ศูนย์ควบคุม ได้แก่ เมดุลลา ออฟลอง
กาต้า และ ไฮโปทาลามัส
- หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อ
เรียบ อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
133
เปรียบเทียบระบบประสาทใต้อานาจจิตใจกับระบบประสาทอัตโนวัติ
โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ
จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งถึงหน่วย
ปฏิบัติงาน
หนึ่งเซลล์ สองเซลล์ คือ preganglionoicneuron และ
postganglionicneuron
หน่วยปฏิบัติงาน กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ
ปมประสาทที่อยู่นอกสมองและไขสันหลัง ไม่มี มีทั้งบริเวณข้างกระดูกสันกลังและห่างออกไปจาก
กระดูกสันหลัง
ใยประสาท มีเยื่อไมอีลิน มีเยื่อไมอีลินเฉพาะใยประสาทของ preganglionoic
neuron
ร่างแหประสาท ไม่มี พบที่ทางเดินอาหาร
สารสื่อประสาทที่สาคัญ อะซิติลโคลีน อะซิติลโคลีนสาหรับเส้นประสาทพาราซิมพาเทติก
และเส้นประสาทpreganglionoic neuron ของซิมพา
เทติก
การทางานของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น เป็นทั้งกระตุ้นและยับยั้ง
บทบาททั่วไป ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
ภายนอก
ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
134
135
แผนผังการทางานของระบบประสาทโซมาติก
monosynaptic reflex or
simple reflex arc polysynaptic reflex or
complex reflex arc
136
137
138
139
140
conditioned reflex
141
monosynaptic reflex or simple reflex arc
142
polysynaptic reflex or complex reflex arc
143
ประเภทของรีแฟลกซ์ แอกชัน (reflex action)
รีแฟลกซ์ แอกชัน(reflex action)
- somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจ
จิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย
* การกระตุกขา เมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า
* การชักมือชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม
- autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจะ
และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ
* การเกิดเพอริสตัลซีสที่ท่อทางเดินอาหาร
* การหลั่งน้าตา น้าย่อย น้าลาย น้านม
สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
เซลล์ประสาทนาคาสั่งหน่วยปฏิบัติงานการตอบสนอง
เซลล์ประสาทประสานงาน
 หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็ น กล้ามเนื้อลาย
 รีแฟลกซ์ ของการกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า กระแสประสาทจะไม่ผ่านเซลล์
ประสาทประสานงาน ดังนั้นชนิดเซลล์ประสาทน้อยที่สุดทางานได้ ประกอบด้วย
เซลล์ประสาท 2 ชนิดคือ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
somatic reflex
144
Testing yourself
145
146
รีแฟลกซ์ ของระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ
147
 หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็น กล้ามเนื้อเรียบ,กล้ามเนื้อหัวใจ,อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
 จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งจากศูนย์กลางไปยังหน่วยปฏิบัติงานจะมี 2 เซลล์ซึ่งต่างจากระบบประสาทใต้
อานาจจิตใจมี 1 เซลล์
สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก
การตอบสนอง
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 1
(preganglionic neuron)
หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 2
(postganglionic neuron)
ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system)
- ระบบประสาทซิมพาเทติก(sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทนา
คาสั่งตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว(thoracolumbar outflow)
- ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่เซลล์
ประสาทตัวที่ 1 อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
148
เปรียบเทียบระหว่างซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก
สิ่งที่เปรียบเทียบ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ตาแหน่งของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
-ตัวที่ 1 (preganglionic neuron)
อยู่ในไขสันหลังส่วนอกและเอว อยู่ในสมอง (brain stem) และไขสัน
หลังส่วนกระเบนเหน็บ
- ตัวที่ 2 (postganglionic neuron) อยู่นอกไขสันหลังโดยอยู่ใกล้
ศูนย์สั่งงาน โดย 1 สั้น 2 ยาว
อยู่นอกสมองและไขสันหลังอยู่ใกล้
หน่วยปฏิบัติงาน โดย 1 ยาว 2 สั้น
ตาแหน่งปมประสาท อยู่ใกล้ศูนย์สั่งงาน แต่อยู่ไกล
หน่วยปฏิบัติงาน
อยู่ใน/ใกล้หน่วยปฏิบัติงาน แต่อยู่ไกล
ศูนย์ส่งงาน
ศูนย์กลางการสั่งงาน อยู่ในไขสันหลัง อยู่ในสมองและไขสันหลัง
สารสื่อประสาทของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
-ตัวที่ 1 (ไซแนป์กับเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 2) Acetylcholine
- ตัวที่ 2 (ไซแนป์กับหน่วยปฏิบัติงาน) noreadrenaline acetylcholine
ลักษณะการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น ยับยั้ง
150
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท
บท1ประสาท

More Related Content

What's hot

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 

Viewers also liked

การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารWilailak Luck
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเราบท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเราWichai Likitponrak
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่Wichai Likitponrak
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (20)

การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเราบท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 

Similar to บท1ประสาท

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนองWichai Likitponrak
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 

Similar to บท1ประสาท (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท1ประสาท

  • 1. บทที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง (Recognition and response) รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1
  • 2. ครูผู้สอน  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา :  พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. 3 ระบบประสาท (nervous system) ฮอร์โมน (hormone) ระบบประสานงาน (coordinating system)  สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันเกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกาย และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ แตกต่างกัน การรับรู้และการตอบสนอง
  • 4. ระบบประสาท 4  หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับ ระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน โดยใช้เวลารวดเร็วและ สิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่างช้าๆและกระทาต่อเนื่อง เป็นเวลานาน • ไวต่อสิ่งเร้า(stimulus) • นากระแสประสาทได้ คุณสมบัติของเซลล์ประสาท
  • 5. 5
  • 6. พารามีเซียม 6  ไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง มีเส้นใยประสานงาน (co- ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้ผิวเซลล์เชื่อมโยงระหว่าง โคนซิเลียแต่ละเส้นทาให้เกิดการประสานงานกัน ยูกลีนา  มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถ ทราบความเข้มแสงและทิศทางของแสงได้
  • 7. 7 ฟองน้า (P. Porifera)  มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเเต่ฟองน้าไม่มีการประสานงาน ระหว่างเซลล์  มีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงาน ระหว่างเซลล์ โดยจะตอบสนองต่อแรงกด และแรงสัมผัสได้
  • 8. ซีเลนเทอเรต หรือ ไนดาเรีย 8  ไฮดรายังไม่มีระบบประสาท แต่มีเส้นใยประสาท เรียกว่า ร่างแหประสาท (nerve net)  เมื่อกระตุ้นทุกส่วนร่างกายจะหดตัว  การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้ากว่าสัตว์ชั้นสูงมาก และมีทิศทางที่ไม่แน่นอน  ปากและเทนตาเคิล (tentacle) มีเส้นใยประสาทมาก  พบที่ผนังลาไส้ในสัตว์ชั้นสูง ทาให้เกิด peristalsis หนอนตัวแบน (P. Platyhelminthes)  พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ส่วนหัว เรียกว่า ปม ประสาทสมอง (cerebral ganglion) ทาหน้าที่เป็นสมอง  ทางด้านล่างสมองมีเส้นประสาทแยกออกข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่า เส้นประสาททางด้านข้าง (lateral nerve cord) มี เส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะเรียกว่า เส้นประสาทตามขวาง (transverse nerve)
  • 9. หนอนตัวกลม (P. Nematoda) 9  มีปมประสาทรูปวงแหวน(nerve ring) อยู่รอบคอหอย (circumpharyngeal brian)  มีเส้นประสาททางด้านหลัง เรียกว่า dorsal nerve cord และเส้นประสาททางด้านล่าง เรียกว่า ventral nerve cord มอลลัสก์ (P. Mollusca)  หอยกาบคู่ มีปมประสาท 3 คู่ 1. ปมประสาทสมอง(cerebral ganglion) อยู่ ทางด้านข้างของปาก ควบคุมอวัยวะตอนบน 2. ปมประสาทที่อวัยวะภายใน(visceral ganglion)อยู่ทางด้านท้ายควบคุมอวัยวะ ภายใน เช่นระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ 3. ปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)อยู่ที่เท้า ทาหน้าควบคุมการยืดตัวและหดตัวที่ กล้ามเนื้อเท้า
  • 10. แอนเนลิด (P. Annelida) 10  ไส้เดือนมีระบบประสาทประกอบด้วย 1. สมอง (brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปมประสาท ซีรีบรัล (cerebral ganglion) 2. ปมประสาทใต้คอหอย (subpharyngeal ganglion) เกิด จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอ หอย (circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน 3. เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord) มี เส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม ประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3-5 คู่แยกออกไป เลี้ยงอวัยวะต่างๆ  ไส้เดือนมีเซลล์ที่ทาหน้าที่รับสัมผัสแสงเรียกว่า โฟโตรีเซปเตอร์ เซลล์ (photoreceptor cell)  มีเซลล์ทาหน้าที่รับความรู้สึก (sensory cell) และดมกลิ่น ด้วย
  • 11. อาร์โทพอด (P. Arthropoda) 11  แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนามากประกอบด้วย 1. สมอง(brain)เกิดจากปมประสาท 2 ปมมารวมกัน ไปยัง optic nerve 1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่ 2. ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal ganglion) 3. เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)  แมลงมีตาประกอบ (compound eye) รับภาพและแสงได้ดี  อวัยวะรับเสียง (sound receptors) เช่น อวัยวะทิมพานัม (tympanum organ)รับแรงสันสะเทือนได้ดี  อวัยวะรับรู้สารเคมี(chemoreceptors) เช่น หนวด ปาก ขาเดิน
  • 12. เอไคโนเดิร์ม (P. Echinodermata) 12  ระบบประสาท วงแหวนประสาท(nerve ring)อยู่รอบปาก มี แขนงประสาทแยกออกไปยัง arm เรียกว่า radial nerve  มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา(eyespot) อยู่ที่บริเวณ ปลายสุดของทุกแฉก  เทนเทเคิล(tentacle) รับสัมผัสเคมี  ประกอบด้วยสมอง เป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนง แยกไปเลี้ยงตา (optic nerve) และไปเลี้ยงหนวด  จากปมประสาท สมองมีเส้นประสาทล้อมรอบหลอดอาหาร ลง มายังปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก (thoracic ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7 ปม จากนั้นจะทอดยาว เป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral nerve cord) และมีปม ประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และระยางค์ต่าง ๆ ระบบประสาทของกุ้ง
  • 13. 13
  • 14. 14
  • 15. 15 สรุป -สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net -ในดาวทะเล ระบบประสาทจะซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อม กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกทีหนึ่ง -สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท (ganglion) ที่บริเวณ หัว เรียก cephalization -พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้างและจะมีเส้นประสาท เชื่อม เรียก transverse nerve -ตั้งแต่พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้องเรียก ventral nerve cord -ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว -ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord และไม่ มี segmental ganglia
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 21. โครงสร้างของสมอง 21 • สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) พัฒนาการสมองของสัตว์ • สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เป็นส่วน ใหญ่ พบในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น จะมี ขนาดใหญ่สุดในปลาและมีขนาดเล็กลงในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) จะมีพัฒนาการดีมากในสัตว์ที่ เคลื่อนที่ 3 มิติ เช่น ปลา นก รวมทั้งคนด้วย
  • 23. 23
  • 24. 24 -เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจาก สารเคมี ความร้อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า (electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
  • 25. การขนส่งสารของเซลล์ประสาท 25 มี 2 ระบบ ได้แก่ 1. ระบบแอกโซพลาสมิกโฟลว์ (axoplasmic flow) สารที่ขนส่งจะไปทาหน้าที่ซ่อมแซมใย ประสาทที่ถูกตัดหรือถูกทาลาย ซึ่งจะเป็นการขนส่งช้าๆ 2. ระบบแอกโซนัล ทรานสปอร์ต (axonal transport) ขนส่งสารที่ทาหน้าที่ปลายแอกซอน และต้องใช้พลังงานด้วย
  • 26. โครงสร้างของระบบประสาท 26  เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)  เซลล์ค้าจุน (glial cells) เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell) 1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body) 2. ใยประสาท (cell process หรือ nerve fiber) - เดนไดรต์ (dendrite) - แอกซอน (axon)
  • 27. 27 Neuroglia :ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์ประสาททาหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มี จานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า ไม่มีบทบาทในการส่งสัญญาณประสาท ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด ได้แก่ Supporting cell or glial cells or neuroglia • Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆ capillary ทาให้เกิด Blood-brain barrierเป็นเซลล์ที่ มีขนาดใหญ่ ติดกับเซลล์ประสาท หรือเส้นเลือดที่มา เลี้ยงสมอง ทาหน้าที่ รับส่งสารให้แก่เซลล์ประสาท • Oligodendrocyte(ในCNS): glial cell ที่ทาหน้าที่ สร้างเยื่อmyelin sheath หุ้มแอกซอนของเซลล์ ประสาทในสมอง • Microglia มีขนาดเล็กสุดลักษณะเหมือนรากไม้อยู่รอบ เซลล์ประสาท • Ependymal cell เป็นเกลียเซลล์สั้นบุอยู่รอบๆใน สมองและในไขสันหลัง • Schwann cell (ในPNS)เป็นเกลียเซลล์ที่ทาหน้าที่ สร้างเยื่อไมอีลินชีทหุ้มแอกซอน(แต่ละปล้องคือ 1 เซลล์ชวันน์เซลล์)
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30
  • 31. เยื่อไมอีลิน 31  เกิดจากชวันน์ เซลล์ไปห่อหุ้มแอกซอนโดยการโอบล้อมปลายแอกซอน คุณสมบัติเป็น ชนวน การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเกิดที่ Node of Ranvier เท่านั้น
  • 32. 32
  • 34. 34
  • 35. 35 Dendrite -dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ) -มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากและสามารถรับข้อมูลได้ มากๆ ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body -มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่ dendrite รับข้อมูล -คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณว่า ถึง threshold หรือไม่ -ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูลโดยตรงทาง cell body Cell body -Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon -ประกอบด้วย nucleus&organelle ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป -ganglion (ganglia):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในบริเวณ PNS เช่นที่ dorsal root ganglion (or sensory ganglion) -Nucleus (nuclei):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในสมอง (CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 36. 36 -axon นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell bodyไปยังเซลล์/neuron อื่น (ทาหน้าที่คล้ายสายเคเบิล) นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon ending หรือจาก axon ending cell body -axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่เรียกว่า axon hillox -axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก dendrite และก่อให้เกิด action potential (ถ้าสัญญาณที่รวบรวม ได้ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action potential) -Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน Axon
  • 37. 37 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite Axon Dendrite 1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine) 3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell 4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome 5.มี myelin 5.ไม่มี myelin 6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก cell body 6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ cell body
  • 38. เซลล์ประสาทแบ่งตามจานวนแขนงที่แยกออกจากตัวเซลล์ แบ่งได้ 3 ชนิดคือ 38  เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) - เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก - พบที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง(dorsal root ganglion) - มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว  เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) - มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง - ความยาวของเดนไดรต์และแอกซอนใกล้เคียงกัน - พบที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และเยื่อดมกลิ่นที่ จมูก  เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) - มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็นแอกซอน 1 และเดนไดรต์หลายแขนง - เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบหลายขั้ว ซึ่งมี แอกซอนยาวเดนไดรต์สั้นทาหน้าที่นาคาสั่งไปยังอวัยวะ ตอบสนอง - พบที่สมองและไขสันหลัง *เซลล์ประสาทขั้วเดียวและสองขั้วมักจะทาหน้าที่ เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)
  • 39. 39
  • 40. dorsal root ganglion (or sensory ganglion) 40
  • 41. เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่การทางาน แบ่งได้ 3 ชนิดคือ 41  เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) - มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัส เช่นหู ตา จมูก ผิวหนัง มี แอกซอนต่ออยู่กับเซลล์ประสาทอื่น และนาความรู้สึกเข้าสู่ สมองและไขสันหลัง  เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron หรือ interneuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก และมีแอกซอนต่อกับเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ ทา หน้าที่เชื่อมโยงวงจรประสาท พบที่ไขสันหลัง  เซลล์ประสาทสั่งการ(motor neuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับเซลล์ประสาทอื่นและมีแอกซอนต่อกับ กล้ามเนื้อมัดต่างๆต่อมมีท่อหรือต่อมไร้ท่อ เซลล์ประสาทสั่ง การเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบที่สมอง และไขสันหลัง
  • 42. 42
  • 43. 43
  • 44. 44 การลาเลียงกระแสประสาทในเส้นใยประสาท โครงสร้างของเซลล์ประสาท การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท 1.ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดใหญ่ 12 – 120 เมตร/วินาที 2. ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดเล็ก 3 – 15 เมตร/วินาที 3. ใยประสาทมีไม่ไมอีลินหุ้ม 0.5 – 2.3 เมตร/วินาที แบบ 1 พบที่ เส้นประสาทนาความรู้สึกและสั่งการ แบบ 2 พบที่ เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ แบบ 3 พบที่ ระบบประสาทซิมพาเทติก และเส้นใยรับความรู้สึกเจ็บปวด ร้อนหนาว เข้าสู่ไขสันหลัง ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท  เยื่อไมอีลิน ถ้าเยื่อประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้มล้อมรอบกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้นประมาณ 10 เท่า  ระยะห่างระหว่างโนด ออฟ แรนเวียร์ ถ้าโนด ออฟ แรนเวียร์ ห่างกันมากขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น  ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้น กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ ได้เร็วขึ้นเพราะเหตุว่ามีความต้านทานต่าลง
  • 45. Synapse 45  หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาท (nerve impulse) ระหว่างเซลล์ประสาทด้วยกัน หรือ เซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน
  • 46. 46
  • 47. 47
  • 48. 48 -synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่หลั่งสาร neurotransmitter(สารสื่อประสาท) -synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์เป้าหมาย(neuron/effector) -เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell -เซลล์เป้าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell) Synaptic terminal
  • 49. หน้าที่ของซิแนปส์ 49  กระแสประสาทเดินทางเป็ นทิศทางเดียวเท่านั้น ไม่ยุ่งเหยิงสับสน  ทาหน้าที่ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจายกระแสประสาทออกทาให้คาสั่ง นั้นแผ่กระจายกว้างขวางมากขึ้น  ทาหน้าที่เป็ นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆมีทั้งเร่งการทางานหรือรั่งการทางาน ให้ มีการตอบสนองที่แน่นอนเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย ซิแนปส์มี 2 ประเภท  ไซแนปส์ไฟฟ้า(electeical synapse) เป็ นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่มีขนาดเล็กมาก กระแสประสาทสามารถผ่านข้ามไปได้โดยตรงโดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยสื่อใดๆ พบ น้อยมาก เช่น บริเวณปลายกล้ามเนื้อเรียบ  ไซแนปส์เคมี(chemical synapse) เป็ นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่กระแสประสาทไม่ สามารถผ่านได้ ต้องอาศัยสารสื่อประสาทไปกระตุ้นให้เกิดกระแสประสาท
  • 50. 50
  • 51. 51 Electrical synapse -บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย gap junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีก เซลล์หนึ่งได้โดยตรง Chemical synapse 1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx 2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์ 3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับตัวรับที่ postsynatic membrane 4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด depolarization สารสื่อประสาท (neurotransmitter) สารสื่อประสาท ตาแหน่งที่สร้าง Acetylcholine CNS,PNS สร้างจากปลายแอกซอนทั่วไป Norepinephrine CNS,PNS Dopamine CNS,PNS Serotonin CNS
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. การค้นพบสารสื่อประสาท 54  ออทโต ลอวิ (Otto Loewi ) นักวิทยาศาสตร์ชาว ออสเตรเลียทาการทดลองโดยศึกษาจากหัวใจกบพบว่า เมื่อกระตุ้นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 จะทาให้เกิดการ ปล่อยสารบางชนิดออกมายับยั้งการทางานของหัวใจ เช่นเดียวกับการกระตุ้น ใยประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ นั้น โดยมีการหลั่งสารจากปลายประสาทเพื่อกระตุ้นให้ กล้ามเนื้อหดตัว สารนี้เรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ต่อมามีการศึกษาพบว่า ที่ บริเวณปลายแอกซอนจะมีปริมาณสารดังกล่าวใน ปริมาณที่สูงมาก สารนี้จะทาหน้าที่เป็นตัวกลางถ่ายทอด กระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
  • 55. 55
  • 56. ชนิดของสารสื่อประสาท ในคนเรามีมากกว่า 100 ชนิด ตัวอย่างเช่น 56 สารสื่อประสาท แหล่งกาเนิด ผลการทางาน หมายเหตุ 1. Acetylcholine CNS/รอยเชื่อมต่อ กล้ามเนื้อ/ปม ประสาทอัตโนวัติ กระตุ้นสมอง(จา,เรียนรู้)/กระตุ้นการ ทางานกล้ามเนื้อลายและเรียบ/ยับยั้งการ ทางานกล้ามเนื้อหัวใจ หากมีน้อยส่งผลด้านความจา สมาธิสั้น และเป็นอัลไซเมอร์ ได้ 2. Epinephrine Norepinephirne CNS/Symphathetic กระตุ้นหรือยับยั้งการทางานของANS เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อม หมวกไต 3. Endorphin Brain ลดความรู้สึกเจ็บปวด เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อใต้ สมอง 4. Dopamine CNS ควบคุมอารมณ์ ความคิด การเคลื่อนไหว ร่างกาย ถ้าสมองขาดจะเกิดโรคพาร์ กินสัน/ฮอร์โมนจาก hypothalamus 5. Histamine สมอง การหลั่งกรดในกระเพาะ/การหดตัว กล้ามเนื้อเรียบ/กระตุ้นหัวใจ เป็นสารภูมิคุ้มกัน (ภูมิแพ้) 6. Serotonin CNS ผลต่อพฤติกรรมสัตว์ ควบคุมความโกรธ/ ก้าวร้าว เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 7. GABA สมอง ยับยั้งการส่งกระแสประสาทข้ามเซลล์ ทา ให้เกิดสมดุลในสมอง -
  • 57. 57
  • 58. 58
  • 59. 59
  • 60. 60 สารสื่อประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติที่สาคัญได้แก่ acetylcholine (ACh) และ noradrenaline (norepinephrine, NE) ซึ่งเส้นประสาทที่มี ACh เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท cholinergic และเส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท adrenergic การทางานของสารสื่อประสาท  เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยมาจากแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนป์ไปยังเดนไดรต์ของเซลล์ ประสาทหลังไซแนป์ จะมีการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาท Acetylcholine Enzyme cholinesterase Acetic acid + Choline
  • 61. 61  เซลล์ประสาทที่ปล่อยสารสื่อประสาทแอซีทิลโคลินออกมาที่ปลายแอกซอน เรียกว่า คอลิเนอจิก นิวรอน(cholinergic neuron)  สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการทางานของระบบประสาท คือ แอซิทิลโคลิน เอพิเนฟริน นอร์เอพิเนฟริน โดปามีน เซโรโทนิน แอล-กลูทาเมต แอล-แอสพาเตต  สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่ยับยั้งการทางานของระบบประสาท คือ GABA ไกลซีน และอะลานีน สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ซิแนปส์  สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาททาให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต  ยาระงับประสาท ทาให้สารสื่อประสาทปล่อยออกมาน้อย อันมีผลทาให้กระแสประสาทส่งไปยังสมอง น้อยจึงเกิดอาการสงบ ไม่วิตก  สารนิโคติน คาแฟอีน แอมเฟตามีน จะไปกระตุ้นให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทา ให้เกิดอาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว  ยาฆ่าแมลงบางชนิด จะไปยับยั้งการทางานของเอมไซม์ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท
  • 62. สรุป : สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาท 62  สารพิษจากแบคทีเรีย : อาหารเป็นพิษ (boltulism) ยับยั้งการหลั่ง Ach กล้ามเนื้อไม่ทางาน เช่น กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ  ยาระงับประสาท : สารสื่อประสาทหลั่งออกมาน้อย กระแสประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลงทาให้มี อาการสงบไม่วิตกกังวล  นิโคติน คาเฟอิน แอมเฟตามีน : กระตุ้นให้ axon หลั่งสารสื่อประสาทออกมามาก ทาให้เกิดการ ตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว  ยาชา : บางชนิดจะไปจับกับ receptor ของ Na-channel ทาให้ Na ion ไม่สามารถผ่านเข้าสู่เซลล์ได้ บางชนิดมีผลทาให้ระดับ threshold เพิ่มขึ้น  ยานอนหลับ : จะลดการทางานของสมองและเส้นประสาท ห้ามการส่งผ่านกระแสประสาทข้าม ไซแนปส์ในทาลามัส  ยาสลบ : กดการทางานของ CNS ด้วยการเพิ่มค่า threshold การส่งสัญญาณประสาท ทาให้หมดสติ ไม่รับรู้ความรู้สึก กดศูนย์ควบคุมการหายใจ การบีบตัวของหัวใจ เป็นต้น  ยาฆ่าแมลงบางชนิด : ยับยั้งเอนไซม์สลายสารสื่อประสาท ทาให้เกิดอาการชักกระตุกและเสียชีวิตได้
  • 63. การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทตามลาดับไม่มีการย้อนกลับ 63 แอกซอน ซิแนปส์แคลฟต์ เดนไดรต์ ตัวเซลล์ประสาทแอกซอนซิแนปส์แคลฟต์ การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในเซลล์ประสาท พบว่าไมอีลินชีทมีสมบัติฉนวนไฟฟ้ากั้นประจุไฟฟ้าได้ ทาให้ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผิวนอกและผิวด้านใน แตกต่างกันจึงทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ประมาณ 60-80 mv การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจึงเป็นการ กระโดด (saltatory conduction)ระหว่างโนดออฟ เรนเวียร์ที่อยู่ถัดไป
  • 64. 64
  • 65. 65 -membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอกเซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบ เมื่อเทียบกับนอกเซลล์) -สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้ micromanipulator วัด -membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง ไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential จะมีค่าเป็นลบ - 65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้นเรียกว่า action potential จะมีค่าเป็นบวก +65 มิลลิโวลต์ การศึกษาการเกิดกระแสประสาท
  • 66. 66
  • 67. 67
  • 68. 68
  • 69. 69 Action potential -action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อ ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential -เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none threshold potential  หมายถึง ระดับของการกระตุ้นที่สามารถทาให้เกิดกระแสประสาทในเซลล์ประสาท ความแรง ของการกระตุ้นที่สูงกว่าระดับเทรสโฮลต์ มิได้ทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ได้เร็วแต่อย่างใด all-or-none rule • หมายถึง ถ้ากระตุ้นแรงเพียงพอ ก็จะเกิดการนากระแสประสาทไปโดยตลอด แต่ถ้าไม่แรงถึง ระดับขีดเริ่มก็จะไม่มีการนากระแสประสาทเกิดขึ้นเลย
  • 70. 70
  • 71. 71
  • 72. 72 แผนภูมิวงจรระยะการทางานของเซลล์ประสาท Hyperpolarization DepolarizationRepolarization การทางานของเซลล์ประสาท  มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายใน ออกสู่ภายนอก แต่อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน  มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียม จากภายในออกสู่ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน Resting stage
  • 73. 73 Polarization • มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายในออกสู่ภายนอก แต่ อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน • มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ภายนอก และโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน Depolarization • ช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามาภายในเซลล์มากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุที่ผิว ด้านนอกเป็นลบ ประจุด้านในเป็นบวก • การเปลี่ยนแปลงของประจุที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นผลทาให้เกิดแอกชันโพเทลเชียล หรือ กระแสประสาทขึ้นกระแส ประสาทส่งไปด้วยความเร็วไม่เกิน 1,000 ครั้ง/วินาที Repolarization • มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายในออกสู่ภายนอก ที่เยื่อหุ้มเซลล์ด้านนอก จะเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้า ทาให้ภายนอกเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นประจุบวกและ ภายในเซลล์เปลี่ยนเป็นประจุลบ
  • 74. 74
  • 76. 76
  • 77. 77
  • 78. 78 ระยะคืนกลับสู่ระยะพัก • มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium- potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP แผนภาพสรุป
  • 79. 79
  • 80. การกาเนิดระบบประสาท 80  ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์(neural tube) ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm)ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอดยาวมีการ เจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้ม เดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง(meninges)ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายและเป็นทางให้อาหารแก่สมองและ ไขสันหลัง ระบบประสาทแบ่งเป็น 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่ รวบรวมและแปลผลข้อมูล 2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS): เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และ ปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณ ประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมภายในร่างกาย ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 82. เยื่อหุ้ม (meninges) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ 82  ชั้นนอก (dura mater) หนาและเหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกันอันตรายและกระทบกระเทือน ให้แก่สมองและไขสันหลัง  ชั้นกลาง (arachniod mater) เป็นเยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้นอกกับชั้นใน  ชั้นใน (pia mater) เป็นชั้นที่อยู่ติดกับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มากนา อาการและออกซิเจนมาให้สมอง ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervous system)
  • 84. 84
  • 85. 85 โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน • สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) 1. ซีรีบัล(cerebrum) * frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe 2. ทาลามัส(thalamus) 3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus) 4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb) • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) 1.ออฟติก โลป(optic lope) • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) 1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) 2.medulla ablongata 3. pons
  • 86. สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) 86 1. cerebrum - เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ - เป็นศูนย์กลางการรับรู้ - ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย - ควบคุมการออกเสียงของคน - ควบคุมเกี่ยวกับอารมณ์ - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ - ควบคุมทักษะ - เกี่ยวกับการต่อสู้ - ควบคุมพฤติกรรมทางสังคม  frontal lobe เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ  temporal lobe ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด เข้าใจคาพูดและการอ่าน  parietal lope การรู้สึกตัว รับรส/ความรู้สึก  occipital lobe การมองเห็น
  • 87. Frontal lobe 87  Prefrontal area : ศูนย์ความฉลาดระดับสูง (higher intellectual process)  Primary motor area : ศูนย์ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย (motor area) , ควบคุมการเคลื่อนไหว  Premotor area : วางแผนการเคลื่อนไหว  Motor speech (Broca’s) area : ศูนย์การวางแผนการพูดให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ Temporal lobe  Primary auditory area : ศูนย์กลางการได้ยิน แยกความสูงต่าของเสียง และการแปล ความหมายของเสียงอย่างง่าย  Auditory association area : ศูนย์กลางการแปลความหมายการได้ยินอย่างซับซ้อน (รู้ว่าเสียงใครหรืออะไร)  Sensory speech (Wernicke’s) area : ศูนย์กลางเข้าใจภาษา (language comprehension)
  • 88. Parietal lobe 88  Primary somatosensory area : ศูนย์รับความรู้สึกระดับแรก = primary sensory (ร้อน หนาว สัมผัส first pain)  Somatosensory association area : นาข้อมูลจาก somatosensory มาแปล ความหมายเป็นรูปร่าง/ขนาด/ลักษณะผิววัตถุ  Primary taste area : ศูนย์รับการรับรสที่มาจากลิ้น  General interpretation area : บริเวณติดต่อจาก 3 ระบบ คือ สัมผัส ตา หู เพื่อใช้ สาหรับแปลข้อมูลที่ซับซ้อน Occipital lobe  Primary visual area : รับข้อมูลจากเรตินามาสร้างให้เกิดภาพในสมอง  Visual association area : แปลผลข้อมูลภาพที่ได้ รวมภาพที่เห็นเข้ากับประสบการณ์ ด้านความรู้สึก
  • 89. 89
  • 90. 90
  • 91. 91
  • 92. 92
  • 93. Limbic system (CNS: forebrain/prosencephalon) 93  Amygdala และ hippocampus : ควบคุมพฤติกรรมทางอารมณ์ (ก้าวร้าว/ กล้า/สับสน/กลัว)  Amygdala  ตาแหน่ง : เป็นส่วนที่ผิวด้านในของ cerebral cortex ด้าน temporal lobe  หน้าที่ : ร่วมกับ olfactory bulb และ temporal lobe ในการรับกลิ่น ,ร่วมกับ โครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ  Hippocampus  ตาแหน่ง : อยู่บริเวณผิวด้านในของ cerebral cortex มีรูปร่างคล้ายเขาแกะและอยู่ ใต้ต่อม amygdala  หน้าที่ : เกี่ยวกับความจาทั้งระยะสั้น (recent memory) และระยะยาว (long- term memory) ,ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบต่อมไร้ท่อและระบบ ประสาทอัตโนมัติ
  • 94. 94
  • 95. 95
  • 96. 96 2. ทาลามัส(thalamus) - ทาหน้าที่เป็ นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง จึงอาจเรียกส่วนนี้ว่า เป็ นสถานีถ่ายทอดที่สาคัญของสมอง - ทาหน้าที่เป็ นศูนย์ควบคุมอารมณ์และการตื่น 3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus) - ควบคุมอุณภูมิของร่างกาย การเต้นหัวใจ ความดันเลือด การนอนการหลับ ความหิว ความอิ่ม ความรู้สึกทาง เพศและสร้างฮอร์โมน - เป็ นศูนย์แห่งความสุขและใน mammal : biological clock/circadian rhythms 4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb) - ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น - ในพวกปลาจะเจริญดีมากต่างจากพวกไพรเมต(primate)
  • 97. 97
  • 98. 98 • สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon) ออฟติก โลป(optic lope) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเจริญพัฒนามากในสัตว์พวกปลา นกและลดน้อยลง ในสัตว์ชั้นสูง (การเคลื่อนไหวของลูกตาและควบคุมการปิด-เปิดของม่านตา) • สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon) 1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆให้เป็นไปอย่างสละสลวย ควบคุมการทรงตัว 2.เมดุลา ออฟลองกาตา(medulla ablongata) ทาหน้าที่เกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนวัติ ได้แก่ควบคุมอัตราการเต้น ของหัวใจ ควบคุมการหายใจ ความดันเลือด การกลืนการจาม การอาเจียน 3. พอนส์(pons) ทาหน้าที่ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลายและการเคลื่อนไหวของใบหน้าควบคุมการหายใจ เป็น ทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างซีรีบรัมกับซีรีเบลลัมและระหว่างซีรีเบลลัมกับไขสันหลัง
  • 99. 99 Brainstem (ก้านสมอง) - ตาแหน่ง = midbrain + pons + medulla oblongata - หน้าที่ = ระบบ reticular formation / Ascending Reticular Activating System (ARAS) ARAS = ควบคุมระดับความรู้สึกตัว (level of consciousness) / หลับตื่น / รู้ตัว / ฝัน  [full awake  coma] ถ้าก้านสมองถูกทาลาย = เสียชีวิตในทางการแพทย์ ยังสามารถบริจาคอวัยวะเพื่อูู้อื่นด้้
  • 100. 100
  • 101. เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับความรู้สึก(sensory nerve)ทำหน้ำที่ รับกระแสควำมรู้สึกจำกหน่วย รับควำมรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (moter nerve) ทำหน้ำที่ นำกระแสคำสั่งจำกสมองไปยังหน่วย ปฏิบัติงำน  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) ทำหน้ำที่รับกระแสควำมรู้สึกจำกหน่วยรับ ควำมรู้สึก ไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจำกสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงำน
  • 103. 103
  • 104. 104
  • 105. 105
  • 106. 106
  • 107. สรุป 107  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ ความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่ 1 , 2 , 8  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นา คาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่ 3 , 4 , 6 , 11 , 12  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม มี 4 คู่ ได้แก่ 5 , 7 , 9 , 10
  • 108. ควรเข้าใจเพิ่มเติม 108  Olfactory bulb : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1  Occipital lobe (cerebral cortex) : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2  Mid brain : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 และ 4  Pons : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 ถึง 7  Medulla oblongata : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 ถึง 12
  • 109. 109
  • 110. โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease) 110  เป็นหนึ่งในโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อ AloisAlzheimer ในปี พ.ศ. 2499 ผู้ ป่ วยโรคนี้จะมีอาการสาคัญ คือ ความจาเสื่อม หลงลืม มีพฤติกรรมและนิสัยเปลี่ยนไป อาการจะดาเนินไปอย่าง ช้าๆ แต่ค่อยๆรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดจะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และเสีย ชีวิตในที่สุด ไม่มีวิธีป้องกันหรือวิธีสาหรับรักษาให้ หายได้  โรคอัลไซเมอร์จะพบในผู้สูงอายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบอัตราการเป็นโรคมากขึ้น โดยในช่วงอายุ 65-69 ปี พบอุบัติการณ์การ เกิดผู้ป่ วยรายใหม่ประมาณ 3 คนต่อพันคนต่อปี แต่หากเป็นช่วงอายุ 85-89 ปี จะพบสูงถึง 40 คนต่อพันคนต่อปี พบได้ในทุก เชื้อชาติเพศหญิงพบมากกว่าเพศชายเล็กน้อยอาจเนื่องจากเพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่าในประเทศไทยมีผู้ป่ วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า60 ปี และจะพบเพิ่มขึ้น 2 เท่าทุก 5 ปีหลังอายุ 60 ปี  ผู้ป่ วยประมาณ 7% มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม และสามารถถ่ายทอดสู่ลูกหลานได้ ตาแหน่งความผิดปกติบนโครโมโซมที่พบ ชัดเจนแล้วว่าทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 21, 14, 1, และ 19 ผู้ที่มีความผิดปกติของพันธุกรรมเหล่านี้จะป่ วย เป็นโรคอัลไซเมอร์ที่อายุน้อยกว่าคนที่ไม่ได้มีความผิดปกติทางพันธุกรรม นอกจากนี้พบว่าในผู้ป่ วยโรคกลุ่มอาการ ดาวน์ (Down’ssyndrome) ซึ่งมีความผิดปกติคือมีสารพันธุกรรมของโครโมโซมแท่งที่ 21 เกินมา หากมีชีวิตอยู่เกิน 40 ปี จะ ป่ วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ในที่สุด  ผู้ป่ วยส่วนใหญ่ที่เหลือไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน แต่พบปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ดังนี้ คือ อายุที่มากขึ้น มีประวัติ คนในครอบครัวเป็นโรคนี้ เคยประสบอุบัติเหตุที่สมอง หรือสมองได้รับบาดเจ็บ เป็นโรคอ้วน เป็นโรคเบาหวาน (เพิ่มความ เสี่ยงขึ้นประมาณ 3 เท่า) เป็นโรคความดันโลหิตสูง และเป็นโรคไขมันในเลือดสูง แต่ระดับการศึกษาและระดับสติ ปัญญาไม่มี ผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรค
  • 111. โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease) 111  นอกจากนี้มีการศึกษาพบว่าสารเคมีในธรรมชาติบางตัว เช่น อะลูมิเนียม ปรอท รวมทั้งไวรัสบางชนิด อาจเป็นสาเหตุของ โรคนี้ แต่หลักฐานก็ยังไม่ชัดเจน  ส่วนปัจจัยที่ช่วยลดโอกาสการเกิดโรคนี้ลงได้ ได้แก่ การใช้ยาต้านการอักเสบในกลุ่มเอนเสดส์ (Non-steroidalanti- inflammatorydrugs, NSAIDs)การใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในหญิงวัยหมดประจาเดือน การกินผักและผลไม้ เป็นประจา การดื่มไวน์แดงในปริมาณที่เหมาะสม การออกกาลังกายสม่าเสมอการใช้สมองฝึกคิด ฝึกเรียนรู้สิ่งใหม่ๆเป็น ประจา  อนึ่ง ยาทั้งสองชนิดที่กล่าวถึง ไม่ควรซื้อกินเองเพราะมีผลข้างเคียงสูง เช่น เอนเสดส์อาจก่อให้เกิดแผลในกระเพาะ อาหาร (โรคแผลเปบติค) และเอสโตรเจน เพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม และภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดดา
  • 112. 112
  • 113. 113
  • 114. โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease) 114  การรักษาด้วยยาแบ่งเป็น  การรักษาอาการความจาเสื่อม ปัจจุบันมียาอยู่ 4 ชนิดที่ได้รับการรับรองจากคณะ กรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา ในการนามาใช้กับผู้ป่ วยโรคอัลไซเมอร์ คือ Donezpezil , Rivastigmin,Galantamine, และ Memantine มีการศึกษาพบว่า การใช้สารสกัดจากใบแปะก๊วย (Ginkgo biloba) ช่วยบรร เทาอาการของผู้ป่ วยได้ แต่ก็ยังไม่มีการศึกษายืนยันชัดเจน บาง การศึกษาพบว่าการให้วิตามินอีเสริมในขนาดสูงจะช่วยชะลอการเสียชีวิตได้ แต่ก็อาจมีผลข้างเคียงต่อระบบหัวใจและ หลอดเลือดได้  การรักษาอารมณ์และพฤติกรรมที่รุนแรง รวมทั้งอาการประสาทหลอน โดยการใช้ยารักษาโรคจิตมารักษาตามอาการที่ ปรากฏ  การรักษาทางจิตสังคม ได้แก่  การรักษาที่มุ่งเน้นการกระตุ้นสมอง เช่น ศิลปะบาบัด ดนตรีบาบัด การบาบัดโดยอาศัยสัตว์เลี้ยง  การบาบัดด้วยการราลึกถึงเรื่องราวในอดีต เช่น การรวมกลุ่มทากิจกรรมแลก เปลี่ยนประสบการณ์ในอดีต การใช้ภาพถ่าย สิ่งของเครื่องใช้ในบ้าน ดนตรี ที่ผู้ป่ วยคุ้นเคยในอดีตมาช่วยฟื้นความทรงจา  การให้เข้าไปอยู่ในห้องที่เรียกว่าSnoezelen room ซึ่งเป็นห้องที่ออกแบบให้มีสภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะกับวิธีการ กระตุ้นการรับรู้และความรู้สึกที่หลากหลาย ที่เรียกว่า Multisensory integration อันได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การได้ กลิ่น การรับสัมผัส และการเคลื่อนไหว  การให้การดูแลผู้ป่ วย เป็นสิ่งสาคัญที่สุด ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจะต้องเข้าใจอาการของโรค ทาใจ ยอมรับ อดทน ไม่ทอดทิ้งผู้ป่ วยไว้คน เดียว และเข้าใจการดาเนินของโรคว่า ผู้ป่ วยต้องอาศัยความช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานมากขึ้นเรื่อยๆ
  • 115. 115  เป็ นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็ นอันดับที่ 2 รองจากโรคอัลไซ เมอร์ สถิติผู้ป่ วยเป็ นโรคพาร์กินสันทั่วโลกอยู่ที่ประมาณร้อยละ 1 ในผู้ที่อายุเกิน 65 ปี สาหรับใน ประเทศไทยมีการเก็บรวบรวมสถิติการเกิดโรค จากสภากาชาดไทยพบว่าอุบัติการณ์การเกิดโรคพาร์กิน สันอยู่ที่ 425 คน ต่อประชากร 100,000 คน ซึ่งพบมากในประชากรแถบภาคกลางของประเทศ คน ไทยสมัยโบราณรู้จักโรคพาร์กินสันมานานแล้วในนามของ ‘โรคสันนิบาตลูกนก’ แต่ก็ไม่ได้มีการบันทึกไว้ อย่างเป็ นทางการ ปัจจุบันคนไทยตื่นตัวเรื่องนี้มากขึ้น ผู้ป่ วยจึงได้มาพบแพทย์เร็วขึ้นทาให้ได้รับการดูแล แต่เนิ่น ๆ  ผู้ป่ วยมีอาการที่พบได้บ่อย ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวช้า อาการสั่นของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในท่าพัก แต่ดีขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหว และอาการเกร็ง ซึ่งสัมพันธ์กับเซลล์สมองที่ถูกทาลายไปแล้วอย่างน้อยร้อย ละ 60 ความผิดปกติที่เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวเนื่องจากโรคพาร์กินสันเป็ นผลจากการตายของเซลล์ สมองส่วนก้านสมองส่วนกลาง (Midbrain) ในส่วนสับสแตนเชียไนกราซึ่งมีผลทาให้สารสื่อประสาท โดพามีนซึ่งควบคุมการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องของร่างกายลดลง  อาการโดยทั่วไป : สั่น การเคลื่อนไหวช้า กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง การทรงตัวไม่ดี เสียงค่อยและเบาลง สีหน้าไร้อารมณ์ หลังค่อม ตัวงุ้มลง ความสามารถในการได้กลิ่นลดลง ท้องผูก ตะโกนร้อง หรือมีการ ขยับแขนขาอย่างรุนแรงในขณะหลับ เขียนตัวหนังสือเล็กลง โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคพาร์กินสัน (Parkinson's disease)
  • 116. 116
  • 117. 117
  • 118. 118 1. รักษาด้วยยา ซึ่งแม้ว่ายาจะไม่สามารถทาให้เซลล์สมองที่ตายไปแล้วฟื้นตัวหรือกลับมางอกทดแทนเซลล์ เดิมได้ แต่ก็จะทาให้สารเคมีโดปามีนในสมองมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกายได้ สาหรับยาที่ใช้ใน ปัจจุบัน คือ ยากลุ่ม LEVODOPA และยากลุ่ม DOPAMINE AGONIST เป็นหลัก (การใช้ยาแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับ การวินิจฉัยจากแพทย์ ตามความเหมาะสม) 2. ทากายภาพบาบัด จุดมุ่งหมายของการรักษาก็คือ ให้ผู้ป่ วยกลับคืนสู่สภาพชีวิตที่ใกล้เคียงคนปกติที่สุด สามารถเข้าสังคมได้อย่างดี มีความสุขทั้งกายและใจ ซึ่งมีหลักวิธีปฏิบัติง่าย ๆ คือ ฝึกการเดินให้ค่อย ๆ ก้าวขาแต่ พอดี โดยเอาส้นเท้าลงเต็มฝ่ าเท้า และแกว่งแขนไปด้วยขณะเดินเพื่อช่วยในการทรงตัวดี นอกจากนี้ควรหมั่นจัด ท่าทางในอิริยาบถต่าง ๆ ให้ถูกสุขลักษณะ รองเท้าที่ใช้ควรเป็นแบบส้นเตี้ย และพื้นต้องไม่ทามาจากยาง หรือวัสดุที่ เหนียวติดพื้นง่าย /เมื่อถึงเวลานอน ไม่ควรให้นอนเตียงที่สูงเกินไป เวลาจะขึ้นเตียงต้องค่อย ๆ เอนตัวลงนอนตะแคง ข้างโดยใช้ศอกยันก่อนยกเท้าขึ้นเตียง /ฝึกการพูด โดยญาติจะต้องให้ความเข้าอกเข้าใจค่อย ๆ ฝึกผู้ป่ วย และควรทา ในสถานที่ที่เงียบสงบ 3. การผ่าตัด โดยมากจะได้ผลดีในผู้ป่ วยที่มีอายุน้อย และมีอาการไม่มากนัก หรือในผู้ที่มีอาการแทรกซ้อน จากยาที่ใช้มาเป็นระยะเวลานาน ๆ เช่น อาการสั่นที่รุนแรง หรือมีการเคลื่อนไหวแขน ขา มากผิดปกติจากยา ปัจจุบัน มีการใช้วิธีกระตุ้นไฟฟ้าที่สมองส่วนลึกโดยผ่าตัดฝังไว้ในร่างกาย พบว่ามีผลดี แต่ค่าใช้จ่ายสูงมาก ผู้ป่ วยโรคพาร์กิน สัน จาเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างในการพัฒนาฟื้นฟูด้านร่างกาย รวมถึงจิตใจ ดังนั้นหากท่านมี คนใกล้ชิดที่เป็นโรคชนิดนี้ จึงควรรีบนามาพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยโรคอันจะนาไปสู่การรักษาที่ถูกต้องและ เหมาะสมต่อไป โรคที่เกี่ยวกับสมอง : โรคพาร์กินสัน (Parkinson's disease)
  • 119. 119 ไขสันหลัง (spinal cord) • เนื้อไขสันหลังมี 2 ส่วนคือ - white matter เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบนอก โดยบริเวณนี้มีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม โดยไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย - Gray matter เป็นส่วนที่มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ โดยบริเวณนี้มีทั้งตัวเซลล์ประสาทและใย ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตัวเซลล์ประสาทมีทั้งเซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทนา คาสั่ง โครงสร้างของไขสันหลัง  เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก 1. Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ ประกอบด้วย - ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก - ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนาคาสั่ง - ปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาท นา คาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่
  • 121. 121
  • 122. 122
  • 123. 123 (1) รีเฟล็กแอกชันของการกระตุ้นขา (2) รีเฟล็กแอกชันเมื่อเหยีบเศษแก้ว
  • 124. 124
  • 125. 125
  • 126. 126
  • 127. 127
  • 128. เส้นประสาทไขสันหลัง 128  ในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมดเป็ น เส้นประสาทผสม(mixed nerve)  เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือน เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5,7,9,10
  • 129. 129
  • 131. 131
  • 132. ระบบประสาทรอบนอกหรือระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system = PNS) 132 1. ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ(voluntary nervous system) หรือระบบประสาท โซมาติก(somatic nervous system) - ศูนย์สั่งการอยู่ที่ สมองและไขสันหลัง - หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อลาย 2. ระบบประสาทอัตโนวัติ(involuntary nervous system หรือ autonomic nervous system) หรือ ระบบ ประสาทนอกอานาจจิตใจ - ศูนย์ควบคุม ได้แก่ เมดุลลา ออฟลอง กาต้า และ ไฮโปทาลามัส - หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อ เรียบ อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
  • 133. 133
  • 134. เปรียบเทียบระบบประสาทใต้อานาจจิตใจกับระบบประสาทอัตโนวัติ โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งถึงหน่วย ปฏิบัติงาน หนึ่งเซลล์ สองเซลล์ คือ preganglionoicneuron และ postganglionicneuron หน่วยปฏิบัติงาน กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ ปมประสาทที่อยู่นอกสมองและไขสันหลัง ไม่มี มีทั้งบริเวณข้างกระดูกสันกลังและห่างออกไปจาก กระดูกสันหลัง ใยประสาท มีเยื่อไมอีลิน มีเยื่อไมอีลินเฉพาะใยประสาทของ preganglionoic neuron ร่างแหประสาท ไม่มี พบที่ทางเดินอาหาร สารสื่อประสาทที่สาคัญ อะซิติลโคลีน อะซิติลโคลีนสาหรับเส้นประสาทพาราซิมพาเทติก และเส้นประสาทpreganglionoic neuron ของซิมพา เทติก การทางานของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น เป็นทั้งกระตุ้นและยับยั้ง บทบาททั่วไป ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ภายนอก ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย 134
  • 136. 136
  • 137. 137
  • 138. 138
  • 139. 139
  • 141. 141 monosynaptic reflex or simple reflex arc
  • 142. 142 polysynaptic reflex or complex reflex arc
  • 143. 143 ประเภทของรีแฟลกซ์ แอกชัน (reflex action) รีแฟลกซ์ แอกชัน(reflex action) - somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจ จิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย * การกระตุกขา เมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า * การชักมือชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม - autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ * การเกิดเพอริสตัลซีสที่ท่อทางเดินอาหาร * การหลั่งน้าตา น้าย่อย น้าลาย น้านม สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทนาคาสั่งหน่วยปฏิบัติงานการตอบสนอง เซลล์ประสาทประสานงาน  หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็ น กล้ามเนื้อลาย  รีแฟลกซ์ ของการกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า กระแสประสาทจะไม่ผ่านเซลล์ ประสาทประสานงาน ดังนั้นชนิดเซลล์ประสาทน้อยที่สุดทางานได้ ประกอบด้วย เซลล์ประสาท 2 ชนิดคือ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
  • 145. 145
  • 146. 146
  • 147. รีแฟลกซ์ ของระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ 147  หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็น กล้ามเนื้อเรียบ,กล้ามเนื้อหัวใจ,อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ  จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งจากศูนย์กลางไปยังหน่วยปฏิบัติงานจะมี 2 เซลล์ซึ่งต่างจากระบบประสาทใต้ อานาจจิตใจมี 1 เซลล์ สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก การตอบสนอง เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 1 (preganglionic neuron) หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 2 (postganglionic neuron) ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system) - ระบบประสาทซิมพาเทติก(sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทนา คาสั่งตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว(thoracolumbar outflow) - ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่เซลล์ ประสาทตัวที่ 1 อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
  • 148. 148
  • 149. เปรียบเทียบระหว่างซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก สิ่งที่เปรียบเทียบ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ตาแหน่งของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง -ตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอกและเอว อยู่ในสมอง (brain stem) และไขสัน หลังส่วนกระเบนเหน็บ - ตัวที่ 2 (postganglionic neuron) อยู่นอกไขสันหลังโดยอยู่ใกล้ ศูนย์สั่งงาน โดย 1 สั้น 2 ยาว อยู่นอกสมองและไขสันหลังอยู่ใกล้ หน่วยปฏิบัติงาน โดย 1 ยาว 2 สั้น ตาแหน่งปมประสาท อยู่ใกล้ศูนย์สั่งงาน แต่อยู่ไกล หน่วยปฏิบัติงาน อยู่ใน/ใกล้หน่วยปฏิบัติงาน แต่อยู่ไกล ศูนย์ส่งงาน ศูนย์กลางการสั่งงาน อยู่ในไขสันหลัง อยู่ในสมองและไขสันหลัง สารสื่อประสาทของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง -ตัวที่ 1 (ไซแนป์กับเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 2) Acetylcholine - ตัวที่ 2 (ไซแนป์กับหน่วยปฏิบัติงาน) noreadrenaline acetylcholine ลักษณะการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น ยับยั้ง
  • 150. 150