SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
Natural
Effective Microorganism : EM
เรื่อง น้ำหมักชีวะภำพจำกเศษอำหำรภำยในโรงเรียน
เกี่ยวกับโครงงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร
ผู้จัดท้ำ นางสาวพิชญพิมพ์พร อนันตบุญวัฒน์ เลขที่ 13
นางสาวอารีวรรณ สุพรรณรัตน์ เลขที่ 47
ครูที่ปรึกษำ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
สถำนศึกษำ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
ปีกำรศึกษำ 2563
contents
หลักการและทฤษฎี ผลการศึกษา วิดีโอ EM
บทนา วิธีการดาเนินงาน บรรณานุกรม
โรงเรียนเกือบแทบทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็ก กลาง ไล่ไปจนถึงใหญ่มักจะประสบกับปัญหา
ของเศษอาหารภายในโรงเรียนที่เกิดจากการทานอาหารกลางวันเหลือหรือการไม่ทานบางอย่างบนจาน
อาหารของเด็กนักเรียน รวมไปถึงของครูเอง ทาให้ปริมาณเศษอาหารจากเด็กนักเรียนคนละเล็กละน้อย
สะสมเพิ่มขึ้นมากเกินจนไม่สามารถกาจัดได้หมด และเศษอาหารยังเป็นแหล่งรวมเชื่อโรคต่าง ๆ มากมาย
ดังนั้น เราจึงต้องหาวิธีเพื่อที่จะกาจัดเศษอาหาร เพื่อลดปัญหาต่าง ๆ ที่จะตามมากับเศษอาหารเหลือ
พวกนี้ ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ไปศึกษาหาวิธีการต่าง ๆ ในการกาจัดเศษอาหาร ภายในโรงเรียน จนกระทั่งได้
เจอกับการทาน้าหมักชีวภาพ หรือ EM ที่ย่อมาจาก Effective Microorganisms เป็นการนาซากพืชซาก
สัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ มาหมักด้วยจุลินทรีจาเพาะ ทิ้งไว้สักระยะเวลาหนึ่งจะทาให้เราได้ปุ๋ย
ชีวะภาพที่เราสามารถนาไปใช้กับพืชผลทางการเกษตรของเรา เป็นการลดการใช้สารเคมีไปในตัว การทา
น้าหมักชีวะภาพนี้ยังเป็นการใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 ในเรื่อง
ของการใช้อธรรมปราบอธรรม นอกจากจะลดปัญหาเศษอาหารแล้วยังได้พืชผลทางการเกษตรที่เจริญ
งอกงามไร้สารเคมีทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้นอีกด้วย
เพื่อหาวิธีการจัดการกับเศษอาหาร
เพื่อศึกษาวิธีการทาน้าหมักชีวะภาพ
เพื่อกาจัดเศษอาหารให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
O B J E C T I V E
เพื่อลดปัญหาเศษอาหารที่มากเกิน
เพื่อฝึกทักษะการแก้ปัญหา
วัตถุประสงค์
วิธีการทาน้าหมักชีวะภาพ
สูตรการทาน้าหมักชีวะภาพที่ใช้ในเรื่องต่างๆ
ประเภทของน้าหมักชีวะภาพ
ขอบเขต
โครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้รับความรู้ในเรื่องการทาน้าหมักชีวะภาพ
เศษอาหารลดลง
มีการเจริญงอกงามของผลผลิตทางการเกษตร จากการใช้
น้าหมักจากเศษอาหาร
ทาให้คนในชุมชนได้เห็นถึงประโยชน์ของสิ่งที่ไม่มีคุณค่า
วิธีทาน้าหมักชีวภาพ
น้าหมักคือ?
วิธีการใช้น้าหมัก
ประโยชน์
สูตรน้าหมักชีวภาพ
01
02
0304
05
Effective Microorganism
นํ้าหมักชีวภาพ คือ นํ้าหมักที่ได้จากการหมักเศษซากพืช
ซากสัตว์หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นด้วยจุลินทรีย์
จําเพาะ ซึ่งอาจหมักร่วมกับกากนํ้าตาลหรือนํ้าตาลทรายแดง
กระบวนการหมักของนํ้าหมักชีวภาพจะเกิดจากการย่อย
สลายสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์โดยใช้กากนํ้าตาล และนํ้าตาลจากสาร
อินทรีย์เป็นแหล่งพลังงาน แบ่งเป็น 2 แบบ
1. กำรหมักแบบต้องกำรออกซิเจน
เป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ต้องการออกซิเจนสาหรับกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์
เพื่อสร้างเป็นพลังงานและอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะเกิดน้อยในกระบวนการหมักน้าหมัก
ชีวภาพ และมักเกิดในช่วงแรกของการหมัก แต่เมื่อออกซิเจนในน้าและอากาศหมด จุลินทรีย์แบบใช้
ออกซิเจนจะลดน้อยลง และหมดไปจนเหลือเฉพาะการหมักจากจุลินทรีย์แบบไม่ใช้ออกซิเจน
01
02
2. กำรหมักแบบไม่ต้องกำรออกซิเจน
เป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนสาหรับกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์
เพื่อสร้างเป็นพลังงานและอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะเกิดเป็นส่วนใหญ่ในกระบวนการหมัก
น้าหมักชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ส่วนพวกเมอเคปเทนและก๊าซซัลไฟด์
จะปล่อยออกมาเล็กน้อย
𝑶 𝟐
𝑪𝑶 𝟐
1. น้ำหมักชีวภำพจำกพืช
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
– ชนิดที่ใช้ผักและเศษพืช เป็นน้าหมักที่ได้จาก
เศษพืช เศษผักจากแปลงเกษตรหลังการเก็บและ
คัดแยกผลผลิต น้าหมักที่ได้มีลักษณะเป็นน้าข้น
สีน้าตาล มีกลิ่นหอม ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต
โปรตีน กรดอะมิโน กรดแลคติค และฮอร์โมน
เอนไซม์
– ชนิดที่ใช้ขยะเปียก เป็นน้าหมักที่ได้จากขยะใน
ครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผักผลไม้ น้าหมัก
ที่ได้มีลักษณะข้นสีน้าตาลจางกว่าชนิดแรก และมี
กลิ่นหอมน้อยกว่า บางครั้งอาจมีกลิ่นเหม็นบ้าง
เล็กน้อย ต้องใช้กากน้าตาลเป็นส่วนผสม
Effective
Microorganism
Effective
Microorganism
2. น้ำหมักชีวภำพจำกสัตว์
เป็นน้าหมักที่ได้จากเศษเนื้อต่าง ๆ เช่น เนื้อปลา
เนื้อหอย เป็นต้น น้าหมักที่ได้จะมีสีน้าตาลเข้ม
มักมีกลิ่นเหม็นมากกว่าน้าหมักที่ได้จากวัตถุหมัก
อื่น ๆ ต้องใช้กากน้าตาลเป็นส่วนผสม
3. น้ำหมักชีวภำพผสม
เป็นน้าหมักที่ได้จาการหมักพืช และเนื้อสัตว์
รวมกัน ส่วนมากมักเป็นแหล่งที่ได้จากเศษ
อาหารในครัวเรือนเป็นหลัก
วิธีท้ำ
ใช้พืชที่มีลักษณะสดใหม่ สมบูรณ์ อวบน้า โตเร็ว ไม่มีโรค(เน่า) ทุกส่วน ๆ ละไม่มากนักจากพืช
หลาย ๆ ชนิด ทั้งพืชที่กินได้และวัชพืช นามาสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือบดละเอียดให้ได้ปริมาณ 3 กก.
แล้วบรรจุเศษพืชที่ได้ลงในภาชนะ และเติมกากน้าตาลลงไป 1 ลิตร คนหรือเขย่าให้เข้ากัน ให้เศษพืช
จมอยู่ในกากน้าตาลตลอดเวลา ปิดฝาภาชนะ เก็บไว้ในที่มืดภายใต้ อุณหภูมิห้องนาน 7 วัน สามารถ
นาไปใช้ได้
กำรปฏิบัติระหว่ำงกำรหมัก
เขย่าภาชนะที่หมักพร้อมกับเปิดฝา วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น เมื่อครบ 7 วัน ให้ดมกลิ่น ถ้าหอม
หวานแสดงว่า "ดี“ สามารถนาไปใช้ได้ ถ้าบูดเปรี้ยวแสดงว่า "ไม่ดี" ให้แก้ไขด้วยการเติมกากน้าตาล
หรือของที่ใส่ครั้งแรกแล้วหมักต่ออีก 3 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานก็แสดงว่า "ดี" ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ยวอีก
ให้เติมน้าตาลอีกแล้วหมักต่อไปจนกว่าจะมีกลิ่นหอมหวาน เมื่อได้น้าหมักที่ดีแล้วให้เก็บไว้ในที่มืดภายใต้
อุณหภูมิห้อง เก็บได้นาน 6 เดือน - 1 ปี ระหว่างเก็บหากมีกลิ่นบูดเปรี้ยวให้เติมกากน้าตาลลงไป
สูตรที่ 1
ส้ำหรับ
พืชกินใบ
สูตรที่ 2
ส้ำหรับพืชผัก
กินดอกผล
วัสดุ
1) ผลไม้สุก (ฟักทองแก่, มะละกอทั้งเนื้อและเมล็ด กล้วยน้าว้า บวบเหลี่ยม มะเขือเทศ)
2) พืชสด (ช่วงใบแก่อ้วนเอาทั้งปลายยอดและปลายราก)
3) กากน้าตาล อัตราส่วน 2 : 1 : 1
วิธีท้ำ
ใช้พืชที่มีลักษณะสดใหม่ สมบูรณ์ อวบน้า โตเร็ว ไม่มีโรค(เน่า) ทุกส่วน ๆ ละไม่มากนัก จากพืชหลาย ๆ
ชนิด ทั้งพืชที่กินได้และวัชพืช นามาสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือบดละเอียดให้ได้ปริมาณ 3 กก. แล้วบรรจุเศษพืชที่
ได้ลงในภาชนะ และเติมกากน้าตาลลงไป 1 ลิตร คนหรือเขย่าให้เข้ากันให้เศษพืชจมอยู่ในกากน้าตาลตลอดเวลา
ปิดฝาภาชนะ เก็บไว้ในที่มืดภายใต้อุณหภูมิห้องนาน 7 วัน สามารถนาไปใช้ได้
กำรปฏิบัติระหว่ำงกำรหมัก
เขย่าภาชนะที่หมักพร้อมกับเปิดฝา วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น เมื่อครบ 7 วัน ให้ดมกลิ่น ถ้าหอมหวาน
แสดงว่า "ดี“ สามารถนาไปใช้ได้ ถ้าบูดเปรี้ยวแสดงว่า "ไม่ดี" ให้แก้ไขด้วยการเติมกากน้าตาล หรือของที่ใส่ครั้ง
แรกแล้วหมักต่ออีก 3 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานก็แสดงว่า "ดี" ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ยวอีกให้เติมน้าตาลอีกแล้วหมักต่อไป
จนกว่าจะมีกลิ่นหอมหวาน เมื่อได้น้าหมักที่ดีแล้วให้เก็บไว้ในที่มืดภายใต้อุณหภูมิห้อง เก็บได้นาน 6 เดือน - 1 ปี
ระหว่างเก็บหากมีกลิ่นบูดเปรี้ยวให้เติมกากน้าตาลลงไป
สูตรที่ 3
ส้ำหรับพืชผัก
ผลไม้ พืชไร่
นำข้ำว
วัสดุ
1) พืชสด (สูตร 1)
2) พืชสดและผลไม้สุก (สูตร 2)
3) ปลาเป็น ๆ หอยเชอรี่ ไข่หอยเชอรี่ กระดูกป่น
4) ตัวเสริม (ขี้เด็กทารก ขี้ไก่ค้างคอน ขี้นกปากห่าง ขี้เป็ดกินหอย ยาคูลท์ โยเกิร์ต กระทิงแดง ระลาเอียด)
5) กากน้าตาล ผสมในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 : เล็กน้อย : พอท่วม
วิธีท้ำ
เตรียมวัสดุในการทานาหมักสูตร 1 และ สูตร 2 ตามอัตราส่วนที่กาหนด นาปลาสด (ทั้งตัว) หอยเชอรี่
ไข่หอยเชอรี่ มาบด โขลก สับให้ละเอียด เพื่อง่ายในการย่อยสลาย บรรจุเศษพืช เศษปลา เศษหอยที่บด โขลก
สับละเอียดแล้วลงภาชนะ (ควรเป็นโอ่งหรือภาชนะพลาสติกไม่แนะนาให้ใช้โลหะ) แล้วเติมกากน้าตาลลงไป
คลุกเคล้าพอคลุกคลิก เติมน้ามะพร้าวอ่อน คลุกเคล้าลงไปอีกเพื่อให้มีน้ามากขึ้นพอท่วมเศษวัสดุ คนหรือเขย่า
ให้เข้ากัน ให้เศษพืชจมอยู่ในกากน้าตาลตลอดเวลา ปิดฝาภาชนะเก็บไว้ที่มืดอุณหภูมิห้องนาน 7 วัน ก็สามารถ
นาไปใช้ได้
กำรปฏิบัติต่อปุ๋ยน้ำชีวภำพระหว่ำงกำรหมัก ปฏิบัติตำมสูตร 2 จนถึงขันตอนสุดท้ำย
2) เตรียมดินแปลกปลูก หรือหลุมปลูกไม้ผล อัตราส่วน
30-50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ผสมกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
5) เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกเป็นเวลา 12 ชั่วโมงของ
เมล็ดพันธุ์ อัตราส่วน 15-20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร แช่เมล็ด
พันธุ์พอท่วมก่อนเพาะ
4) กาจัดน้าเสียโดย อัตราส่วน 75-100 ซี.ซี./น้า
20 ลิตร ราดให้ทั่วบริเวณน้าเสียหรือในคอกปศุสัตว์
3) ใช้แทนสารเร่งปุ๋ยหมัก อัตราส่วน 75-100
ซี.ซี./น้า 20 ลิตร พรมลงบนวัสดุทาปุ๋ยหมัก
1) พืชผักสวนครัว พืชไร่ ไม้ผลยืนต้น ให้ทางใบ อัตราส่วน
15-20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ทุก ๆ 5-7 วัน ควบคู่กับให้ทางราก
30-50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ทุก ๆ 15-20 วัน.
ส้ำหรับสูตร 1
1) สูตร 2 เหมาะสาหรับพืชผักที่ใช้กินดอกผล เช่น
กะหล่าดอก แตงโม แตงกวา แตงเทศ แคนตาลูป
ถั่วฝักยาว ถั่วแปบ ถั่วเหลือง มะรุม น้าเต้า กุยช่าย
บวบต่างๆ มะเขือต่างๆ ฟักทอง ฟักเขียว พริกต่างๆ
4) สูตร 2 นี้ ใช้จนถึงระยะออกดอกติดผลก็ได้
3) ใช้อัตราส่วน 30 - 50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ราดทางดิน
สลับการฉีดทางใบ 5 - 7 วัน/ครั้ง จะทาให้ดินร่วนซุย
2) ใช้อัตราส่วน 0.5 - 20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร
ฉีดพ่นทางใบทุก ๆ 5 - 7 วัน/ครั้ง
ส้ำหรับสูตร 2
อัตราและ
วิธีการใช้
น้าหมักชีวภาพ
⇒ พืชไร่
1. ช่วงเตรียมดิน
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 5 ลิตร/น้า 20 ลิตร/ไร่
วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราส่วนข้างต้น และฉีดพ่นดินก่อนการไถพรวนดิน
หรือไถกลบซังข้าว
2. การแช่ท่อนพันธุ์อ้อย และมันสาปะหลัง
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 100 ลิตร
วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราข้างต้น พร้อมนาท่อนพันธุ์ แช่นาน 20-30 นาที
ก่อนปลูก
3. ช่วงการเจริญเติบโต
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 0.5-1 ลิตร/น้า 20 ลิตร/ไร่
วิธีใช้ : ฉีดพ่นบนต้นพืชทั้งระยะแตกกิ่ง แตกใบ ออกดอก และติดผล
⇒ ข้ำว
1. การแช่เมล็ดพันธุ์ข้าว
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 30 ลิตร/เมล็ดข้าว 20 กิโลกรัม
วิธีใช้ : แช่เมล็ดข้าว 1-2 วัน ก่อนหว่านเมล็ด
2. ช่วงเตรียมดิน
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 40 ลิตร/ไร่
วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราส่วนข้างต้น และฉีดพ่นดินก่อนการไถพรวนดิน
หรือไถกลบซังข้าว
3. ช่วงการเจริญเติบโต
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 50 ลิตร/ไร่
วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราส่วนข้างต้น แล้วฉีดพ่นต้นพืช
อัตราและ
วิธีการใช้
น้าหมักชีวภาพ
⇒ พืชผัก และไม้ดอก
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า
50 ลิตร/ไร่
วิธีใช้ : เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบน
ต้นพืชในทุกระยะ
⇒ ไม้ผล
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า
50 ลิตร/ไร่
วิธีใช้ : เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบน
ต้นพืชในทุกระยะ โดยเฉพาช่วงออกดอก
และติดผล
⇒ บ่อกุ้งหรือบ่อปลา
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 1
คิว
วิธีใช้ : เติมน้าหมักลงบ่อเลี้ยงทุก ๆ 1 เดือน
⇒ คอกเลี้ยงสัตว์
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า
40 ลิตร/พื้นที่ 100 ตารางเมตร
วิธีใช้ : เจือจางด้วยน้า และฉีดพ่นบนลาน
หรือคอกสัตว์ บนตัวสัตว์ ทุก ๆ 1-3 เดือน
อัตราและ
วิธีการใช้
น้าหมักชีวภาพ
ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
1. ด้ำนกำรเกษตร
– ใช้ฉีดพ่นหรือเติมในดินหรือน้า ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด-
ด่าง ในดิน และน้า
– ใช้เติมในดิน ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดิน ทาให้ดินร่วนซุย
อุ้มน้าได้ดี และช่วยเพิ่มจานวนจุลินทรีย์ในดิน และน้า
– ช่วยเพิ่มอัตราการย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน และน้า
– ใช้รดต้นพืชหรือแช่เมล็ดพันธุ์ ท่อนพันธุ์ เพื่อเร่งการเกิดราก
และการเจริญเติบโตของพืช
– เป็นสารที่ทาหน้าที่เหมือนฮอร์โมนพืช กระตุ้นการเกิดราก
และการเจริญเติบโต ทาให้ผลผลิต และคุณภาพสูงขึ้น
– ใช้ฉีดพ่นในแปลงเกษตร ช่วยต้านแมลงศัตรูพืช และลดจานวน
แมลงศัตรูพืช
– ใช้ฉีดพ่นในแปลงผัก ผลไม้ หรือผลผลิตต่าง ๆ เพื่อป้องกันการ
ทาลายผลผลิตของแมลง
2. ด้ำนปศุสัตว์
– ใช้ฉีดพ่นตามพื้นดินในฟาร์มเพื่อลดกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
ซากพืช ซากสัตว์ในฟาร์ม
– ใช้เติมในน้าเสียเพื่อกาจัดน้าเสียด้วยการเพิ่มจานวนจุลินทรีย์
ในการย่อยสารอินทรีย์ในน้าเสีย
– ใช้ฉีดพ่นตามพื้นหรือตัวสัตว์เพื่อป้องกัน และลดจานวนของ
จุลินทรีย์ก่อโทษ และเชื้อโรคต่าง ๆ
– ช่วยป้องกันแมลงวัน และการเจริญเติบโตของหนอนแมลง
ต่าง ๆ
– ใช้ผสมอาหารสัตว์จาพวกหญ้าเพื่อเพิ่มจานวนจุลินทรีย์ใน
กระเพาะอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
– ใช้หมักหญ้า ฟางข้าวหรือหญ้าอาหารสัตว์เพื่อให้เกิดการย่อย
ง่าย
ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
3. ด้ำนกำรประมง
การใช้ในด้านการประมงมักใช้น้าหมักชีวภาพเติมในบ่อเลี้ยงปลา
เพื่อประโยชน์ในด้านต่าง ๆ คือ
– เพื่อปรับความเป็นกรด-ด่าง
– เพื่อเพิ่มจานวนจุลินทรีย์สาหรับการย่อยสลายสิ่งสกปรกในบ่อปลา
– เพื่อต้าน และลดจานวนเชื้อโรคที่ก่อโทษในสัตว์น้า
– เพื่อรักษาแผลของสัตว์น้า
– ช่วยลดปริมาณขี้เลนในบ่อ ด้วยการช่วยย่อยสลายสิ่งเน่าเสีย
ด้านล่างบ่อ
ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
4. ด้ำนสิ่งแวดล้อม
– ใช้เติมในระบบบาบัดน้าเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์ การประมง
โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชน
– ใช้เติมในบ่อขยะ ช่วยย่อยสลายขยะ และกาจัดกลิ่นเหม็น
– ใช้ปรับสภาพของเสียจากครัวเรือนก่อนนาไปใช้ประโยชน์ใน
การเกษตร
ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
EM Microbial solution to save the earth
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. เศษอาหาร
2. น้าตาลทราย หรือกากน้าตาล
3. ถังที่มีฝาปิด ขนาด 10 ลิตร
งบประมำณ
- กากน้าตาล 80 บาท/5ลิตร
วิธีการจัดทาโครงงาน
วิธีด้ำเนินงำน
1. วางแผนงานว่าจะเริ่มทาอะไรตรงไหนอย่างไรบ้าง อย่างเป็นระบบ
2. เริ่มสารวจว่าแต่ละวันเหลือเศษอาหารบริมาณเท่าไหร่บ้าง จด
บันทึกไว้และนาข้อมูลมาคานวนว่าในการทาน้าหมักแต่ละครั้งต่อเศษ
อาหารในแต่ละวันจะได้ออกมาในปริมาณเท่าไหร่
3. จัดหาอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว เป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ
จัดหาอุปกรณ์
4. ลงมือทาน้าหมักจากเศษอาหารโดยทาตามสูตรแต่ละสูตร ที่จะ
ให้ผลของน้าหมักที่ต่างกันออกไป และหมักตามระยะเวลาที่กาหนด
โดยหมั่นตรวจสอบและสังเกตการเปลี่ยนแปลงเสมอ ๆ
5. เมื่อถึงระยะเวลาที่กาหนดแล้ว นาน้าหมักที่ทาออกมาในแต่ละ
สูตรมาใช้ในแปลงเกษตร โดยกาหนดตัวแปลควบคุมคือ ชนิดของ
ต้นไม้ ปริมาณในการให้น้าหมัก ช่วงเวลาในการให้น้าหมัก แล้วบันทึก
ผลที่ได้
วิธีการจัดทาโครงงาน
ล้ำดับ ขันตอน
สัปดำห์
ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
• ได้รับความรู้ในเรื่องการทาน้าหมักชีวะภาพ
• การกาจัดเศษอาหารเหลือจากโรงอาหารเป็นเรื่องง่ายขึ้น
• เศษอาหารลดลง
• มีการเจริญงอกงามของผลผลิตทางการเกษตร จากการใช้น้าหมัก
จากเศษอาหาร
• ทาให้คนในชุมชนได้เห็นถึงประโยชน์ของสิ่งที่ไม่มีคุณค่า
ผลการศึกษา
โครงการสวนผักคนเมือง.//(2560).//ทาน้าหมักชีวภาพจากเศษอาหาร.//สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิ-
กายน 2562,/จาก/http://www.thaicityfarm.com/2018/02/19
บ้านไร่นาเรา.//(2559).// 4 สูตรน้าหมักชีวภาพยอดนิยม.// สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562,/
http:// www.banrainarao.com/knowledge/biofer_10
เกษตรพื้นฐาน.//(2558).//น้าหมักชีวภาพ และวิธีทาน้าหมักชีวภาพ.// สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน
2562,/ https://puechkaset.com
ไทยรัฐ.//(2559).//น้าหมักชีวภาพสูตรพลิกโลก งอกเร็ว ต้านโรค เพิ่มผลผลิต.// สืบค้นเมื่อ 21
พฤศจิกายน 2562,/ thaicityfarm.com/2018/02/19/ทาน้าหมักชีวภาพจากเศษอ/
บ้านและสวน.//(2562).//ทาปุ๋ยจากเศษอาหาร ในครัวเรือน.//สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562,/
จาก /https://www.baanlaesuan.com/44024/plant-scoop/fertilizer
บรรณานุกรม
Thank You

More Related Content

What's hot

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31Phai Trinod
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อWisan Butsaman
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชchunkidtid
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้Beaubeau Reedus
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 

What's hot (20)

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 

Similar to Com project

Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดาruksuda
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดาruksuda
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
The use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceThe use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceworachak11
 

Similar to Com project (20)

Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดา
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดา
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
The use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceThe use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of rice
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 

Com project

  • 2. เรื่อง น้ำหมักชีวะภำพจำกเศษอำหำรภำยในโรงเรียน เกี่ยวกับโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร ผู้จัดท้ำ นางสาวพิชญพิมพ์พร อนันตบุญวัฒน์ เลขที่ 13 นางสาวอารีวรรณ สุพรรณรัตน์ เลขที่ 47 ครูที่ปรึกษำ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ สถำนศึกษำ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ปีกำรศึกษำ 2563
  • 3. contents หลักการและทฤษฎี ผลการศึกษา วิดีโอ EM บทนา วิธีการดาเนินงาน บรรณานุกรม
  • 4. โรงเรียนเกือบแทบทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็ก กลาง ไล่ไปจนถึงใหญ่มักจะประสบกับปัญหา ของเศษอาหารภายในโรงเรียนที่เกิดจากการทานอาหารกลางวันเหลือหรือการไม่ทานบางอย่างบนจาน อาหารของเด็กนักเรียน รวมไปถึงของครูเอง ทาให้ปริมาณเศษอาหารจากเด็กนักเรียนคนละเล็กละน้อย สะสมเพิ่มขึ้นมากเกินจนไม่สามารถกาจัดได้หมด และเศษอาหารยังเป็นแหล่งรวมเชื่อโรคต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น เราจึงต้องหาวิธีเพื่อที่จะกาจัดเศษอาหาร เพื่อลดปัญหาต่าง ๆ ที่จะตามมากับเศษอาหารเหลือ พวกนี้ ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ไปศึกษาหาวิธีการต่าง ๆ ในการกาจัดเศษอาหาร ภายในโรงเรียน จนกระทั่งได้ เจอกับการทาน้าหมักชีวภาพ หรือ EM ที่ย่อมาจาก Effective Microorganisms เป็นการนาซากพืชซาก สัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ มาหมักด้วยจุลินทรีจาเพาะ ทิ้งไว้สักระยะเวลาหนึ่งจะทาให้เราได้ปุ๋ย ชีวะภาพที่เราสามารถนาไปใช้กับพืชผลทางการเกษตรของเรา เป็นการลดการใช้สารเคมีไปในตัว การทา น้าหมักชีวะภาพนี้ยังเป็นการใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 ในเรื่อง ของการใช้อธรรมปราบอธรรม นอกจากจะลดปัญหาเศษอาหารแล้วยังได้พืชผลทางการเกษตรที่เจริญ งอกงามไร้สารเคมีทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้นอีกด้วย
  • 9. Effective Microorganism นํ้าหมักชีวภาพ คือ นํ้าหมักที่ได้จากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นด้วยจุลินทรีย์ จําเพาะ ซึ่งอาจหมักร่วมกับกากนํ้าตาลหรือนํ้าตาลทรายแดง กระบวนการหมักของนํ้าหมักชีวภาพจะเกิดจากการย่อย สลายสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์โดยใช้กากนํ้าตาล และนํ้าตาลจากสาร อินทรีย์เป็นแหล่งพลังงาน แบ่งเป็น 2 แบบ
  • 10. 1. กำรหมักแบบต้องกำรออกซิเจน เป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ต้องการออกซิเจนสาหรับกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ เพื่อสร้างเป็นพลังงานและอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะเกิดน้อยในกระบวนการหมักน้าหมัก ชีวภาพ และมักเกิดในช่วงแรกของการหมัก แต่เมื่อออกซิเจนในน้าและอากาศหมด จุลินทรีย์แบบใช้ ออกซิเจนจะลดน้อยลง และหมดไปจนเหลือเฉพาะการหมักจากจุลินทรีย์แบบไม่ใช้ออกซิเจน 01 02 2. กำรหมักแบบไม่ต้องกำรออกซิเจน เป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนสาหรับกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ เพื่อสร้างเป็นพลังงานและอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะเกิดเป็นส่วนใหญ่ในกระบวนการหมัก น้าหมักชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ส่วนพวกเมอเคปเทนและก๊าซซัลไฟด์ จะปล่อยออกมาเล็กน้อย 𝑶 𝟐 𝑪𝑶 𝟐
  • 11. 1. น้ำหมักชีวภำพจำกพืช แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ – ชนิดที่ใช้ผักและเศษพืช เป็นน้าหมักที่ได้จาก เศษพืช เศษผักจากแปลงเกษตรหลังการเก็บและ คัดแยกผลผลิต น้าหมักที่ได้มีลักษณะเป็นน้าข้น สีน้าตาล มีกลิ่นหอม ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดอะมิโน กรดแลคติค และฮอร์โมน เอนไซม์ – ชนิดที่ใช้ขยะเปียก เป็นน้าหมักที่ได้จากขยะใน ครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผักผลไม้ น้าหมัก ที่ได้มีลักษณะข้นสีน้าตาลจางกว่าชนิดแรก และมี กลิ่นหอมน้อยกว่า บางครั้งอาจมีกลิ่นเหม็นบ้าง เล็กน้อย ต้องใช้กากน้าตาลเป็นส่วนผสม Effective Microorganism
  • 12. Effective Microorganism 2. น้ำหมักชีวภำพจำกสัตว์ เป็นน้าหมักที่ได้จากเศษเนื้อต่าง ๆ เช่น เนื้อปลา เนื้อหอย เป็นต้น น้าหมักที่ได้จะมีสีน้าตาลเข้ม มักมีกลิ่นเหม็นมากกว่าน้าหมักที่ได้จากวัตถุหมัก อื่น ๆ ต้องใช้กากน้าตาลเป็นส่วนผสม 3. น้ำหมักชีวภำพผสม เป็นน้าหมักที่ได้จาการหมักพืช และเนื้อสัตว์ รวมกัน ส่วนมากมักเป็นแหล่งที่ได้จากเศษ อาหารในครัวเรือนเป็นหลัก
  • 13. วิธีท้ำ ใช้พืชที่มีลักษณะสดใหม่ สมบูรณ์ อวบน้า โตเร็ว ไม่มีโรค(เน่า) ทุกส่วน ๆ ละไม่มากนักจากพืช หลาย ๆ ชนิด ทั้งพืชที่กินได้และวัชพืช นามาสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือบดละเอียดให้ได้ปริมาณ 3 กก. แล้วบรรจุเศษพืชที่ได้ลงในภาชนะ และเติมกากน้าตาลลงไป 1 ลิตร คนหรือเขย่าให้เข้ากัน ให้เศษพืช จมอยู่ในกากน้าตาลตลอดเวลา ปิดฝาภาชนะ เก็บไว้ในที่มืดภายใต้ อุณหภูมิห้องนาน 7 วัน สามารถ นาไปใช้ได้ กำรปฏิบัติระหว่ำงกำรหมัก เขย่าภาชนะที่หมักพร้อมกับเปิดฝา วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น เมื่อครบ 7 วัน ให้ดมกลิ่น ถ้าหอม หวานแสดงว่า "ดี“ สามารถนาไปใช้ได้ ถ้าบูดเปรี้ยวแสดงว่า "ไม่ดี" ให้แก้ไขด้วยการเติมกากน้าตาล หรือของที่ใส่ครั้งแรกแล้วหมักต่ออีก 3 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานก็แสดงว่า "ดี" ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ยวอีก ให้เติมน้าตาลอีกแล้วหมักต่อไปจนกว่าจะมีกลิ่นหอมหวาน เมื่อได้น้าหมักที่ดีแล้วให้เก็บไว้ในที่มืดภายใต้ อุณหภูมิห้อง เก็บได้นาน 6 เดือน - 1 ปี ระหว่างเก็บหากมีกลิ่นบูดเปรี้ยวให้เติมกากน้าตาลลงไป สูตรที่ 1 ส้ำหรับ พืชกินใบ
  • 14. สูตรที่ 2 ส้ำหรับพืชผัก กินดอกผล วัสดุ 1) ผลไม้สุก (ฟักทองแก่, มะละกอทั้งเนื้อและเมล็ด กล้วยน้าว้า บวบเหลี่ยม มะเขือเทศ) 2) พืชสด (ช่วงใบแก่อ้วนเอาทั้งปลายยอดและปลายราก) 3) กากน้าตาล อัตราส่วน 2 : 1 : 1 วิธีท้ำ ใช้พืชที่มีลักษณะสดใหม่ สมบูรณ์ อวบน้า โตเร็ว ไม่มีโรค(เน่า) ทุกส่วน ๆ ละไม่มากนัก จากพืชหลาย ๆ ชนิด ทั้งพืชที่กินได้และวัชพืช นามาสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือบดละเอียดให้ได้ปริมาณ 3 กก. แล้วบรรจุเศษพืชที่ ได้ลงในภาชนะ และเติมกากน้าตาลลงไป 1 ลิตร คนหรือเขย่าให้เข้ากันให้เศษพืชจมอยู่ในกากน้าตาลตลอดเวลา ปิดฝาภาชนะ เก็บไว้ในที่มืดภายใต้อุณหภูมิห้องนาน 7 วัน สามารถนาไปใช้ได้ กำรปฏิบัติระหว่ำงกำรหมัก เขย่าภาชนะที่หมักพร้อมกับเปิดฝา วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น เมื่อครบ 7 วัน ให้ดมกลิ่น ถ้าหอมหวาน แสดงว่า "ดี“ สามารถนาไปใช้ได้ ถ้าบูดเปรี้ยวแสดงว่า "ไม่ดี" ให้แก้ไขด้วยการเติมกากน้าตาล หรือของที่ใส่ครั้ง แรกแล้วหมักต่ออีก 3 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานก็แสดงว่า "ดี" ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ยวอีกให้เติมน้าตาลอีกแล้วหมักต่อไป จนกว่าจะมีกลิ่นหอมหวาน เมื่อได้น้าหมักที่ดีแล้วให้เก็บไว้ในที่มืดภายใต้อุณหภูมิห้อง เก็บได้นาน 6 เดือน - 1 ปี ระหว่างเก็บหากมีกลิ่นบูดเปรี้ยวให้เติมกากน้าตาลลงไป
  • 15. สูตรที่ 3 ส้ำหรับพืชผัก ผลไม้ พืชไร่ นำข้ำว วัสดุ 1) พืชสด (สูตร 1) 2) พืชสดและผลไม้สุก (สูตร 2) 3) ปลาเป็น ๆ หอยเชอรี่ ไข่หอยเชอรี่ กระดูกป่น 4) ตัวเสริม (ขี้เด็กทารก ขี้ไก่ค้างคอน ขี้นกปากห่าง ขี้เป็ดกินหอย ยาคูลท์ โยเกิร์ต กระทิงแดง ระลาเอียด) 5) กากน้าตาล ผสมในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 : เล็กน้อย : พอท่วม วิธีท้ำ เตรียมวัสดุในการทานาหมักสูตร 1 และ สูตร 2 ตามอัตราส่วนที่กาหนด นาปลาสด (ทั้งตัว) หอยเชอรี่ ไข่หอยเชอรี่ มาบด โขลก สับให้ละเอียด เพื่อง่ายในการย่อยสลาย บรรจุเศษพืช เศษปลา เศษหอยที่บด โขลก สับละเอียดแล้วลงภาชนะ (ควรเป็นโอ่งหรือภาชนะพลาสติกไม่แนะนาให้ใช้โลหะ) แล้วเติมกากน้าตาลลงไป คลุกเคล้าพอคลุกคลิก เติมน้ามะพร้าวอ่อน คลุกเคล้าลงไปอีกเพื่อให้มีน้ามากขึ้นพอท่วมเศษวัสดุ คนหรือเขย่า ให้เข้ากัน ให้เศษพืชจมอยู่ในกากน้าตาลตลอดเวลา ปิดฝาภาชนะเก็บไว้ที่มืดอุณหภูมิห้องนาน 7 วัน ก็สามารถ นาไปใช้ได้ กำรปฏิบัติต่อปุ๋ยน้ำชีวภำพระหว่ำงกำรหมัก ปฏิบัติตำมสูตร 2 จนถึงขันตอนสุดท้ำย
  • 16. 2) เตรียมดินแปลกปลูก หรือหลุมปลูกไม้ผล อัตราส่วน 30-50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ผสมกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก 5) เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกเป็นเวลา 12 ชั่วโมงของ เมล็ดพันธุ์ อัตราส่วน 15-20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร แช่เมล็ด พันธุ์พอท่วมก่อนเพาะ 4) กาจัดน้าเสียโดย อัตราส่วน 75-100 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ราดให้ทั่วบริเวณน้าเสียหรือในคอกปศุสัตว์ 3) ใช้แทนสารเร่งปุ๋ยหมัก อัตราส่วน 75-100 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร พรมลงบนวัสดุทาปุ๋ยหมัก 1) พืชผักสวนครัว พืชไร่ ไม้ผลยืนต้น ให้ทางใบ อัตราส่วน 15-20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ทุก ๆ 5-7 วัน ควบคู่กับให้ทางราก 30-50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ทุก ๆ 15-20 วัน. ส้ำหรับสูตร 1
  • 17. 1) สูตร 2 เหมาะสาหรับพืชผักที่ใช้กินดอกผล เช่น กะหล่าดอก แตงโม แตงกวา แตงเทศ แคนตาลูป ถั่วฝักยาว ถั่วแปบ ถั่วเหลือง มะรุม น้าเต้า กุยช่าย บวบต่างๆ มะเขือต่างๆ ฟักทอง ฟักเขียว พริกต่างๆ 4) สูตร 2 นี้ ใช้จนถึงระยะออกดอกติดผลก็ได้ 3) ใช้อัตราส่วน 30 - 50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ราดทางดิน สลับการฉีดทางใบ 5 - 7 วัน/ครั้ง จะทาให้ดินร่วนซุย 2) ใช้อัตราส่วน 0.5 - 20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบทุก ๆ 5 - 7 วัน/ครั้ง ส้ำหรับสูตร 2
  • 18. อัตราและ วิธีการใช้ น้าหมักชีวภาพ ⇒ พืชไร่ 1. ช่วงเตรียมดิน อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 5 ลิตร/น้า 20 ลิตร/ไร่ วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราส่วนข้างต้น และฉีดพ่นดินก่อนการไถพรวนดิน หรือไถกลบซังข้าว 2. การแช่ท่อนพันธุ์อ้อย และมันสาปะหลัง อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 100 ลิตร วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราข้างต้น พร้อมนาท่อนพันธุ์ แช่นาน 20-30 นาที ก่อนปลูก 3. ช่วงการเจริญเติบโต อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 0.5-1 ลิตร/น้า 20 ลิตร/ไร่ วิธีใช้ : ฉีดพ่นบนต้นพืชทั้งระยะแตกกิ่ง แตกใบ ออกดอก และติดผล
  • 19. ⇒ ข้ำว 1. การแช่เมล็ดพันธุ์ข้าว อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 30 ลิตร/เมล็ดข้าว 20 กิโลกรัม วิธีใช้ : แช่เมล็ดข้าว 1-2 วัน ก่อนหว่านเมล็ด 2. ช่วงเตรียมดิน อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 40 ลิตร/ไร่ วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราส่วนข้างต้น และฉีดพ่นดินก่อนการไถพรวนดิน หรือไถกลบซังข้าว 3. ช่วงการเจริญเติบโต อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 50 ลิตร/ไร่ วิธีใช้ : เจือจางน้าหมักด้วยน้าในอัตราส่วนข้างต้น แล้วฉีดพ่นต้นพืช อัตราและ วิธีการใช้ น้าหมักชีวภาพ
  • 20. ⇒ พืชผัก และไม้ดอก อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 50 ลิตร/ไร่ วิธีใช้ : เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบน ต้นพืชในทุกระยะ ⇒ ไม้ผล อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 50 ลิตร/ไร่ วิธีใช้ : เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบน ต้นพืชในทุกระยะ โดยเฉพาช่วงออกดอก และติดผล ⇒ บ่อกุ้งหรือบ่อปลา อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 1 คิว วิธีใช้ : เติมน้าหมักลงบ่อเลี้ยงทุก ๆ 1 เดือน ⇒ คอกเลี้ยงสัตว์ อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร/น้า 40 ลิตร/พื้นที่ 100 ตารางเมตร วิธีใช้ : เจือจางด้วยน้า และฉีดพ่นบนลาน หรือคอกสัตว์ บนตัวสัตว์ ทุก ๆ 1-3 เดือน อัตราและ วิธีการใช้ น้าหมักชีวภาพ
  • 21.
  • 22. ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ 1. ด้ำนกำรเกษตร – ใช้ฉีดพ่นหรือเติมในดินหรือน้า ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด- ด่าง ในดิน และน้า – ใช้เติมในดิน ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดิน ทาให้ดินร่วนซุย อุ้มน้าได้ดี และช่วยเพิ่มจานวนจุลินทรีย์ในดิน และน้า – ช่วยเพิ่มอัตราการย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน และน้า – ใช้รดต้นพืชหรือแช่เมล็ดพันธุ์ ท่อนพันธุ์ เพื่อเร่งการเกิดราก และการเจริญเติบโตของพืช – เป็นสารที่ทาหน้าที่เหมือนฮอร์โมนพืช กระตุ้นการเกิดราก และการเจริญเติบโต ทาให้ผลผลิต และคุณภาพสูงขึ้น – ใช้ฉีดพ่นในแปลงเกษตร ช่วยต้านแมลงศัตรูพืช และลดจานวน แมลงศัตรูพืช – ใช้ฉีดพ่นในแปลงผัก ผลไม้ หรือผลผลิตต่าง ๆ เพื่อป้องกันการ ทาลายผลผลิตของแมลง
  • 23. 2. ด้ำนปศุสัตว์ – ใช้ฉีดพ่นตามพื้นดินในฟาร์มเพื่อลดกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์ ซากพืช ซากสัตว์ในฟาร์ม – ใช้เติมในน้าเสียเพื่อกาจัดน้าเสียด้วยการเพิ่มจานวนจุลินทรีย์ ในการย่อยสารอินทรีย์ในน้าเสีย – ใช้ฉีดพ่นตามพื้นหรือตัวสัตว์เพื่อป้องกัน และลดจานวนของ จุลินทรีย์ก่อโทษ และเชื้อโรคต่าง ๆ – ช่วยป้องกันแมลงวัน และการเจริญเติบโตของหนอนแมลง ต่าง ๆ – ใช้ผสมอาหารสัตว์จาพวกหญ้าเพื่อเพิ่มจานวนจุลินทรีย์ใน กระเพาะอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง – ใช้หมักหญ้า ฟางข้าวหรือหญ้าอาหารสัตว์เพื่อให้เกิดการย่อย ง่าย ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
  • 24. 3. ด้ำนกำรประมง การใช้ในด้านการประมงมักใช้น้าหมักชีวภาพเติมในบ่อเลี้ยงปลา เพื่อประโยชน์ในด้านต่าง ๆ คือ – เพื่อปรับความเป็นกรด-ด่าง – เพื่อเพิ่มจานวนจุลินทรีย์สาหรับการย่อยสลายสิ่งสกปรกในบ่อปลา – เพื่อต้าน และลดจานวนเชื้อโรคที่ก่อโทษในสัตว์น้า – เพื่อรักษาแผลของสัตว์น้า – ช่วยลดปริมาณขี้เลนในบ่อ ด้วยการช่วยย่อยสลายสิ่งเน่าเสีย ด้านล่างบ่อ ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
  • 25. 4. ด้ำนสิ่งแวดล้อม – ใช้เติมในระบบบาบัดน้าเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์ การประมง โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชน – ใช้เติมในบ่อขยะ ช่วยย่อยสลายขยะ และกาจัดกลิ่นเหม็น – ใช้ปรับสภาพของเสียจากครัวเรือนก่อนนาไปใช้ประโยชน์ใน การเกษตร ประโยชน์ของน้าหมักชีวภาพ
  • 26. EM Microbial solution to save the earth
  • 27. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. เศษอาหาร 2. น้าตาลทราย หรือกากน้าตาล 3. ถังที่มีฝาปิด ขนาด 10 ลิตร งบประมำณ - กากน้าตาล 80 บาท/5ลิตร วิธีการจัดทาโครงงาน
  • 28. วิธีด้ำเนินงำน 1. วางแผนงานว่าจะเริ่มทาอะไรตรงไหนอย่างไรบ้าง อย่างเป็นระบบ 2. เริ่มสารวจว่าแต่ละวันเหลือเศษอาหารบริมาณเท่าไหร่บ้าง จด บันทึกไว้และนาข้อมูลมาคานวนว่าในการทาน้าหมักแต่ละครั้งต่อเศษ อาหารในแต่ละวันจะได้ออกมาในปริมาณเท่าไหร่ 3. จัดหาอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว เป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ จัดหาอุปกรณ์ 4. ลงมือทาน้าหมักจากเศษอาหารโดยทาตามสูตรแต่ละสูตร ที่จะ ให้ผลของน้าหมักที่ต่างกันออกไป และหมักตามระยะเวลาที่กาหนด โดยหมั่นตรวจสอบและสังเกตการเปลี่ยนแปลงเสมอ ๆ 5. เมื่อถึงระยะเวลาที่กาหนดแล้ว นาน้าหมักที่ทาออกมาในแต่ละ สูตรมาใช้ในแปลงเกษตร โดยกาหนดตัวแปลควบคุมคือ ชนิดของ ต้นไม้ ปริมาณในการให้น้าหมัก ช่วงเวลาในการให้น้าหมัก แล้วบันทึก ผลที่ได้ วิธีการจัดทาโครงงาน
  • 29. ล้ำดับ ขันตอน สัปดำห์ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 30. • ได้รับความรู้ในเรื่องการทาน้าหมักชีวะภาพ • การกาจัดเศษอาหารเหลือจากโรงอาหารเป็นเรื่องง่ายขึ้น • เศษอาหารลดลง • มีการเจริญงอกงามของผลผลิตทางการเกษตร จากการใช้น้าหมัก จากเศษอาหาร • ทาให้คนในชุมชนได้เห็นถึงประโยชน์ของสิ่งที่ไม่มีคุณค่า ผลการศึกษา
  • 31. โครงการสวนผักคนเมือง.//(2560).//ทาน้าหมักชีวภาพจากเศษอาหาร.//สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิ- กายน 2562,/จาก/http://www.thaicityfarm.com/2018/02/19 บ้านไร่นาเรา.//(2559).// 4 สูตรน้าหมักชีวภาพยอดนิยม.// สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562,/ http:// www.banrainarao.com/knowledge/biofer_10 เกษตรพื้นฐาน.//(2558).//น้าหมักชีวภาพ และวิธีทาน้าหมักชีวภาพ.// สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562,/ https://puechkaset.com ไทยรัฐ.//(2559).//น้าหมักชีวภาพสูตรพลิกโลก งอกเร็ว ต้านโรค เพิ่มผลผลิต.// สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2562,/ thaicityfarm.com/2018/02/19/ทาน้าหมักชีวภาพจากเศษอ/ บ้านและสวน.//(2562).//ทาปุ๋ยจากเศษอาหาร ในครัวเรือน.//สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562,/ จาก /https://www.baanlaesuan.com/44024/plant-scoop/fertilizer บรรณานุกรม