SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ทวีปออสเตรเลีย (Australia)
พ.ศ.2149 กัปตัน WillemJanszoonชาวดัตช์ได้ค้นพบออสเตรเลียในปีพ.ศ. 2313เจมส์ คุก
เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย
และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรให้ชื่อว่านิวเซาท์เวลส์
ประเทศออสเตรเลียทวีปออสเตรเลียเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนที่เรียกว่าโอเซียเนีย(Oceania)หมายถึง
ทวีปออสเตรเลียกับหมู่เกาะต่างๆในมหาสมุทรแปซิฟิกรวมทั้งหมู่เกาะประเทศนิวซีแลนด์
ทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนียเป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลียประเทศนิวซีแลนด์ทวีปออสเตรเลียได้รับสมญานามว่า
ทวีปเกาะส่วนหมู่เกาะแปซิฟิกซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศอื่นๆต่อเนื่องไปถึงทวีปแอนตาร์กติกเรียกว่าโอเชียเนียหมายถึง
เกาะและหมู่เกาะในภาคกลางและภาคใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกรวมทั้งหมู่เกาะไมโครนีเซียเมลานีเซียโปลีนีเซียออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์และหมู่เกาะมลายู
ทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกมีพื้นที่7.6ล้านตร.กม.มีประชากร17.5 ล้านคน
ที่ตั้งของทวีปออสเตรเลียอยู่ในซีกโลกใต้ทั้งหมดตั้งแต่ละติจูดที่ 10องศา41 ลิปดาใต้ ถึง43 องศา 39 ลิปดาใต้ และลองจิจูด
113 องศา 9 ลิปดาตะวันออกถึง153 องศา 39 ลิปดาตะวันออก
ที่ตั้ง อาณาเขต
ทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่อยู่ในซีกโลกใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกดังนี้
ทิศเหนือดินแดนที่อยู่เหนือสุด คือแหลมยอร์กในคาบสมุทรเคปยอร์กมีช่องแคบทอร์เรส ติดต่อกับทะเลติมอร์ ทะเลอาราฟูรา
อ่าวคาเฟนทาเรีย
ทิศตะวันออกบริเวณที่อยู่ด้านตะวันออกสุดของทวีปคือแหลมไบรอนติดกับทะเลคอรัลและทะเลเทสมัน
ทิศใต้ ส่วนที่อยู่ใต้สุดของออสเตรเลียคือแหลมวิลสันมีช่องแคบบาสส์กั้นระหว่างเกาะแทสมาเนียติดกับมหาสมุทรอินเดีย
อ่าวเกรดออสเตรเลีย
ทิศตะวันตกส่วนที่อยู่ด้านตะวันตกสุดคือแหลมสตีปติดกับมหาสมุทรอินเดีย
ขนาดพื้นที่
ออสเตรเลียเป็นประเทศเกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีความยาวจากตะวันออกถึงตะวันตกประมาณ 3,900กิโลเมตร
มีความกว้างจากเหนือไปใต้ประมาณ 3,200กิโลเมตรระกอบด้วยรัฐต่างๆ6รัฐกับเขตการปกครองอิสระอีก2เขต เรียกว่า
เทอร์ริทอรี (Territory)
1. รัฐควีนส์แลนด์เมืองบริสเบน
2. รัฐนิวเซาท์เวลส์เมืองซิดนีย์
3. รัฐวิกตอเรียเมืองเมลเบิร์น
4. รัฐออสเตรเลียใต้ เมืองแอดิเลด
5. รัฐออสเตรเลียตะวันตกเมืองเพิร์ท
6. รัฐแทสเมเนียเมืองโฮบาร์ด
ขนาด ประเทศออสเตรเลียมีพื้นที่ทั้งหมด7,686,848ตารางกิโลเมตรถือเป็นประเทศที่เป็นเกาะที่มีขาดพื้นที่มากที่สุดในโลก
ซึ่งมีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าเกาะกรีนแลนด์ประมาณ 3.5เท่าหรือมีขนาดพื้นที่เล็กกว่าประเทศรัสเซีย
ซึ่งรัสเซียมีพื้นที่มากที่สุดในโลกประมาณ 2.2เท่าหรือมีขนาดพื้นที่มากว่าประเทศไทยประมาณ 15เท่า
เขตปกครองอิสระ 2 เขต คือ
เทร์ริทอรีเหนือเป็นดินแดนที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนมีประชากรอาศัยอยู่น้อยจัดให้เป็นที่อยู่ของคนพื้นเมืองดั้งเดิมมีเมืองดาร์วิน
ออสเตรเลียแคพิทอลเทร์ริทอรี เป็นที่ตั้งของเมืองหลวงคือแคนเบอร์ราเป็นเขตพิเศษไม่อยู่ในรัฐใด
ภูมิภาคและประเทศต่างๆ ของทวีปออสเตรเลีย
ออสเตรเลียได้แก่ ออสเตรเลียนิวซีแลนด์
หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกได้แก่ ปาปัวนิวกินีหมู่เกาะเซโลมอนฟิจิวานูอาตูคิริบาสซามัวตะวันตกตองกาตูวาลูนาอูรู
ไมโครนีเซีย
ลักษณะภูมิประเทศออสเตรเลีย สามารถแบ่งได้2แบบคือ
แบบที่1
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปออสเตรเลียมีเขตที่สูงทางด้านตะวันออก มีฝนตกชุกที่สุดของทวีป
มีเทือกเขาเกรตดิไวดิงอยู่ทางด้านตะวันออก มีลักษณะเป็นสันปันน้าที่แบ่งฝนที่ตกลงให้ไหลสู่ลาธาร เขตที่ราบต่าตอนกลาง
พื้นที่ราบเรียบมีลาน้าหลายสายไหลมาอยู่บริเวณนี้
และเขตที่ราบสูงทางด้านตะวันตกตอนกลางของเขตนี้เป็นทะเลบริเวณทางใต้และทางตะวันออกเฉียงเหนือใช้เป็นเขตปศุสัตว์แ
ละเพาะปลูก
แบบที่2
ภูมิประเทศของออสเตรเลียแบ่งออกได้เป็น 3 เขตใหญ่ ๆ คือ
เขตเทือกเขาสูงทางด้านตะวันออกวางขนานตัวกับชายฝั่งทะเลตั้งแต่แหลมยอร์กไปจนถึงช่องแคบบาสส์เทือกเขาที่สาคัญ
เทือกเขาเกรตดิไวดิงเทือกเขาวิกตอเรียแอลป์ มียอดเขาสูงสุดชื่อคอสสิอัสโกสูง 2,216เมตร
ชายฝั่งมีแนวปะการังขนาดใหญ่ที่สุดในโลกชื่อเกรตแบริเออร์ รีฟ
เขตที่ราบสูงภาคตะวันตกเป็นเขตที่มีโครงสร้างเก่าแก่ของทวีปยกขอบสูงทางด้านตะวันตกลาดเอียงมาทางทิศตะวันออก
มีทิวเขาหลายแนวได้แก่ ทิวเขาแมกโดนัลทิวเขามัสเกรฟทิวเขาแฮมเมอร์สเลย์เขตนี้แห้งแล้งมีทะเลทรายกิบสัน
ทะเลทรายเกรตวิกตอเรียฯลฯ
เขตที่ราบภาคกลางประกอบด้วยที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรียที่ราบแอ่งเกรตอาร์ติเชียนที่ราบรอบทะเลสาบแอร์
เป็นทะเลสาบน้าเค็มที่ราบลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์-ดาร์ลิงเป็นแม่น้าที่มีความสาคัญทางด้านการชลประทานมากที่สุด
มีต้นน้าจากเทือกเขาเกรตดิไวดิงที่ราบเขตนี้อุดมสมบูรณ์ เป็นเขตเกษตรกรรมที่สาคัญที่ราบนัลลาบอร์
ชายฝั่งอ่าวเกรตออสเตรเลียนไบท์
เขตที่ราบภาคกลางเป็นเขตที่มีการนาน้าบาดาลออกมาใช้ประโยชน์มากที่สุดประกอบด้วยที่ราบใหญ่ 4แห่งได้แก่
1. ที่ราบนัลลาบอร์ (NullaborPlain)โดยคาว่า“นัลลาบอร์”เป็นภาษาพื้นเมืองแปลว่า
ไม่มีต้นไม้อยู่เลยนอกจากนี้ภายในที่ราบผืนนี้ยังไม่ปรากฏว่ามีแม่น้าสายใดไหลผ่าน
ยิ่งเมื่อพิจารณาปริมาณน้าฝนทั้งปีซึ่งมีเพียง100-250
มิลลิเมตรเท่านั้นมาประกอบด้วยแล้วแสดงให้เห็นว่าที่ราบบริเวณนี้มีความแห้งแล้งทุรกันดารค่อนข้างมาก
และการที่ที่ราบนัลลาบอร์อยู่ติดต่อกับอ่าวเกรตออสเตรเลียนอาจจะเรียกที่ราบผืนนี้ว่า “ที่ราบย่านอ่าวเกรตออสเตรเลียน”
2. ที่ราบลุ่มน้าดาร์ลิง-เมอร์เรย์(MurrayandDarllingBasin)
เป็นที่ราบที่มีอาณาเขตกว้างขวางที่สุดและมีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดถือเป็นเขตเกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศออสเตรเลีย
แม่น้าสายยาวที่สุดในทวีปคือแม่น้าดาร์ลิงเป็นที่ราบผืนใหญ่ที่สุดมีพื้นที่ประมาณ 1ล้านตารางกิโลเมตรมีแม่น้าดาร์ลิง
แม่น้าเมอร์เรย์และสาขาเป็นแม่น้าสายสาคัญที่ไหลหล่อเลี้ยงที่ราบผืนนี้ให้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นพื้นที่เพาะปลูกที่สาคัญของ
ประเทศ
3. ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Ayre Basin ) ทะเลสาบแอร์เป็นทะเลสาบน้าเค็มที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของทวีป
เมื่อพิจารณาโดยรวมถือเป็นเขตที่ค่อนข้างแห้งแล้งปรากฏทะเลทรายอยู่ 2แห่งภายในพื้นที่ของที่ราบแห่งนี้ได้แก่
ทะเลทรายซิมป์ สันและทะเลทรายสจ๊วต
4. ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย(GulfofCarpentariaPlain)
อยู่ทางเหนือของประเทศมีลักษณะเป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆ
โดยมีแนวเขาเซลวินวางตัวขวางแยกออกจากที่ราบรอบทะเลสาบแอร์
ที่ราบผืนนิ้วางตัวขนานไปกับแนวชายฝั่งโดยจะมีระดับสูงมากขึ้นเมื่อมีระยะทางลึกเข้ามาในแผ่นดิน
ลักษณะภูมิอากาศของออสเตรเลียขึ้นอยู่กับ ปัจจัยควบคุมภูมิอากาศ ดังนี้
4.1 ตาแหน่งที่ตั้งออสเตรเลียมีที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร์ระหว่างละติจูด 10องศา 41 ลิปดา-43 องศา 39
ลิปดาใต้และมีเส้นทรอปิกออฟแคบริคอร์น(ละติจูด23องศา 30 ลิปดาใต้)
ลากผ่านเกือบกึ่งกลางของประเทศทาให้มีลัหษณะภูมิอากาศแบบร้อนและอบอุ่นเท่านั้น
โดยไม่มีภูมิอากาศที่หนาวเย็นแบบขั้วโลกปรากฏอยู่เลย
4.2 ทิศทางลมประจาได้แก่
4.2.1 ลมค้าตะวันออกเฉียงใต้
พัดจากมหาสมุทรแปซิฟิกเข้าสูงฝั่งตะวันออกทาให้มีฝนตกตามแนวชายฝั่งและเป็นลมที่พัดทั้งปี
จึงทาให้เขตนี้มีฝนตกชุกตลอดปี
4.2.2 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือเป็นลมที่พัดในช่วงฤดูร้อนจากทะเลติมอร์และทะเลอาราฟูรา
ทาให้มีฝนตกตามแนวชายฝั่งตอนเหนือ
4.2.3 ลมตะวันตกเฉียงใต้ พัดจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้
ทาให้ปรากฏฝนตกชุกในบริเวณนี้ช่วงฤดูหนาว
4.3 การวางตัวของเทือกเขาทางด้านตะวันออกมีเทือกเขาเกรตดิไวดิงวางตัวยาวขนานไปกับชายฝั่งในแนวเหนือ-ใต้
ทาให้ขวางทิศทางลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ จึงทาให้เกิดฝนตกหนักบริเวณหน้าเขาและมีฝนน้อยด้านหลังเขา
4.4 ความใกล้-ไกลทะเลพิจารณาความกว้างในแนวเหนือ-ใต้มีระยะทางถึงประมาณ2,500กิโลเมตร
และมีความกว้างในแนวตะวันออกตะวันตกถึงประมาณ 4,000กิโลเมตร
เงื่อนไขทางแผ่นดินดังกล่าวทาให้พื้นที่ด้านในเกิดภาวะอากาศแล้งและดินแห้ง
รวมทั้งมีทะเลทรายปรากฏอยู่หลายแห่งเนื่องจากมีเส้นรุ้งม้าผ่าน(ละติจูด 30องศาได้)ทาให้มีลมพัดจากแผ่นดินสู่ทะเล
4.5 กระแสน้าในมหาสมุทร
มีกระแสน้าเย็นออสเตรเลียตะวันตกซึ่งเป็นกระแสน้าเย็นแถบขั้วโลกใต้ไหลเลียบชายฝั่งตะวันตกของออสเตรเลียขึ้นมาด้านเห
นือ ทาให้ชายฝั่งแถบนี้มีอุณหภูมิและความชื้นลดต่าลงกว่าปกติ
ขณะที่ชายฝั่งด้านเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือมีกระแสน้าอุ่นศูนย์สูตรใต้
และด้านชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้มีกระเสน้าอุ่นออสเตรเลียตะวันออกไหลเลียบชายฝั่งทาให้มีอุณหภูมิและความชื้นเพิ่มขึ้น
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ทวีปออสเตรเลียมีภูมิอากาศต่างๆกันคือตั้งอยู่ในโซนร้อนใต้และอบอุ่นใต้ มีลมประจาพัดผ่าน
ลักษณะภูมิประเทศและมีกระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเย็นไหลผ่าน
ลักษณะภูมิอากาศของประเทศออสเตรเลียจาแนกได้เป็น6เขต ดังนี้
1. ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นฝนชุกหรือ ภูมิอากาศแบบชื้นและร้อน-มีฝนตกหนักฤดูร้อน(Tropical-wetsummers)ได้แก่
พื้นที่ตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศลักษณะอากาศในช่วงฤดูร้อนมีอุณหภูมิสูงกว่า 27องศาเซลเซียส
เนื่องจากอยู่ในเขตละติจูดต่ากว่าเส้น
ทรอปิกออฟแคปริคอร์นมีฝนตกหนักคือมากกว่า 1,000มิลลิเมตร
เนื่องจากจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือที่มีความชื้นสูงเนื่องจากอยู่ติดชายฝั่งทะเล
ลักษณะภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณเป็นป่าไม้เขตร้อนและทุ่งหญ้าสะวันนา
2. ภูมิอากาศแบบกึ่งร้อนชื้นหรือ ภูมิอากาศแบบกึ่งร้อน-มีฝนตกหนักฤดูร้อน(Subtropical-wetsummers)ได้แก่
พื้นที่ด้านตะวันออกของประเทศลักษณะอากาศในช่วงฤดูร้อนมีอุณหภูมิค่อนข้างสูงเฉลี่ยสูงกว่า 21องศาเซลเซียส
เนื่องจากอยู่ในละติจูดเหนือเส้น
ทรอปิกออฟแคบริคอร์นเล็กน้อยมีฝนตกหนักมากกว่า1,000มิลลิเมตรเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมค้าตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้เขตร้อนและเขตอบอุ่น
3. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น หรือ ภูมิอากาศแบบอบอุ่น-ฝนตกสม่าเสมอ(Temperate-uniformrainfall)ได้แก่
พื้นที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศและตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะแทสเมเนียในฤดูร้อนอุณหภูมิจะต่ากว่า18
องศาเซลเซียสถือเป็นอากาศอบอุ่นมีปริมาณฝนระหว่าง500-1,000มิลลิเมตรถือว่าอยู่ในระดับปานกลาง
ลักษณะภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณเป็นป่าไม้เขตอบอุ่น
4. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนหรือลักษณะอากาศแบบอบอุ่น-ฝนตกฤดูหนาว(Temperate-westwinters)ได้แก่
พื้นที่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ ด้านใต้ค่อนไปทางตะวันออกและพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะแทสเมเนีย
ลักษณะอากาศในฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่นถึงหนาวโดยมีอุณหภูมิต่ากว่า9องศาเซลเซียสเนื่องจากอยู่ในละติจูดสูง
มีปริมาณฝนเฉลี่ยมากกว่า500มิลลิเมตรเนื่องจากได้รับอิทธิพลของลม
ตะวันตกเฉียงใต้
5. ภูมิอากาศแบบทะเลทรายหรือภูมิอากาศกึ่งร้อน-แห้งแล้ง(Subtropical-arid)ได้แก่
พื้นที่ตอนกลางและพื้นที่ด้านตะวันตกของประเทศเป็นลักษณะอากาศที่ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าอากาศลักษณะอื่นๆ
ฤดูร้อนอุณหภูมิสูงกว่า33องศาเซลเซียสฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 18องศาเซลเซียส
ขณะที่ปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปีน้อยกว่า 250มิลลิเมตรซึงลักษณะดังกล่าวจัดเป็น“ภูมิอากาศแบบทะเลทราย”
ลักษณะของภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณธรรมชาติแบบทะเลทราย
6. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายหรือภูมิอากาศแบบกึ่งร้อนถึงอบอุ่น-แห้งแล้ง(Subtropical/Warm
temperate-arid)ได้แก่
พื้นที่ตอนใต้ของประเทศที่เชื่อมต่อกับเขตทะเลทรายในฤดูร้อนอากาศจะร้อนมากโดยมีอุณหภูมิสูงกว่า30องศาเซลเซียส
ฤดูหนาวอากาศอบอุ่นถึงหนาวโดยมีอุณหภูมิต่ากว่า 12องศาเซลเซียสขณะที่มีปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปีอยู่ระหว่าง250-500
มิลลิเมตรลักษณะอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าสั้นๆหรือทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายทุ่งหญ้าสเตปป์
ลักษณะเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ประชากร สังคมและ วัฒนธรรมของทวีปออสเตรเลีย
ภาษา
ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการทั้งออสเตรเลีย
ศาสนา
ชาวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์โรมันคาทอลิกและแองกลิกัน
ชาวพื้นเมืองนับถือผีสางเทวดา
ออสเตรเลียไม่มีศาสนาประจาชาติจากการสารวจสามะโนครัวประชากรประมาณ12.6ล้านคน(64%)
ประกาศตัวเป็นคริสเตียนในจานวนนี้5.1ล้านคน(26%) เป็นคาทอลิกและ 3.7 ล้านคน(19%) เป็นแองกลิกันประชากร3.7
ล้านคนถูกจัดอยู่ในกลุ่มไม่นับถือศาสนาซึ่งรวมถึงแนวความเชื่อแบบมนุษยนิยมอเทวนิยมอไญยนิยมและเหตุผลนิยม
ประชากรเกือบหนึ่งล้านคน(5%)นับถือศาสนาอื่นๆซึ่งรวมศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูและศาสนาเชน
อย่างไรก็ตามมีประชากรเพียง1.5ล้านคน(7.5%) ที่เข้าโบสถ์เป็นประจาทุกสัปดาห์
ประชากร
เชื้อชาติเผ่าพันธุ์ของออสเตรเลียชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเป็นพวกผิวดาเรียก
อะบอริจินส์เป็นพวกที่อพยพมาจากหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือและภาคตะวันตกปัจจุบันมี
ชาวผิวขาวซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวอังกฤษอาศัยอยู่จานวนมากรัฐบาลได้จัดที่อยู่ในเขตนอร์ทเทิร์นเทริทอรี่ รัฐควีนสแลนด์
และรัฐออสเตรเลียตะวันตกพวกผิวเหลืองเป็นพวกที่อพยพมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2ได้แก่ ชาวจีนญี่ปุ่นพวกผิวขาว
ส่วนใหญ่เป็นพวกที่อพยพมาจากประเทศอังกฤษมีการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรคือปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์การประมง
และอุตสาหกรรม
ประชากรและเชื้อชาติ
ประชากรประมาณ12.6ล้านคน เชื่อกันว่าชาวอะบอริจินบนทวีปออสเตรเลียล่องเรือมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
และมาถึงทวีปออสเตรเลียในระหว่างยุคน้าแข็งครั้งสุดท้ายอย่างน้อยเป็นเวลา 50,000ปีมาช่วง
เวลาที่ชาวยุโรปค้นพบทวีปออสเตรเลียและเข้ามาตั้งถิ่นฐานนั้นมีชาวอะบอริจินถึงหนึ่งล้านคนอาศัยอยู่ทั่วทั้งทวีปมาก่อนแล้ว
โดยยังชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บของป่าชาวอะบอริจินเหล่านั้นกระจัดกระจายกันอยู่ใน 300เผ่ามีภาษาพูดแตกต่างกันถึง
250 ภาษาและอีก 700 ภาษาถิ่น ชาวอะบอริจินแต่ละเผ่ามีความผูกพันทางจิตใจกับผืนแผ่นดินเฉพาะแห่ง
แต่ก็เดินทางอย่างกว้างขวางเพื่อทาการค้าหาแหล่งน้าและพืชผลตามฤดูกาล
และเพื่อเข้าร่วมชุมนุมในพิธีกรรมและพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
อังกฤษแผ่อานาจมาถึงทวีปออสเตรเลียและใช้เป็นที่อาศัยของนักโทษในศตวรรษที่17
นักสารวจชาวยุโรปจานวนหนึ่งได้ล่องเรือเลียบชายฝั่งของออสเตรเลียซึ่งในขณะนั้นเรียกกันว่านิวฮอลแลนด์ อย่างไรก็ตาม
เมื่อถึงปี 1770 กัปตัน JamesCook ได้อ้างสิทธิครอบครองชายฝั่งตะวันออกนี้เพื่อประเทศอังกฤษ
ดินแดนห่างไกลที่ค้นพบใหม่นี้ถูกใช้เป็นอาณานิคมสาหรับการลงโทษผู้กระทาผิดวันที่26มกราคม1788
กองเรือที่หนึ่งซึ่งมีจานวน11 ลาได้ขนผู้โดยสารมาถึงท่าเรือซิดนีย์จานวน1,500คนโดยครึ่งหนึ่งเป็นนักโทษ
จวบจนกระทั่งการขนส่งนักโทษสิ้นสุดลงในปี 1868มีนักโทษชายหญิงเดินทางมาถึงออสเตรเลียจานวน160,000คน
การค้นพบทองคาในรัฐเซาท์ออสเตรเลียและตอนกลางของรัฐวิกตอเรียในปี 1851
ดึงดูดชายหนุ่มหลายพันคนและหญิงสาวจานวนหนึ่งที่รักการผจญภัยจากดินแดนอาณานิคมต่างๆให้หลั่งไหลเข้ามา
นอกจากนี้
ยังมีนักเสี่ยงโชคจากจีนอีกประประเทศอื่นอีกจานวนมากจากทั่วโลกพากันมุ่งหน้ามาสมทบอีกด้วย ความพยายามของผู้ว่ากา
รจากอังกฤษเพื่อบังคับใช้กฎระเบียบซึ่งได้แก่การพิจารณาออกใบอนุญาตขุดทองรายเดือนและการใช้กาลังทหารกดขี่ข่มเหง
ได้นาไปสู่การต่อสู้นองเลือดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐแม้ว่าจะมีความรุนแรงเกิดขึ้นที่เหมืองทอง
ความมั่งคั่งจากทองคาและขนสัตว์ได้ก่อให้เกิดการลงทุนขนานใหญ่ในเมืองเมลเบิร์นและเมืองซิดนีย์
ทั้งสองเมืองได้กลายเป็นนครอันทันสมัย ออสเตรเลียเปลี่ยนสถานะเป็นประเทศ
รัฐทั้งหกของออสเตรเลียได้รวมกันเป็นประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญเดียวกันเมื่อวันที่ 1มกราคมค.ศ.
1901 หนึ่งในจานวนภารกิจแรกๆของรัฐสภาใหม่ของออสเตรเลียในขณะนั้นคือการออกกฎหมาย
ซึ่งต่อมารู้จักกันในชื่อWhite Australian
Policyซึ่งกาหนดให้เฉพาะผู้ที่เกิดในยุโรปเท่านั้นที่มีสิทธิอพยพเข้ามาอยู่อาศัยในออสเตรเลียได้ แต่การปฏิบัตินี้ก็ถูกยกเลิกไ
ปทีละน้อยหลังสงครามโลกครั้งที่สองปัจจุบันออสเตรเลียมีประชากรที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติเป็นอันมาก
โดยมาจากกว่า200ประเทศ
ประเทศออสเตรเลียมีประชากรประมาณ21ล้านคนประชากรของชาวออสเตรเลียส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว
โดยเฉพาะชาวอังกฤษและชาวพื้นเมืองดั้งเดิมพวกอะบอริจินเพียงเล็กน้อย
ประชากรประเทศออสเตรเลียประกอบด้วย
ชนผิวขาวที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษมีความเป็นอยู่เช่นเดียวกับชาวยุโรป
ประชากรที่เป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเรียกว่าชาวอะบอริจินีมีรูปร่างค่อนข้างเตี้ยผิวคล้าผมหยิกจมูกแบนริมฝีปากหนา
อาศัยอยู่ในรัฐควีนสแลนด์แทร์ริทอรีเหนือออสเตรเลียตะวันตกคนพวกนี้สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี
ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเมืองมากกว่าชนบทแถบชายฝั่งตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป
เพราะมีลักษณะอากาศแบบอบอุ่นชื้นเมืองสาคัญได้แก่ ซิดนีย์เมลเบิร์นบริสเบนส่วนภาคกลางและภาคตะวันตก
ประชากรเบาบางเพราะเป็นเขตแห้งแล้งและทะเลทราย
การกระจายประชากร
รัฐบาลออสเตรเลียมีนโยบายสงวนพื้นที่ไว้สาหรับชาวผิวขาวคือ
นโยบายออสเตรเลียขาวกีดกันผิวโดยจากัดจานวนคนสีผิวอื่นที่ไม่ใช่ผิวขาวเข้าไปตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลียบริเวณที่ประชากรอ
าศัยอยู่หนาแน่นได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่มีประชากรเบาบางได้แก่ ตอนกลางของทวีปภาคเหนือ
และภาคตะวันตก
เศรษฐกิจของประเทศออสเตรเลียคือ
การเพาะปลูกแหล่งเพาะปลูกสาคัญได้แก่ บริเวณลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์-ดาร์ลิงเกาะแทสเมเนียพืชสาคัญคือข้าวสาลีข้าวโอ๊ต
ข้าวบาร์เลย์ทากันในไร่นาแปลงใหญ่ๆใช้เครื่องจักรทุ่นแรง
การเลี้ยงสัตว์คือโคเนื้อและแกะพันธุ์เมอริโนให้ขนปุยยาวขนแกะเป็นสินค้าออกที่สาคัญ
การล่าสัตว์ชาวพื้นเมืองใช้เครื่องมือง่ายๆล่าสัตว์เช่นหอกและบูมเมอแรง เป็นต้น
การประมงไม่เด่นนักเนื่องจากยังขาดแรงงานและอุปกรณ์
การทาป่าไม้ มีพื้นที่ป่าไม้น้อยและเป็นไม้ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจต่าไม้เนื้ออ่อนเช่นต้นยูคาลิปตัสจะใช้ทาเยื่อกระดาษ
เป็นต้น
การอุตสาหกรรมออสเตรเลียมีทรัพยากรมากประชากรมีคุณภาพมีเทคโนโลยีทันสมัยมีเงินทุนสูง
การอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้าเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองซิดนีย์เมืองนิวคาสเซิล
การพาณิชยกรรมสินค้าออกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์เช่นเนื้อสัตว์หนังสัตว์ขนสัตว์นมเนยและข้าวสาลีน้าตาล
เครื่องจักรกลผลไม้ เป็นต้นสินค้าเข้าคือสินแร่ เครื่องจักรปุ๋ ย อาหาร เสื้อผ้า
การปกครอง
การแบ่งแยกทางการเมืองออสเตรเลียมีระบบการปกครองแบบสหพันธรัฐประกอบด้วยรัฐต่างๆรวม 6
รัฐและดินแดนอิสระที่ไม่ขึ้นกับรัฐใดๆอีก 2 แห่ง คือ
1. รัฐนิวเซาท์เวลเมืองหลวงซิดนีย์
2. รัฐวิกตอเรียเมืองหลวงเมลเบิร์น
3. รัฐควีนสแลนด์เมืองหลวงบริสเบรน
4. รัฐออสเตรเลียใต้ เมืองหลวงแอเดเลด
5. รัฐออสเตรเลียตะวันตกเมืองหลวงเพิร์ธ
6. รัฐแทนสเมเนียเมืองหลวงโอบาร์ต
ดินแดนอิสระ2 บริเวณได้แก่ –นอร์ทเทิร์นแทริทอรี เมืองหลวงดาร์วิน
-ออสเตรเลียแคปิตอลเทริทอรี เมืองหลวงแคนเบอร์ราออสเตรเลียเป็นประเทศเอกราชในเครือจักรภพอังกฤษ
มีพระนางเจ้าอลิซาเบธที่2เป็นพระราชินีและเป็นประมุขของประเทศมีข้าหลวงใหญ่เป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์
จัดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบสหพันธรัฐการปกครองของออสเตรเลียเป็นแบบรัฐบาลรวมคือมีรัฐบาล 2
ระดับได้แก่
-รัฐบาลกลาง
-รัฐบาลของรัฐ
ประวัติศาสตร์
ออสเตรเลียเป็นทวีปเกือบสุดท้ายที่ชาวยุโรปเดินทางมาพบก่อนหน้านี้ชาวยุโรปไม่ทราบว่ายังมีดินแดนทางตอนใต้
เพียงแต่คาดว่าน่าจะมีในสมัยกรีกโบราณนักภูมิศาสตร์ชื่อปโตเลมีได้เขียนแผนที่โลก
โดยแสดงให้เห็นว่าทางตอนใต้ของทวีปแฟริกามีดินแดนเชื่อมต่อกับทางตอนใต้ของทวีปเอเชียซึ่งปิดล้อมมหาสมุทรอินเดียไว้แ
ละตั้งชื่อดินแดนส่วนนั้นว่า “แทร์ราอินคอกนิตา"Terra Incognitaแปลว่า ดินแดนที่ยังไม่รู้จัก ต่อมาในสมัยกลาง
นักภูมิศาสตร์ก็ยังเชื่อว่าดินแดนทางใต้นี้มีอยู่จึงปรากฏแผนที่หลายฉบับที่เขียนขึ้นในสมัยกลาง
ที่แสดงที่ตั้งของแผ่นดินขนาดใหญ่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรอินเดียแบบเดียวกับปโตเลมีแต่เรียกดินแดนนี้ว่าแทร์รา
ออสตราลิสTerra Australis แปลว่าดินแดนทางใต้ ซึ่งชื่อนี้กลายเป็นชื่อของทวีปและประเทศออสเตรเลียในปัจจุบัน
การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปได้รับการบันทึกไว้ครั้งแรกในเดือนมีนาคมค.ศ.1606เมื่อชาวนักสารวจชาวฮอลันดา
ชื่อ วิลเลมแจนสซูน WillemJanszoon ค.ศ.1571-1638ทาแผนที่ชายฝั่งของแหลมเคปยอร์กและคาบสมุทรเพนินซูลา Cape
YorkandPeninsulaของรัฐควีนสแลนด์จากการค้นพบครั้งนั้น
ทาให้เริ่มมีการทาแผนที่ชายฝั่งตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย
ต่อมา ในปี ค.ศ. 1642นักเดินเรือชาวฮอลันดาชื่อ อเบล
แทสมัน ได้เดินเรือจากมหาสมุทรอินเดียอ้อมไปทางใต้ของออสเตรลียจนพบเกาะซึ่งเขาเรียกชื่อว่า เกาะแวนดีเมนVan
Diemen'sLandต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเกาะแทสมาเนียเพื่อเป็นเกียรติแก่ อเบลแทสมัน
และเรียกดินแดนที่ค้นพบนี้ว่า“นิวฮอลแลนด์”New
Holland แต่ขณะนั้นยังไม่มีความตั้งใจที่จะประกาศยึดครองดินแดนดังกล่าวต่อมาในปีเดียวกันนักสารวจชาวสเปน
ชื่อ หลุยส์วาเอซเดอทอเรส LuisVaez de Torres
ได้เดินเรือผ่านช่องแคบระหว่างออสเตรเลียและปาปัวนิวกินี จึงเรียกบริเวณนี้ว่า“ช่องแคบทอเรส”
จากนั้นในปี ค.ศ.1688 วิลเลียมแดมเปียร์ WilliamDampierเป็นนักเดินเรือชาวอังกฤษคนแรกที่เข้าไปตั้งถิ่นฐาน
บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลียโดยเขียนชื่อไว้บนสังกะสีตอกติดไว้บนต้นไม้
เพราะพบคนพื้นเมืองแสดงอาการเป็นศัตรูและสภาพภูมิอากาศแห้งแล้งจึงไม่สนใจต่อมาในปี ค.ศ.1770 กัปตันเจมส์
คุก JamesCook ชาวอังกฤษได้ล่องเรือมาสารวจและได้จัดทาแผนที่ทางด้านชายฝั่งตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย
เห็นสภาพภูมิอากาศคล้ายแคว้นเวลส์ของสหราชอาณาจักรจึงได้ตั้งชื่อดินแดนแถบนั้นว่า “นิวเซาท์เวลส์” NewSouthWales
พร้อมกันนั้นได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรแล้วยึดครองออสเตรเลียเป็นอาณานิคม
กัปตันเจมส์ คุกJamesCook
สาเหตุที่รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจส่งนักโทษมาตั้งถิ่นฐานที่ออสเตรเลียเนื่องจาก
อังกฤษได้สูญเสียอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือและต้องการระบายนักโทษที่แออัดอยู่ในคุกของประเทศอังกฤษ
โดยกัปตันอาเธอร์ฟิลลิปArthur Philipเป็นผู้ควบคุมนักโทษกลุ่มแรกได้เดินทางมาถึงอ่าวซิดนีย์เมื่อวันที่18 มกราคม ค.ศ.
1788 และได้ย้ายมาตั้งถิ่นฐานถาวรบริเวณอ่าว พอร์ตแจคสัน แล้วตั้งชื่อว่าซิดนีย์โคฟในวันที่26 มกราคม
1788 (ถือเป็นวันชาติออสเตรเลีย)นับเป็นจุดเริ่มต้นของการตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียของชาวอังกฤษ
ผู้ตั้งถิ่นฐานในยุคแรกส่วนใหญ่จะเป็นนักโทษและครอบครัวของทหารแล้ว
อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้ที่ตั้งใจย้ายมาตั้งถิ่นฐานใหม่ซึ่งรวมถึงชนชาติอื่นๆอาทิ อิตาเลียนกรีกและชาวยุโรปชาติอื่นๆ
ตลอดจนชาวเอเชียอาทิ จีนมาเลเซียอินโดนีเซีย เป็นต้นโดยเริ่มตั้งถิ่นฐานครั้งแรกบริเวณอ่าวโบตานีเมืองซิดนีย์ในปัจจุบัน
ต่อมามีการค้นพบทองคาในปี ค.ศ. 1800 จัดว่าเป็นยุค"ตื่นทอง" Gold rush
ส่งผลให้ผู้ที่มิใช่นักโทษอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียมากขึ้นเรื่อยๆโดยกลุ่มคนที่มามีทั้งชาวอังกฤษไอร์แลนด์
เยอรมันจีนนอกจากนี้ยังมีชาวแอฟริกันอพยพเข้ามาและมีการนาอูฐเข้ามาด้วยเพื่อออกสารวจในพื้นที่ภายในทวีป
ปรากฏว่าช่วงระยะเวลาเพียง10ปี ระหว่างค.ศ.1853-1863 ประชากรในอาณานิคมวิตอเรียเพิ่มขึ้นจาก 77,000
คนเป็น 540,000คนผลของการตื่นทองเป็นเหตุให้มีผู้คนอพยพเข้าไปในออสเตรเลียเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะชาวจีน
ได้เดินทางเข้าไปแสวงโชคหางานทาชาวอาณานิคมที่เป็นชาวผิวขาวเริ่มวิตกกังวลและตั้งข้อรังเกียจชาวจีนที่เข้ามาแย่งอาชีพ
รัฐบาลของออสเตรเลียจึงได้ใช้นโยบายออสเตรเลียขาว Whiteaustralianpolicyเพื่อจากัดคนที่ไม่ใช่ผิวขาวเข้าเมือง
โดยพาะชาวจีน
การตั้งถิ่นฐานบนเกาะแทสเมเนียหรือชื่อที่เรียกในขณะนั้นคือแวนไดเมนส์แลนด์VanDiemen'sLandซึ่งต่อมาในปี ค.ศ.
1825 แยกออกมาเป็นอีกรัฐหนึ่งชื่อรัฐแทสเมเนียตามชื่อนักเดินเรือ อเบลแจนซูนทัสมัน Abel Janszoon Tasman
นับตั้งแต่ต้นทศวรรษ1850อุตสาหกรรมขนสัตว์การขุดทองการขาดแคลนแรงงาน
แผ่นดินอันกว้างใหญ่สาหรับการเพาะปลูกการทาเหมืองแร่ และการค้าขายได้ทาให้ออสเตรเลียเป็นดินแดนแห่งโอกาส
และเป็นแรงกระตุ้นให้คนจากพื้นที่ต่างๆทั่วโลกหลั่งไหลมาตั้งถิ่นฐานในดินแดนออสเตรเลียเพิ่มจานวนมากขึ้น
ในปี ค.ศ.1829 สหราชอาณาจักรได้ประกาศยึดครองดินแดนทางฝั่งตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย
และได้แยกดินแดนทางด้านตะวันตกออกจาก นิวเซาท์เวลส์มาเป็นอีกหลายมลรัฐได้แก่ รัฐออสเตรเลียใต้ ในปี ค.ศ.1836
รัฐนี้เรียกว่าเป็นพื้นที่เสรี FreeProvince คือ เป็นรัฐที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการรองรับนักโทษPenalColonyรัฐวิคตอเรียในปี
ค.ศ.1851 และรัฐควีนส์แลนด์ในปี ค.ศ.1859 ในส่วนของเขตการปกครองเทอร์ริทอรีเหนือNorthernTerritory ก่อตั้งเมื่อปี
ค.ศ.1911 โดยเป็นส่วนที่ตัดออกมาจากรัฐออสเตรเลียใต้
ในปี ค.ศ.1848 นับเป็นปีแห่งการยุติการขนส่งนักโทษมายังทวีปออสเตรเลีย
เนื่องจากมีการรณรงค์ยกเลิกมาตรการดังกล่าวโดยกลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐาน
ประเทศออสเตรเลียจึงไม่ใช่ดินแดนอาณานิคมของนักโทษอีกต่อไป
ก่อนที่ชนชาติยุโรปจะย้ายถิ่นฐานมาที่ทวีปออสเตรเลียบนทวีปนี้มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่
ซึ่งจานวนประชากรในขณะนั้นคาดว่าประมาณ 315,000คน
แต่วิถีชีวิตของชนพื้นเมืองเหล่านี้ถูกเปลี่ยนไปเมื่ออังกฤษเข้ามายึดครองและประกาศเป็นพื้นที่อาณานิคม
ซึ่งต่อมาทาให้ชนพื้นเมืองมีจานวนลดน้อยลงโดยในช่วงปี ค.ศ.1930จานวนประชากรลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ20
ของจานวนประชากรเริ่มแรก
สรุปนับตั้งแต่ปี ค.ศ.1788 มีชายหญิงประมาณ160,000คนที่อพยพไปออสเตรเลียในฐานะเสมือนนักโทษ
อย่างไรก็ตามในช่วงเวลานี้ชนพื้นเมืองของออสเตรเลียได้เผชิญความยากลาบาก
จากการรุกรานของผู้อพยพที่อ้างสิทธิในฐานะเจ้าอาณานิคมมีการขับไล่ออกจากพื้นที่และการเข้ายึดทรัพย์ในขณะเดียวกัน
ชนพื้นเมืองต้องอยู่อย่างลาบากเจ็บไข้ได้ป่วยและการเสียชีวิตตลอดจนวิถีชีวิตดั้งเดิมและธรรมเนียมปฏิบัติถูกทาลาย
ใน ค.ศ.1914 ออสเตรเลียได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่1ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเทศออสเตรเลียเป็นอย่างมาก
ผู้ชายออสเตรเลียเกือบ3ล้านคนและอาสาสมัครเกือบ400,000คนต้องเข้าร่วมรบในสงคราม
ผลจากสงครามทาให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 60,000คนและได้รับบาดเจ็บหลายหมื่นคน
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่2กองกาลังของออสเตรเลียมีส่วนสนับสนุนครั้งสาคัญในการเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับยุโรป
เอเชียและภาคพื้นแปซิฟิกได้เข้าสู้รบในสงครามและได้รับชัยชนะอย่างน่าภาคภูมิใจ
อย่างไรก็ตามช่วงเวลาระหว่างสงครามโลกเป็นเวลาที่ประเทศไร้เสถียรภาพเศรษฐกิจตกต่า
และสถาบันทางการเงินของออสเตรเลียหลายแห่งล้ม
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองหรือหลังจากปี ค.ศ.1945ออสเตรเลียได้เข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความเจริญรุ่งเรือง
กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งและเกิดความต้องการแรงงานอย่างมากผู้หญิงจานวนมากเข้าไปทางานในโรงงาน
ขณะที่ผู้ชายที่กลับจากการออกรบในสงครามสามารถเข้ามาทางานต่อได้
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่2
ออสเตรเลียมีนโยบายที่ไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติในระดับสากลและที่นี่จึงเป็นบ้านสาหรับประชาชนที่มาจากกว่า200
ประเทศ
ในช่วงทศวรรษ1950เศรษฐกิจออสเตรเลียพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วเกิดโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ระดับชาติเช่น
SnowyMountains Schemeซึ่งเป็นแผนกาลังไฟฟ้ าพลังน้าตั้งอยู่ในภูเขาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย
รวมถึงชานเมืองออสเตรเลียก็เริ่มมีความเจริญแผ่ไปถึงทาให้อัตราผู้เป็นเจ้าของบ้านเพิ่มมากขึ้นจากร้อยละ 40ในปี
ค.ศ.1947 เป็นร้อยละ70 ในทศวรรษ1960
การพัฒนาอื่นๆรวมถึงการรักษาความปลอดภัยทางสังคมของรัฐบาลและการเริ่มเผยแพร่สัญญาณโทรทัศน์และในปี
ค.ศ.1956เมืองเมลเบิร์นได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิกทาให้ออสเตรเลียได้ส่องแสงประกายไปในระดับนานาชาติ
ช่วงทศวรรษ1960เป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงของออสเตรเลียโดยเฉพาะในปี ค.ศ. 1967
ชาวออสเตรเลียได้ลงประชามติระดับชาติ
โดยมีคะแนนเสียงอย่างท่วมท้นให้รัฐบาลแห่งชาติมีอานาจผ่านกฎหมายที่ทาในนามของชนพื้นเมืองออสเตรเลีย
เพื่อพัฒนาเงื่อนไขความเป็นอยู่ของชาวอะบอริจินและชาวเกาะทอเรส
สเตรท ซึ่งในปัจจุบันจานวนชนพื้นเมืองมีอยู่มากกว่าร้อยละ2ของประชากรทั้งประเทศ
นอกจากนี้รัฐบาลออสเตรเลียได้ดาเนินบทบาทที่สาคัญ
โดยการพยายามสร้างความสมานฉันท์ระหว่างกลุ่มชนพื้นเมืองและที่มิใช่ชนพื้นเมืองการดาเนินการที่สาคัญคือ
การออกมากล่าวขอโทษอย่างเป็นทางการของรัฐบาลเมื่อวันที่13กุมภาพันธ์ ค.ศ.2008
ในกรณีที่มีการแยกเด็กชาวพื้นเมืองออกจากครอบครัวดั้งเดิมเพื่อต้องการลบล้างวัฒนธรรม
ประเทศออสเตรเลียในปัจจุบันนับเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทั้งทางด้านเศรษฐกิจการเมืองสังคม
การศึกษาและวัฒนธรรมที่จะเจริญต่อไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย

More Related Content

What's hot

ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
suchinmam
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
Wannaporn Sukthawee
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 

What's hot (20)

ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 

Viewers also liked (6)

ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปออสเตรเลียทวีปออสเตรเลีย
ทวีปออสเตรเลีย
 
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
ความรู้ทั่วไปทวีปอเมริกาใต้
 
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
 
ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย

  • 1. ทวีปออสเตรเลีย (Australia) พ.ศ.2149 กัปตัน WillemJanszoonชาวดัตช์ได้ค้นพบออสเตรเลียในปีพ.ศ. 2313เจมส์ คุก เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรให้ชื่อว่านิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลียทวีปออสเตรเลียเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนที่เรียกว่าโอเซียเนีย(Oceania)หมายถึง ทวีปออสเตรเลียกับหมู่เกาะต่างๆในมหาสมุทรแปซิฟิกรวมทั้งหมู่เกาะประเทศนิวซีแลนด์ ทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนียเป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลียประเทศนิวซีแลนด์ทวีปออสเตรเลียได้รับสมญานามว่า ทวีปเกาะส่วนหมู่เกาะแปซิฟิกซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศอื่นๆต่อเนื่องไปถึงทวีปแอนตาร์กติกเรียกว่าโอเชียเนียหมายถึง เกาะและหมู่เกาะในภาคกลางและภาคใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกรวมทั้งหมู่เกาะไมโครนีเซียเมลานีเซียโปลีนีเซียออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และหมู่เกาะมลายู ทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกมีพื้นที่7.6ล้านตร.กม.มีประชากร17.5 ล้านคน ที่ตั้งของทวีปออสเตรเลียอยู่ในซีกโลกใต้ทั้งหมดตั้งแต่ละติจูดที่ 10องศา41 ลิปดาใต้ ถึง43 องศา 39 ลิปดาใต้ และลองจิจูด 113 องศา 9 ลิปดาตะวันออกถึง153 องศา 39 ลิปดาตะวันออก ที่ตั้ง อาณาเขต ทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่อยู่ในซีกโลกใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกดังนี้ ทิศเหนือดินแดนที่อยู่เหนือสุด คือแหลมยอร์กในคาบสมุทรเคปยอร์กมีช่องแคบทอร์เรส ติดต่อกับทะเลติมอร์ ทะเลอาราฟูรา อ่าวคาเฟนทาเรีย ทิศตะวันออกบริเวณที่อยู่ด้านตะวันออกสุดของทวีปคือแหลมไบรอนติดกับทะเลคอรัลและทะเลเทสมัน ทิศใต้ ส่วนที่อยู่ใต้สุดของออสเตรเลียคือแหลมวิลสันมีช่องแคบบาสส์กั้นระหว่างเกาะแทสมาเนียติดกับมหาสมุทรอินเดีย อ่าวเกรดออสเตรเลีย ทิศตะวันตกส่วนที่อยู่ด้านตะวันตกสุดคือแหลมสตีปติดกับมหาสมุทรอินเดีย ขนาดพื้นที่ ออสเตรเลียเป็นประเทศเกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีความยาวจากตะวันออกถึงตะวันตกประมาณ 3,900กิโลเมตร
  • 2. มีความกว้างจากเหนือไปใต้ประมาณ 3,200กิโลเมตรระกอบด้วยรัฐต่างๆ6รัฐกับเขตการปกครองอิสระอีก2เขต เรียกว่า เทอร์ริทอรี (Territory) 1. รัฐควีนส์แลนด์เมืองบริสเบน 2. รัฐนิวเซาท์เวลส์เมืองซิดนีย์ 3. รัฐวิกตอเรียเมืองเมลเบิร์น 4. รัฐออสเตรเลียใต้ เมืองแอดิเลด 5. รัฐออสเตรเลียตะวันตกเมืองเพิร์ท 6. รัฐแทสเมเนียเมืองโฮบาร์ด ขนาด ประเทศออสเตรเลียมีพื้นที่ทั้งหมด7,686,848ตารางกิโลเมตรถือเป็นประเทศที่เป็นเกาะที่มีขาดพื้นที่มากที่สุดในโลก ซึ่งมีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าเกาะกรีนแลนด์ประมาณ 3.5เท่าหรือมีขนาดพื้นที่เล็กกว่าประเทศรัสเซีย ซึ่งรัสเซียมีพื้นที่มากที่สุดในโลกประมาณ 2.2เท่าหรือมีขนาดพื้นที่มากว่าประเทศไทยประมาณ 15เท่า เขตปกครองอิสระ 2 เขต คือ เทร์ริทอรีเหนือเป็นดินแดนที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนมีประชากรอาศัยอยู่น้อยจัดให้เป็นที่อยู่ของคนพื้นเมืองดั้งเดิมมีเมืองดาร์วิน ออสเตรเลียแคพิทอลเทร์ริทอรี เป็นที่ตั้งของเมืองหลวงคือแคนเบอร์ราเป็นเขตพิเศษไม่อยู่ในรัฐใด ภูมิภาคและประเทศต่างๆ ของทวีปออสเตรเลีย ออสเตรเลียได้แก่ ออสเตรเลียนิวซีแลนด์ หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกได้แก่ ปาปัวนิวกินีหมู่เกาะเซโลมอนฟิจิวานูอาตูคิริบาสซามัวตะวันตกตองกาตูวาลูนาอูรู ไมโครนีเซีย ลักษณะภูมิประเทศออสเตรเลีย สามารถแบ่งได้2แบบคือ แบบที่1 ลักษณะภูมิประเทศของทวีปออสเตรเลียมีเขตที่สูงทางด้านตะวันออก มีฝนตกชุกที่สุดของทวีป มีเทือกเขาเกรตดิไวดิงอยู่ทางด้านตะวันออก มีลักษณะเป็นสันปันน้าที่แบ่งฝนที่ตกลงให้ไหลสู่ลาธาร เขตที่ราบต่าตอนกลาง พื้นที่ราบเรียบมีลาน้าหลายสายไหลมาอยู่บริเวณนี้ และเขตที่ราบสูงทางด้านตะวันตกตอนกลางของเขตนี้เป็นทะเลบริเวณทางใต้และทางตะวันออกเฉียงเหนือใช้เป็นเขตปศุสัตว์แ ละเพาะปลูก แบบที่2 ภูมิประเทศของออสเตรเลียแบ่งออกได้เป็น 3 เขตใหญ่ ๆ คือ เขตเทือกเขาสูงทางด้านตะวันออกวางขนานตัวกับชายฝั่งทะเลตั้งแต่แหลมยอร์กไปจนถึงช่องแคบบาสส์เทือกเขาที่สาคัญ เทือกเขาเกรตดิไวดิงเทือกเขาวิกตอเรียแอลป์ มียอดเขาสูงสุดชื่อคอสสิอัสโกสูง 2,216เมตร ชายฝั่งมีแนวปะการังขนาดใหญ่ที่สุดในโลกชื่อเกรตแบริเออร์ รีฟ เขตที่ราบสูงภาคตะวันตกเป็นเขตที่มีโครงสร้างเก่าแก่ของทวีปยกขอบสูงทางด้านตะวันตกลาดเอียงมาทางทิศตะวันออก มีทิวเขาหลายแนวได้แก่ ทิวเขาแมกโดนัลทิวเขามัสเกรฟทิวเขาแฮมเมอร์สเลย์เขตนี้แห้งแล้งมีทะเลทรายกิบสัน ทะเลทรายเกรตวิกตอเรียฯลฯ เขตที่ราบภาคกลางประกอบด้วยที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรียที่ราบแอ่งเกรตอาร์ติเชียนที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ เป็นทะเลสาบน้าเค็มที่ราบลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์-ดาร์ลิงเป็นแม่น้าที่มีความสาคัญทางด้านการชลประทานมากที่สุด มีต้นน้าจากเทือกเขาเกรตดิไวดิงที่ราบเขตนี้อุดมสมบูรณ์ เป็นเขตเกษตรกรรมที่สาคัญที่ราบนัลลาบอร์ ชายฝั่งอ่าวเกรตออสเตรเลียนไบท์
  • 3. เขตที่ราบภาคกลางเป็นเขตที่มีการนาน้าบาดาลออกมาใช้ประโยชน์มากที่สุดประกอบด้วยที่ราบใหญ่ 4แห่งได้แก่ 1. ที่ราบนัลลาบอร์ (NullaborPlain)โดยคาว่า“นัลลาบอร์”เป็นภาษาพื้นเมืองแปลว่า ไม่มีต้นไม้อยู่เลยนอกจากนี้ภายในที่ราบผืนนี้ยังไม่ปรากฏว่ามีแม่น้าสายใดไหลผ่าน ยิ่งเมื่อพิจารณาปริมาณน้าฝนทั้งปีซึ่งมีเพียง100-250 มิลลิเมตรเท่านั้นมาประกอบด้วยแล้วแสดงให้เห็นว่าที่ราบบริเวณนี้มีความแห้งแล้งทุรกันดารค่อนข้างมาก และการที่ที่ราบนัลลาบอร์อยู่ติดต่อกับอ่าวเกรตออสเตรเลียนอาจจะเรียกที่ราบผืนนี้ว่า “ที่ราบย่านอ่าวเกรตออสเตรเลียน” 2. ที่ราบลุ่มน้าดาร์ลิง-เมอร์เรย์(MurrayandDarllingBasin) เป็นที่ราบที่มีอาณาเขตกว้างขวางที่สุดและมีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดถือเป็นเขตเกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศออสเตรเลีย แม่น้าสายยาวที่สุดในทวีปคือแม่น้าดาร์ลิงเป็นที่ราบผืนใหญ่ที่สุดมีพื้นที่ประมาณ 1ล้านตารางกิโลเมตรมีแม่น้าดาร์ลิง แม่น้าเมอร์เรย์และสาขาเป็นแม่น้าสายสาคัญที่ไหลหล่อเลี้ยงที่ราบผืนนี้ให้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นพื้นที่เพาะปลูกที่สาคัญของ ประเทศ 3. ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Ayre Basin ) ทะเลสาบแอร์เป็นทะเลสาบน้าเค็มที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของทวีป เมื่อพิจารณาโดยรวมถือเป็นเขตที่ค่อนข้างแห้งแล้งปรากฏทะเลทรายอยู่ 2แห่งภายในพื้นที่ของที่ราบแห่งนี้ได้แก่ ทะเลทรายซิมป์ สันและทะเลทรายสจ๊วต 4. ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย(GulfofCarpentariaPlain) อยู่ทางเหนือของประเทศมีลักษณะเป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆ โดยมีแนวเขาเซลวินวางตัวขวางแยกออกจากที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ ที่ราบผืนนิ้วางตัวขนานไปกับแนวชายฝั่งโดยจะมีระดับสูงมากขึ้นเมื่อมีระยะทางลึกเข้ามาในแผ่นดิน ลักษณะภูมิอากาศของออสเตรเลียขึ้นอยู่กับ ปัจจัยควบคุมภูมิอากาศ ดังนี้ 4.1 ตาแหน่งที่ตั้งออสเตรเลียมีที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร์ระหว่างละติจูด 10องศา 41 ลิปดา-43 องศา 39 ลิปดาใต้และมีเส้นทรอปิกออฟแคบริคอร์น(ละติจูด23องศา 30 ลิปดาใต้) ลากผ่านเกือบกึ่งกลางของประเทศทาให้มีลัหษณะภูมิอากาศแบบร้อนและอบอุ่นเท่านั้น โดยไม่มีภูมิอากาศที่หนาวเย็นแบบขั้วโลกปรากฏอยู่เลย 4.2 ทิศทางลมประจาได้แก่ 4.2.1 ลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ พัดจากมหาสมุทรแปซิฟิกเข้าสูงฝั่งตะวันออกทาให้มีฝนตกตามแนวชายฝั่งและเป็นลมที่พัดทั้งปี จึงทาให้เขตนี้มีฝนตกชุกตลอดปี 4.2.2 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือเป็นลมที่พัดในช่วงฤดูร้อนจากทะเลติมอร์และทะเลอาราฟูรา ทาให้มีฝนตกตามแนวชายฝั่งตอนเหนือ 4.2.3 ลมตะวันตกเฉียงใต้ พัดจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ ทาให้ปรากฏฝนตกชุกในบริเวณนี้ช่วงฤดูหนาว 4.3 การวางตัวของเทือกเขาทางด้านตะวันออกมีเทือกเขาเกรตดิไวดิงวางตัวยาวขนานไปกับชายฝั่งในแนวเหนือ-ใต้ ทาให้ขวางทิศทางลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ จึงทาให้เกิดฝนตกหนักบริเวณหน้าเขาและมีฝนน้อยด้านหลังเขา 4.4 ความใกล้-ไกลทะเลพิจารณาความกว้างในแนวเหนือ-ใต้มีระยะทางถึงประมาณ2,500กิโลเมตร และมีความกว้างในแนวตะวันออกตะวันตกถึงประมาณ 4,000กิโลเมตร เงื่อนไขทางแผ่นดินดังกล่าวทาให้พื้นที่ด้านในเกิดภาวะอากาศแล้งและดินแห้ง รวมทั้งมีทะเลทรายปรากฏอยู่หลายแห่งเนื่องจากมีเส้นรุ้งม้าผ่าน(ละติจูด 30องศาได้)ทาให้มีลมพัดจากแผ่นดินสู่ทะเล
  • 4. 4.5 กระแสน้าในมหาสมุทร มีกระแสน้าเย็นออสเตรเลียตะวันตกซึ่งเป็นกระแสน้าเย็นแถบขั้วโลกใต้ไหลเลียบชายฝั่งตะวันตกของออสเตรเลียขึ้นมาด้านเห นือ ทาให้ชายฝั่งแถบนี้มีอุณหภูมิและความชื้นลดต่าลงกว่าปกติ ขณะที่ชายฝั่งด้านเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือมีกระแสน้าอุ่นศูนย์สูตรใต้ และด้านชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้มีกระเสน้าอุ่นออสเตรเลียตะวันออกไหลเลียบชายฝั่งทาให้มีอุณหภูมิและความชื้นเพิ่มขึ้น ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ทวีปออสเตรเลียมีภูมิอากาศต่างๆกันคือตั้งอยู่ในโซนร้อนใต้และอบอุ่นใต้ มีลมประจาพัดผ่าน ลักษณะภูมิประเทศและมีกระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเย็นไหลผ่าน ลักษณะภูมิอากาศของประเทศออสเตรเลียจาแนกได้เป็น6เขต ดังนี้ 1. ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นฝนชุกหรือ ภูมิอากาศแบบชื้นและร้อน-มีฝนตกหนักฤดูร้อน(Tropical-wetsummers)ได้แก่ พื้นที่ตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศลักษณะอากาศในช่วงฤดูร้อนมีอุณหภูมิสูงกว่า 27องศาเซลเซียส เนื่องจากอยู่ในเขตละติจูดต่ากว่าเส้น ทรอปิกออฟแคปริคอร์นมีฝนตกหนักคือมากกว่า 1,000มิลลิเมตร เนื่องจากจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือที่มีความชื้นสูงเนื่องจากอยู่ติดชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณเป็นป่าไม้เขตร้อนและทุ่งหญ้าสะวันนา 2. ภูมิอากาศแบบกึ่งร้อนชื้นหรือ ภูมิอากาศแบบกึ่งร้อน-มีฝนตกหนักฤดูร้อน(Subtropical-wetsummers)ได้แก่ พื้นที่ด้านตะวันออกของประเทศลักษณะอากาศในช่วงฤดูร้อนมีอุณหภูมิค่อนข้างสูงเฉลี่ยสูงกว่า 21องศาเซลเซียส เนื่องจากอยู่ในละติจูดเหนือเส้น ทรอปิกออฟแคบริคอร์นเล็กน้อยมีฝนตกหนักมากกว่า1,000มิลลิเมตรเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้เขตร้อนและเขตอบอุ่น 3. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น หรือ ภูมิอากาศแบบอบอุ่น-ฝนตกสม่าเสมอ(Temperate-uniformrainfall)ได้แก่ พื้นที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศและตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะแทสเมเนียในฤดูร้อนอุณหภูมิจะต่ากว่า18 องศาเซลเซียสถือเป็นอากาศอบอุ่นมีปริมาณฝนระหว่าง500-1,000มิลลิเมตรถือว่าอยู่ในระดับปานกลาง ลักษณะภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณเป็นป่าไม้เขตอบอุ่น 4. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนหรือลักษณะอากาศแบบอบอุ่น-ฝนตกฤดูหนาว(Temperate-westwinters)ได้แก่ พื้นที่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ ด้านใต้ค่อนไปทางตะวันออกและพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะแทสเมเนีย ลักษณะอากาศในฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่นถึงหนาวโดยมีอุณหภูมิต่ากว่า9องศาเซลเซียสเนื่องจากอยู่ในละติจูดสูง มีปริมาณฝนเฉลี่ยมากกว่า500มิลลิเมตรเนื่องจากได้รับอิทธิพลของลม ตะวันตกเฉียงใต้ 5. ภูมิอากาศแบบทะเลทรายหรือภูมิอากาศกึ่งร้อน-แห้งแล้ง(Subtropical-arid)ได้แก่ พื้นที่ตอนกลางและพื้นที่ด้านตะวันตกของประเทศเป็นลักษณะอากาศที่ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าอากาศลักษณะอื่นๆ ฤดูร้อนอุณหภูมิสูงกว่า33องศาเซลเซียสฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 18องศาเซลเซียส ขณะที่ปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปีน้อยกว่า 250มิลลิเมตรซึงลักษณะดังกล่าวจัดเป็น“ภูมิอากาศแบบทะเลทราย” ลักษณะของภูมิอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณธรรมชาติแบบทะเลทราย 6. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายหรือภูมิอากาศแบบกึ่งร้อนถึงอบอุ่น-แห้งแล้ง(Subtropical/Warm temperate-arid)ได้แก่ พื้นที่ตอนใต้ของประเทศที่เชื่อมต่อกับเขตทะเลทรายในฤดูร้อนอากาศจะร้อนมากโดยมีอุณหภูมิสูงกว่า30องศาเซลเซียส
  • 5. ฤดูหนาวอากาศอบอุ่นถึงหนาวโดยมีอุณหภูมิต่ากว่า 12องศาเซลเซียสขณะที่มีปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปีอยู่ระหว่าง250-500 มิลลิเมตรลักษณะอากาศทาให้ปรากฏพืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าสั้นๆหรือทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายทุ่งหญ้าสเตปป์ ลักษณะเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ประชากร สังคมและ วัฒนธรรมของทวีปออสเตรเลีย ภาษา ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการทั้งออสเตรเลีย ศาสนา ชาวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์โรมันคาทอลิกและแองกลิกัน ชาวพื้นเมืองนับถือผีสางเทวดา ออสเตรเลียไม่มีศาสนาประจาชาติจากการสารวจสามะโนครัวประชากรประมาณ12.6ล้านคน(64%) ประกาศตัวเป็นคริสเตียนในจานวนนี้5.1ล้านคน(26%) เป็นคาทอลิกและ 3.7 ล้านคน(19%) เป็นแองกลิกันประชากร3.7 ล้านคนถูกจัดอยู่ในกลุ่มไม่นับถือศาสนาซึ่งรวมถึงแนวความเชื่อแบบมนุษยนิยมอเทวนิยมอไญยนิยมและเหตุผลนิยม ประชากรเกือบหนึ่งล้านคน(5%)นับถือศาสนาอื่นๆซึ่งรวมศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูและศาสนาเชน อย่างไรก็ตามมีประชากรเพียง1.5ล้านคน(7.5%) ที่เข้าโบสถ์เป็นประจาทุกสัปดาห์ ประชากร เชื้อชาติเผ่าพันธุ์ของออสเตรเลียชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเป็นพวกผิวดาเรียก อะบอริจินส์เป็นพวกที่อพยพมาจากหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือและภาคตะวันตกปัจจุบันมี ชาวผิวขาวซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวอังกฤษอาศัยอยู่จานวนมากรัฐบาลได้จัดที่อยู่ในเขตนอร์ทเทิร์นเทริทอรี่ รัฐควีนสแลนด์ และรัฐออสเตรเลียตะวันตกพวกผิวเหลืองเป็นพวกที่อพยพมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2ได้แก่ ชาวจีนญี่ปุ่นพวกผิวขาว ส่วนใหญ่เป็นพวกที่อพยพมาจากประเทศอังกฤษมีการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรคือปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์การประมง และอุตสาหกรรม ประชากรและเชื้อชาติ ประชากรประมาณ12.6ล้านคน เชื่อกันว่าชาวอะบอริจินบนทวีปออสเตรเลียล่องเรือมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมาถึงทวีปออสเตรเลียในระหว่างยุคน้าแข็งครั้งสุดท้ายอย่างน้อยเป็นเวลา 50,000ปีมาช่วง เวลาที่ชาวยุโรปค้นพบทวีปออสเตรเลียและเข้ามาตั้งถิ่นฐานนั้นมีชาวอะบอริจินถึงหนึ่งล้านคนอาศัยอยู่ทั่วทั้งทวีปมาก่อนแล้ว โดยยังชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บของป่าชาวอะบอริจินเหล่านั้นกระจัดกระจายกันอยู่ใน 300เผ่ามีภาษาพูดแตกต่างกันถึง 250 ภาษาและอีก 700 ภาษาถิ่น ชาวอะบอริจินแต่ละเผ่ามีความผูกพันทางจิตใจกับผืนแผ่นดินเฉพาะแห่ง แต่ก็เดินทางอย่างกว้างขวางเพื่อทาการค้าหาแหล่งน้าและพืชผลตามฤดูกาล และเพื่อเข้าร่วมชุมนุมในพิธีกรรมและพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อังกฤษแผ่อานาจมาถึงทวีปออสเตรเลียและใช้เป็นที่อาศัยของนักโทษในศตวรรษที่17 นักสารวจชาวยุโรปจานวนหนึ่งได้ล่องเรือเลียบชายฝั่งของออสเตรเลียซึ่งในขณะนั้นเรียกกันว่านิวฮอลแลนด์ อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงปี 1770 กัปตัน JamesCook ได้อ้างสิทธิครอบครองชายฝั่งตะวันออกนี้เพื่อประเทศอังกฤษ ดินแดนห่างไกลที่ค้นพบใหม่นี้ถูกใช้เป็นอาณานิคมสาหรับการลงโทษผู้กระทาผิดวันที่26มกราคม1788 กองเรือที่หนึ่งซึ่งมีจานวน11 ลาได้ขนผู้โดยสารมาถึงท่าเรือซิดนีย์จานวน1,500คนโดยครึ่งหนึ่งเป็นนักโทษ จวบจนกระทั่งการขนส่งนักโทษสิ้นสุดลงในปี 1868มีนักโทษชายหญิงเดินทางมาถึงออสเตรเลียจานวน160,000คน การค้นพบทองคาในรัฐเซาท์ออสเตรเลียและตอนกลางของรัฐวิกตอเรียในปี 1851 ดึงดูดชายหนุ่มหลายพันคนและหญิงสาวจานวนหนึ่งที่รักการผจญภัยจากดินแดนอาณานิคมต่างๆให้หลั่งไหลเข้ามา
  • 6. นอกจากนี้ ยังมีนักเสี่ยงโชคจากจีนอีกประประเทศอื่นอีกจานวนมากจากทั่วโลกพากันมุ่งหน้ามาสมทบอีกด้วย ความพยายามของผู้ว่ากา รจากอังกฤษเพื่อบังคับใช้กฎระเบียบซึ่งได้แก่การพิจารณาออกใบอนุญาตขุดทองรายเดือนและการใช้กาลังทหารกดขี่ข่มเหง ได้นาไปสู่การต่อสู้นองเลือดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐแม้ว่าจะมีความรุนแรงเกิดขึ้นที่เหมืองทอง ความมั่งคั่งจากทองคาและขนสัตว์ได้ก่อให้เกิดการลงทุนขนานใหญ่ในเมืองเมลเบิร์นและเมืองซิดนีย์ ทั้งสองเมืองได้กลายเป็นนครอันทันสมัย ออสเตรเลียเปลี่ยนสถานะเป็นประเทศ รัฐทั้งหกของออสเตรเลียได้รวมกันเป็นประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญเดียวกันเมื่อวันที่ 1มกราคมค.ศ. 1901 หนึ่งในจานวนภารกิจแรกๆของรัฐสภาใหม่ของออสเตรเลียในขณะนั้นคือการออกกฎหมาย ซึ่งต่อมารู้จักกันในชื่อWhite Australian Policyซึ่งกาหนดให้เฉพาะผู้ที่เกิดในยุโรปเท่านั้นที่มีสิทธิอพยพเข้ามาอยู่อาศัยในออสเตรเลียได้ แต่การปฏิบัตินี้ก็ถูกยกเลิกไ ปทีละน้อยหลังสงครามโลกครั้งที่สองปัจจุบันออสเตรเลียมีประชากรที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติเป็นอันมาก โดยมาจากกว่า200ประเทศ ประเทศออสเตรเลียมีประชากรประมาณ21ล้านคนประชากรของชาวออสเตรเลียส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว โดยเฉพาะชาวอังกฤษและชาวพื้นเมืองดั้งเดิมพวกอะบอริจินเพียงเล็กน้อย ประชากรประเทศออสเตรเลียประกอบด้วย ชนผิวขาวที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษมีความเป็นอยู่เช่นเดียวกับชาวยุโรป ประชากรที่เป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเรียกว่าชาวอะบอริจินีมีรูปร่างค่อนข้างเตี้ยผิวคล้าผมหยิกจมูกแบนริมฝีปากหนา อาศัยอยู่ในรัฐควีนสแลนด์แทร์ริทอรีเหนือออสเตรเลียตะวันตกคนพวกนี้สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเมืองมากกว่าชนบทแถบชายฝั่งตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เพราะมีลักษณะอากาศแบบอบอุ่นชื้นเมืองสาคัญได้แก่ ซิดนีย์เมลเบิร์นบริสเบนส่วนภาคกลางและภาคตะวันตก ประชากรเบาบางเพราะเป็นเขตแห้งแล้งและทะเลทราย การกระจายประชากร รัฐบาลออสเตรเลียมีนโยบายสงวนพื้นที่ไว้สาหรับชาวผิวขาวคือ นโยบายออสเตรเลียขาวกีดกันผิวโดยจากัดจานวนคนสีผิวอื่นที่ไม่ใช่ผิวขาวเข้าไปตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลียบริเวณที่ประชากรอ าศัยอยู่หนาแน่นได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่มีประชากรเบาบางได้แก่ ตอนกลางของทวีปภาคเหนือ และภาคตะวันตก เศรษฐกิจของประเทศออสเตรเลียคือ การเพาะปลูกแหล่งเพาะปลูกสาคัญได้แก่ บริเวณลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์-ดาร์ลิงเกาะแทสเมเนียพืชสาคัญคือข้าวสาลีข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ทากันในไร่นาแปลงใหญ่ๆใช้เครื่องจักรทุ่นแรง การเลี้ยงสัตว์คือโคเนื้อและแกะพันธุ์เมอริโนให้ขนปุยยาวขนแกะเป็นสินค้าออกที่สาคัญ การล่าสัตว์ชาวพื้นเมืองใช้เครื่องมือง่ายๆล่าสัตว์เช่นหอกและบูมเมอแรง เป็นต้น การประมงไม่เด่นนักเนื่องจากยังขาดแรงงานและอุปกรณ์ การทาป่าไม้ มีพื้นที่ป่าไม้น้อยและเป็นไม้ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจต่าไม้เนื้ออ่อนเช่นต้นยูคาลิปตัสจะใช้ทาเยื่อกระดาษ เป็นต้น
  • 7. การอุตสาหกรรมออสเตรเลียมีทรัพยากรมากประชากรมีคุณภาพมีเทคโนโลยีทันสมัยมีเงินทุนสูง การอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้าเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองซิดนีย์เมืองนิวคาสเซิล การพาณิชยกรรมสินค้าออกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์เช่นเนื้อสัตว์หนังสัตว์ขนสัตว์นมเนยและข้าวสาลีน้าตาล เครื่องจักรกลผลไม้ เป็นต้นสินค้าเข้าคือสินแร่ เครื่องจักรปุ๋ ย อาหาร เสื้อผ้า การปกครอง การแบ่งแยกทางการเมืองออสเตรเลียมีระบบการปกครองแบบสหพันธรัฐประกอบด้วยรัฐต่างๆรวม 6 รัฐและดินแดนอิสระที่ไม่ขึ้นกับรัฐใดๆอีก 2 แห่ง คือ 1. รัฐนิวเซาท์เวลเมืองหลวงซิดนีย์ 2. รัฐวิกตอเรียเมืองหลวงเมลเบิร์น 3. รัฐควีนสแลนด์เมืองหลวงบริสเบรน 4. รัฐออสเตรเลียใต้ เมืองหลวงแอเดเลด 5. รัฐออสเตรเลียตะวันตกเมืองหลวงเพิร์ธ 6. รัฐแทนสเมเนียเมืองหลวงโอบาร์ต ดินแดนอิสระ2 บริเวณได้แก่ –นอร์ทเทิร์นแทริทอรี เมืองหลวงดาร์วิน -ออสเตรเลียแคปิตอลเทริทอรี เมืองหลวงแคนเบอร์ราออสเตรเลียเป็นประเทศเอกราชในเครือจักรภพอังกฤษ มีพระนางเจ้าอลิซาเบธที่2เป็นพระราชินีและเป็นประมุขของประเทศมีข้าหลวงใหญ่เป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ จัดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบสหพันธรัฐการปกครองของออสเตรเลียเป็นแบบรัฐบาลรวมคือมีรัฐบาล 2 ระดับได้แก่ -รัฐบาลกลาง -รัฐบาลของรัฐ ประวัติศาสตร์
  • 8. ออสเตรเลียเป็นทวีปเกือบสุดท้ายที่ชาวยุโรปเดินทางมาพบก่อนหน้านี้ชาวยุโรปไม่ทราบว่ายังมีดินแดนทางตอนใต้ เพียงแต่คาดว่าน่าจะมีในสมัยกรีกโบราณนักภูมิศาสตร์ชื่อปโตเลมีได้เขียนแผนที่โลก โดยแสดงให้เห็นว่าทางตอนใต้ของทวีปแฟริกามีดินแดนเชื่อมต่อกับทางตอนใต้ของทวีปเอเชียซึ่งปิดล้อมมหาสมุทรอินเดียไว้แ ละตั้งชื่อดินแดนส่วนนั้นว่า “แทร์ราอินคอกนิตา"Terra Incognitaแปลว่า ดินแดนที่ยังไม่รู้จัก ต่อมาในสมัยกลาง นักภูมิศาสตร์ก็ยังเชื่อว่าดินแดนทางใต้นี้มีอยู่จึงปรากฏแผนที่หลายฉบับที่เขียนขึ้นในสมัยกลาง ที่แสดงที่ตั้งของแผ่นดินขนาดใหญ่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรอินเดียแบบเดียวกับปโตเลมีแต่เรียกดินแดนนี้ว่าแทร์รา ออสตราลิสTerra Australis แปลว่าดินแดนทางใต้ ซึ่งชื่อนี้กลายเป็นชื่อของทวีปและประเทศออสเตรเลียในปัจจุบัน การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปได้รับการบันทึกไว้ครั้งแรกในเดือนมีนาคมค.ศ.1606เมื่อชาวนักสารวจชาวฮอลันดา ชื่อ วิลเลมแจนสซูน WillemJanszoon ค.ศ.1571-1638ทาแผนที่ชายฝั่งของแหลมเคปยอร์กและคาบสมุทรเพนินซูลา Cape YorkandPeninsulaของรัฐควีนสแลนด์จากการค้นพบครั้งนั้น
  • 9. ทาให้เริ่มมีการทาแผนที่ชายฝั่งตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ต่อมา ในปี ค.ศ. 1642นักเดินเรือชาวฮอลันดาชื่อ อเบล แทสมัน ได้เดินเรือจากมหาสมุทรอินเดียอ้อมไปทางใต้ของออสเตรลียจนพบเกาะซึ่งเขาเรียกชื่อว่า เกาะแวนดีเมนVan Diemen'sLandต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเกาะแทสมาเนียเพื่อเป็นเกียรติแก่ อเบลแทสมัน และเรียกดินแดนที่ค้นพบนี้ว่า“นิวฮอลแลนด์”New Holland แต่ขณะนั้นยังไม่มีความตั้งใจที่จะประกาศยึดครองดินแดนดังกล่าวต่อมาในปีเดียวกันนักสารวจชาวสเปน ชื่อ หลุยส์วาเอซเดอทอเรส LuisVaez de Torres ได้เดินเรือผ่านช่องแคบระหว่างออสเตรเลียและปาปัวนิวกินี จึงเรียกบริเวณนี้ว่า“ช่องแคบทอเรส” จากนั้นในปี ค.ศ.1688 วิลเลียมแดมเปียร์ WilliamDampierเป็นนักเดินเรือชาวอังกฤษคนแรกที่เข้าไปตั้งถิ่นฐาน บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลียโดยเขียนชื่อไว้บนสังกะสีตอกติดไว้บนต้นไม้ เพราะพบคนพื้นเมืองแสดงอาการเป็นศัตรูและสภาพภูมิอากาศแห้งแล้งจึงไม่สนใจต่อมาในปี ค.ศ.1770 กัปตันเจมส์ คุก JamesCook ชาวอังกฤษได้ล่องเรือมาสารวจและได้จัดทาแผนที่ทางด้านชายฝั่งตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย เห็นสภาพภูมิอากาศคล้ายแคว้นเวลส์ของสหราชอาณาจักรจึงได้ตั้งชื่อดินแดนแถบนั้นว่า “นิวเซาท์เวลส์” NewSouthWales พร้อมกันนั้นได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรแล้วยึดครองออสเตรเลียเป็นอาณานิคม กัปตันเจมส์ คุกJamesCook สาเหตุที่รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจส่งนักโทษมาตั้งถิ่นฐานที่ออสเตรเลียเนื่องจาก อังกฤษได้สูญเสียอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือและต้องการระบายนักโทษที่แออัดอยู่ในคุกของประเทศอังกฤษ โดยกัปตันอาเธอร์ฟิลลิปArthur Philipเป็นผู้ควบคุมนักโทษกลุ่มแรกได้เดินทางมาถึงอ่าวซิดนีย์เมื่อวันที่18 มกราคม ค.ศ. 1788 และได้ย้ายมาตั้งถิ่นฐานถาวรบริเวณอ่าว พอร์ตแจคสัน แล้วตั้งชื่อว่าซิดนีย์โคฟในวันที่26 มกราคม 1788 (ถือเป็นวันชาติออสเตรเลีย)นับเป็นจุดเริ่มต้นของการตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียของชาวอังกฤษ ผู้ตั้งถิ่นฐานในยุคแรกส่วนใหญ่จะเป็นนักโทษและครอบครัวของทหารแล้ว อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้ที่ตั้งใจย้ายมาตั้งถิ่นฐานใหม่ซึ่งรวมถึงชนชาติอื่นๆอาทิ อิตาเลียนกรีกและชาวยุโรปชาติอื่นๆ ตลอดจนชาวเอเชียอาทิ จีนมาเลเซียอินโดนีเซีย เป็นต้นโดยเริ่มตั้งถิ่นฐานครั้งแรกบริเวณอ่าวโบตานีเมืองซิดนีย์ในปัจจุบัน ต่อมามีการค้นพบทองคาในปี ค.ศ. 1800 จัดว่าเป็นยุค"ตื่นทอง" Gold rush
  • 10. ส่งผลให้ผู้ที่มิใช่นักโทษอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียมากขึ้นเรื่อยๆโดยกลุ่มคนที่มามีทั้งชาวอังกฤษไอร์แลนด์ เยอรมันจีนนอกจากนี้ยังมีชาวแอฟริกันอพยพเข้ามาและมีการนาอูฐเข้ามาด้วยเพื่อออกสารวจในพื้นที่ภายในทวีป ปรากฏว่าช่วงระยะเวลาเพียง10ปี ระหว่างค.ศ.1853-1863 ประชากรในอาณานิคมวิตอเรียเพิ่มขึ้นจาก 77,000 คนเป็น 540,000คนผลของการตื่นทองเป็นเหตุให้มีผู้คนอพยพเข้าไปในออสเตรเลียเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะชาวจีน ได้เดินทางเข้าไปแสวงโชคหางานทาชาวอาณานิคมที่เป็นชาวผิวขาวเริ่มวิตกกังวลและตั้งข้อรังเกียจชาวจีนที่เข้ามาแย่งอาชีพ รัฐบาลของออสเตรเลียจึงได้ใช้นโยบายออสเตรเลียขาว Whiteaustralianpolicyเพื่อจากัดคนที่ไม่ใช่ผิวขาวเข้าเมือง โดยพาะชาวจีน การตั้งถิ่นฐานบนเกาะแทสเมเนียหรือชื่อที่เรียกในขณะนั้นคือแวนไดเมนส์แลนด์VanDiemen'sLandซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1825 แยกออกมาเป็นอีกรัฐหนึ่งชื่อรัฐแทสเมเนียตามชื่อนักเดินเรือ อเบลแจนซูนทัสมัน Abel Janszoon Tasman นับตั้งแต่ต้นทศวรรษ1850อุตสาหกรรมขนสัตว์การขุดทองการขาดแคลนแรงงาน แผ่นดินอันกว้างใหญ่สาหรับการเพาะปลูกการทาเหมืองแร่ และการค้าขายได้ทาให้ออสเตรเลียเป็นดินแดนแห่งโอกาส และเป็นแรงกระตุ้นให้คนจากพื้นที่ต่างๆทั่วโลกหลั่งไหลมาตั้งถิ่นฐานในดินแดนออสเตรเลียเพิ่มจานวนมากขึ้น ในปี ค.ศ.1829 สหราชอาณาจักรได้ประกาศยึดครองดินแดนทางฝั่งตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย และได้แยกดินแดนทางด้านตะวันตกออกจาก นิวเซาท์เวลส์มาเป็นอีกหลายมลรัฐได้แก่ รัฐออสเตรเลียใต้ ในปี ค.ศ.1836 รัฐนี้เรียกว่าเป็นพื้นที่เสรี FreeProvince คือ เป็นรัฐที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการรองรับนักโทษPenalColonyรัฐวิคตอเรียในปี ค.ศ.1851 และรัฐควีนส์แลนด์ในปี ค.ศ.1859 ในส่วนของเขตการปกครองเทอร์ริทอรีเหนือNorthernTerritory ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ.1911 โดยเป็นส่วนที่ตัดออกมาจากรัฐออสเตรเลียใต้ ในปี ค.ศ.1848 นับเป็นปีแห่งการยุติการขนส่งนักโทษมายังทวีปออสเตรเลีย เนื่องจากมีการรณรงค์ยกเลิกมาตรการดังกล่าวโดยกลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐาน ประเทศออสเตรเลียจึงไม่ใช่ดินแดนอาณานิคมของนักโทษอีกต่อไป ก่อนที่ชนชาติยุโรปจะย้ายถิ่นฐานมาที่ทวีปออสเตรเลียบนทวีปนี้มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่ ซึ่งจานวนประชากรในขณะนั้นคาดว่าประมาณ 315,000คน แต่วิถีชีวิตของชนพื้นเมืองเหล่านี้ถูกเปลี่ยนไปเมื่ออังกฤษเข้ามายึดครองและประกาศเป็นพื้นที่อาณานิคม ซึ่งต่อมาทาให้ชนพื้นเมืองมีจานวนลดน้อยลงโดยในช่วงปี ค.ศ.1930จานวนประชากรลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ20
  • 11. ของจานวนประชากรเริ่มแรก สรุปนับตั้งแต่ปี ค.ศ.1788 มีชายหญิงประมาณ160,000คนที่อพยพไปออสเตรเลียในฐานะเสมือนนักโทษ อย่างไรก็ตามในช่วงเวลานี้ชนพื้นเมืองของออสเตรเลียได้เผชิญความยากลาบาก จากการรุกรานของผู้อพยพที่อ้างสิทธิในฐานะเจ้าอาณานิคมมีการขับไล่ออกจากพื้นที่และการเข้ายึดทรัพย์ในขณะเดียวกัน ชนพื้นเมืองต้องอยู่อย่างลาบากเจ็บไข้ได้ป่วยและการเสียชีวิตตลอดจนวิถีชีวิตดั้งเดิมและธรรมเนียมปฏิบัติถูกทาลาย ใน ค.ศ.1914 ออสเตรเลียได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่1ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเทศออสเตรเลียเป็นอย่างมาก ผู้ชายออสเตรเลียเกือบ3ล้านคนและอาสาสมัครเกือบ400,000คนต้องเข้าร่วมรบในสงคราม ผลจากสงครามทาให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 60,000คนและได้รับบาดเจ็บหลายหมื่นคน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่2กองกาลังของออสเตรเลียมีส่วนสนับสนุนครั้งสาคัญในการเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับยุโรป เอเชียและภาคพื้นแปซิฟิกได้เข้าสู้รบในสงครามและได้รับชัยชนะอย่างน่าภาคภูมิใจ อย่างไรก็ตามช่วงเวลาระหว่างสงครามโลกเป็นเวลาที่ประเทศไร้เสถียรภาพเศรษฐกิจตกต่า และสถาบันทางการเงินของออสเตรเลียหลายแห่งล้ม ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองหรือหลังจากปี ค.ศ.1945ออสเตรเลียได้เข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความเจริญรุ่งเรือง กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งและเกิดความต้องการแรงงานอย่างมากผู้หญิงจานวนมากเข้าไปทางานในโรงงาน ขณะที่ผู้ชายที่กลับจากการออกรบในสงครามสามารถเข้ามาทางานต่อได้ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่2 ออสเตรเลียมีนโยบายที่ไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติในระดับสากลและที่นี่จึงเป็นบ้านสาหรับประชาชนที่มาจากกว่า200 ประเทศ ในช่วงทศวรรษ1950เศรษฐกิจออสเตรเลียพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วเกิดโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ระดับชาติเช่น SnowyMountains Schemeซึ่งเป็นแผนกาลังไฟฟ้ าพลังน้าตั้งอยู่ในภูเขาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย รวมถึงชานเมืองออสเตรเลียก็เริ่มมีความเจริญแผ่ไปถึงทาให้อัตราผู้เป็นเจ้าของบ้านเพิ่มมากขึ้นจากร้อยละ 40ในปี ค.ศ.1947 เป็นร้อยละ70 ในทศวรรษ1960 การพัฒนาอื่นๆรวมถึงการรักษาความปลอดภัยทางสังคมของรัฐบาลและการเริ่มเผยแพร่สัญญาณโทรทัศน์และในปี ค.ศ.1956เมืองเมลเบิร์นได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิกทาให้ออสเตรเลียได้ส่องแสงประกายไปในระดับนานาชาติ ช่วงทศวรรษ1960เป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงของออสเตรเลียโดยเฉพาะในปี ค.ศ. 1967 ชาวออสเตรเลียได้ลงประชามติระดับชาติ โดยมีคะแนนเสียงอย่างท่วมท้นให้รัฐบาลแห่งชาติมีอานาจผ่านกฎหมายที่ทาในนามของชนพื้นเมืองออสเตรเลีย เพื่อพัฒนาเงื่อนไขความเป็นอยู่ของชาวอะบอริจินและชาวเกาะทอเรส สเตรท ซึ่งในปัจจุบันจานวนชนพื้นเมืองมีอยู่มากกว่าร้อยละ2ของประชากรทั้งประเทศ นอกจากนี้รัฐบาลออสเตรเลียได้ดาเนินบทบาทที่สาคัญ โดยการพยายามสร้างความสมานฉันท์ระหว่างกลุ่มชนพื้นเมืองและที่มิใช่ชนพื้นเมืองการดาเนินการที่สาคัญคือ การออกมากล่าวขอโทษอย่างเป็นทางการของรัฐบาลเมื่อวันที่13กุมภาพันธ์ ค.ศ.2008 ในกรณีที่มีการแยกเด็กชาวพื้นเมืองออกจากครอบครัวดั้งเดิมเพื่อต้องการลบล้างวัฒนธรรม ประเทศออสเตรเลียในปัจจุบันนับเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทั้งทางด้านเศรษฐกิจการเมืองสังคม การศึกษาและวัฒนธรรมที่จะเจริญต่อไป