SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
เครื่องดนตรี คืออุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาหรือปรับจากอุปกรณ์อื่นๆ
เพื่อใช้งานสาหรับการผลิตเสียงดนตรี หรือสร้างเสียงสาหรับใช้ประกอบในการร้องราทาเพลงโดยหลักการแล้ว
อุปกรณ์ใดก็ตามที่สามารถนามาใช้ผลิตเสียงดนตรี ย่อมเรียกว่า เครื่องดนตรี ได้ทั้งสิ้นผู้ที่ใช้เครื่องดนตรีนั้นเรียกว่านักดนตรี
เครื่องดนตรีสากลแบ่งเป็นตามลักษณะดังนี้
เครื่องสาย(String Instruments)
กีตาร์ (Guitar) เบส (ฺBass) ไวโอลิน (Violin) วิโอลา(Viola) เชลโล(Cello) ดับเบิลเบส (DoubleBass) ฮาร์ป(Harp)
แบนโจ(Banjo) แมนโดลิน(Mandolin) ลูท (Lute)
เครื่องกระทบ(Percussion Instruments)
กลองชุด (DrumSet) กลองทิมปานี(Timpani) กลองใหญ่ กลองเล็ก กลองบองโก กลองคองก้า กลองทอมบา แทมบูริน
ฉาบ(Cymbal) เบลไลรา ไซโลโฟน(Xylophone) ไวบราโฟน(Vibraphone) ไลน์เบล(Line Bell) ไทรแองเกิล(Triangle)
คาสทาเนทหรือกรับสเปน(Castanet) มาราคัส(Maracas) คาบาซา(Cabaza) มาริมบา (Marimba) คาวเบลส์
ระฆังราว(TubularBells) นุชเลิบอาลิป
เครื่องประเภทลิ่มนิ้ว(Keyboard Instruments)
ออร์แกน (Organ) เมโลเดียน(Melodian) เปียโน(Piano) แอคคอร์เดียน (Accordion) ฮาร์ปซิคอร์ด (Harpsichord)
อิเลคโทน(Electone) คลาวิคอร์ด(Clavichord) คีย์บอร์ด (keyboard)
เครื่องเป่ าลมไม้ (Woodwind Instruments)
ฟลูต(Flute) อัลโต้แซกโซโฟน(Ato Saxophone) โอโบ(Oboe) คลาริเน็ต(Clarinet) บาสซูน (Bassoon) รีคอร์เดอร์ (Recorder)
ปิคโคโล(Piccolo) คอร์ แองเกลส์(Cor Anglaisor Englishhorn)
เครื่องเป่ าทองเหลือง(BrassInstruments)
ทรอมโบน (Trombone) ทรัมเป็ต (Trumpet) ทูบา (Tuba) ฟลูเกลฮอร์น(Flugelhorn) เฟรนฮอร์น(FrenchHorn)
คอร์เน็ท (Cornet) ซูซาโฟน(Sousaphone) ยูโฟเนียม(Euphonium)
รายชื่อเครื่องดนตรีสากล
กีตาร์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก
เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าวกระนั้นควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด
กีตาร์
กีตาร์คลาสสิก (สายไนลอน)
เครื่องสาย
ประเภท เครื่องสาย (ดีด)
ช่วงเสียง
(กีตาร์ตั้งเสียงมาตรฐาน)
เครื่องดนตรีที่เกี่ยวข้อง
กีตาร์คลาสสิก · กีตาร์เบส · กีตาร์ไฟฟ้ า · อู กู เลเล
กีตาร์ (อังกฤษ: Guitar)เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์
เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทาให้เกิดกาทอน(resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์
กีตาร์นั้นมีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่างกีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกาทอนซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง
ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตันและมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสาหรับปรับเสียง
กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย[ต้องการอ้างอิง]
และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์
นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย
กีตาร์สามารถเล่นในยามว่างหรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี
ปกติกีตาร์จะมี6 สาย แต่แบบ4-7-8-10-12-สายก็มีเช่นกันผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier
เนื้อหา
[แสดง]
ประวัติ[แก้]
เครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกีตาร์เป็นที่นิยมมากว่า5,000ปีเป็นอย่างต่าโดยเริ่มเป็นที่นิยมในแถบเอเชียกลาง เรียกว่าซิตาร่า(Sitara)
เครื่องดนตรีที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกีตาร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบมีอายุ3,300 ปี เป็นหินสลักของกวีอาณาจักรโบราณฮิตไตต์
คาว่ากีตาร์มาจากภาษาสเปนคาว่า guitarra ซึ่งมาจากภาษากรีกอีกทีคือคาว่า Kithara kithara
จากหลายแหล่งที่มาทาให้คาว่ากีตาร์น่าจะมีรากศัพท์มาจากภาษาตระกูลอินโดยูโรเปียน guit- คล้ายกับภาษาสันสกฤต ที่แปลว่าดนตรี และ -tar หมายถึงคอร์ด หรือ สาย คาว่า
qitara เป็นภาษาอาราบิก ใช้เรียก Lute lute ส่วนคาว่าguitarra เกิดขึ้นเมื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ถูกนามาที่Iberia (หรือ Iberian Peninsular
เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในทวีปยุโรป) โดย ชาวมัวร์
กีตาร์ในยุคปัจจุบันมาจากเครื่องดนตรีที่เรียกว่า cithara ของชาวโรมันซึ่งนาเข้าไปแพร่หลายในอาณาจักรฮิสปาเนีย หรือสเปนโบราณ ประมาณค.ศ.40
จากนั้นเปลี่ยนแปลงรูปแบบจนกลายมาเป็น เครื่องดนตรีที่มี4 สายเรียกว่าอู๊ด (oud) นาเข้ามาโดยชาวมัวร์ในยุคที่เข้ามาครอบครองคาบสมุทรไอบีเรียน ในศตวรรษที่8
ส่วนในยุโรปมีเครื่องดนตรีที่เรียกว่าลุต (lute) ของชาวสแกนดิเนเวียมี6 สาย ในสมัย ค.ศ.800 เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาว(ไวกิ้ง)
ค.ศ.1200 กีตาร์ 4 สาย มี2 ประเภทคือ กีตาร่ามอ ริสกาหรือกีตาร์ของชาวมัวร์ มีลักษณะกลม ตัวคอกว้างมีหลายรู กับกีตาร่าลาติน่าซึ่งรูปร่างคล้ายกีตาร์ในปัจจุบัน
คือมีรูเดียวและคอแคบในศตวรรษที่16 เครื่องดนตรีคล้ายกีตาร์ของชาวสเปนที่เรียกว่าวิฮูเอล่าเป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกีตาร์ในปัจจุบัน
มีความผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรีอู๊ดของชาวอาหรับและลูตของยุโรป แต่ได้รับความนิยมในช่วงสั้นๆพบเห็นจนถึงปี 1576
เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่มีรูปลักษณ์เหมือนกีตาร์ในปัจจุบัน เกิดในช่วงยุคปลายของสมัยกลางหรือยุคต้นสมัยเรอเนสซอง (500 กว่าปีที่แล้ว)
เป็นช่วงที่มีการใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายกันทั่วโลก ในยุคนั้นกีตาร์มีทั้งแบบ 4 และ5 สาย สาหรับกีตาร์ที่มี 6 สาย ระบุว่ามีขึ้นในปี 1779 เป็นผลงานของนายแกตาโน
วินาซเซีย (Gaetano Vinaccia) ในเมืองเนเปิล อิตาลีแต่ก็ถกเถียงกันว่าอาจเป็นของปลอมสาหรับตระกูลวินาซเซียมีชื่อเสียงในการผลิตแมนโดลินมาก่อน
กีตาร์ไฟฟ้าตัวแรกเริ่มผลิตขึ้นในศตวรรษที่20 โดยจอร์จโบแชมป์ (George Beauchamp) ได้รับสิทธิบัตรในปี 1936
และร่วมกับ ริกเค่นแบ็กเกอร์ (Rickenbacker) ตั้งบริษัท Electro String Instrument ผลิตกีตาร์ไฟฟ้าในช่วงปลายปีทศวรรษที่1930ต่อมาในช่วงทศวรรษ
1960 จอห์นเลนนอน สมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์ใช้กีตาร์ยี่ห้อนี้ ส่งผลให้เครื่องดนตรียี่ห้อนี้มีชื่อเสียงในกลุ่มนักดนตรีในยุคนั้นและในปัจจุบันบริษัทริกเค่นแบ็กเกอร์
เป็นบริษัทผลิตกีตาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา[1]
ประเภทของกีตาร์[แก้]
กีตาร์โปร่ง[แก้]
Renaissance guitars
มีขนาดเล็กกว่ากีตาร์คลาสสิก ให้เสียงที่เบากว่ามาก ใช้สายไนล่อนแบบเดียวกับกีตาร์คลาสสิก นิยมเล่นในสมัยโบราณปัจจุบันไม่ค่อยได้รับความนิยม
Classical guitars
กีตาร์คลาสสิก(Classic Guitar) หรือกีตาร์สายไนล่อนนิยมเล่นเพลงบรรเลงแบบsingle note (finger-picking) ดังนั้นคอกีตาร์คลาสสิก
จึงมีความกว้างกว่ากีตาร์ไซด์มาตรฐานทั่วไป
Nylon String ชนิด Hybrid (หรือกีตาร์ลูกครึ่งระหว่าง กีตาร์คลาสสิกสายไนล่อน กับ กีตาร์โปร่งสายเหล็ก)
แม้จะใช้สายกีตาร์ชนิดไนล่อนแบบเดียวกับกีตาร์คลาสสิก แต่สัดส่วนองค์ประกอบหลายอย่างจะต่างจากกีตาร์คลาสสิก เช่นคอที่เล็กกว่า
เพื่อสะดวกในการจับด้วยมือซ้าย
มีภาคไฟฟ้า, คอมีtruss rod(เหล็กดามคอ)เพื่อใช้ปรับองศาคอได้, มีคอแบบcut away, ลาตัวbody จะบางกว่ามาตรฐานเป็นต้น
กีตาร์สายไนล่อนชนิดนี้ สามารถเล่นแนวหรือสไตล์เพลงได้กว้างกว่ากีตาร์สายไนล่อนชนิด Classic Guitar
Flat-top (steel-string) guitars หรือที่รู้จักกันในชื่อ กีตาร์โปร่ง
กีตาร์โปร่งสายเหล็กมีหลายๆรูปทรงเช่น กีตาร์ทรงDreadnought(D), Orchestra Model(OM), Grand Concert(GC),
Grand Auditorium(GA), Jumbo(J), และขนาด 3/4 กีตาร์ขนาดเล็ก
กีตาร์โปร่งสายเหล็กต่างกีตาร์คลาสสิกอยู่หลายๆประการ เช่นวิธีการเล่น, สายกีตาร์ที่ใช้, โครงสร้างภายในตัวกีตาร์หรือ Bracing, เหล็กดามคอหรือ truss
rod เพื่อปรับแต่งองศาคอได้เนื่องจาก แรงดึงของสายกีตาร์มีมาก อาจจะทาให้องศารอเปลี่ยนได้ผู้เล่นจึงสามารถปรับแต่งองศาได้ตามความชอบ,
กีตาร์โปร่งสายเหล็ก(Flat-top) ถูกสร้างมามากกว่า180 ปี (หลังมีกีตาร์สานไนล่อน)เนื่องจากในวงดนตรี มีเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆเข้ามาร่วมเล่นด้วย
และประกอบกับสไตล์เพลงมีความหลากหลายมากขึ้นผู้เล่นจึงต้องการกีตาร์ที่มีเสียงดังกังวานมากพอ ที่สามารถใช้รวมเล่นกับเครื่องดนตรีประเภทอื่นๆดังนั้น
กีตาร์โปร่งสายเหล็กจึงมีเอกลักษณ์ที่เสียงดังกังวานกีตาร์โปร่งสายเหล็กสามารถเล่นได้กว้างหลากหลายสไตล์เพลงเช่น pop, folk, Bluegrass,
finger-style, jazz, blues เป็นต้น กีตาร์โปร่งที่ดีจะต้องให้เสียงที่ดัง กังวาน มีความ balance ของทุกๆย่านเสียงทุกๆสายกีตาร์ต้องbalance
กัน
Archtop guitars
จุดเด่นคือ ด้านหน้าของกีตาร์ (top)จะโค้งโพรงเสียงไม่เป็นช่องกลม แต่จะเป็นรูปตัว F สะพานยึดสายหรือ Bridge จะแตกต่างจาก กีตารโปร่ง
(คนไทยนิยมเรียกว่าหางปลา) นิยมใช้เล่นในดนตรีแจ๊ส และBlues เอกลักษณ์ของเสียงเสียงของarch top guitar จะมีเสียงโน๊ตห้วน สั้น คือ
หางเสียงจะไม่ยาวเหมือกีตาร์โปร่งสายเหล็กทั่วไป ทั้งนี้ก็เพื่อให้เหมาะกับการเล่นเพลง Jazz , Blues
Resonator
หรือ Resophonic หรือ dobro คล้ายกับกีตาร์ Flat-top นิยมเล่นเพลงสไตล์ Country
12 string guitars
จุดเด่นคือ จะมีสายกีตาร์ 12 สาย นิยมใช้เล่นในสไตล์เพลงcowboy, country นิยมใช้ตีคอร์ด ไม่นิยมใช้เล่นแบบpicking
Acoustic bass guitars
เป็นกีตาร์เบสในรูปแบบอคูสติก มีสายและเสียงเหมือนกัน โน้ตที่เล่นจะใช้"กุญแจฟา" ให้เสียงทุ้มต่า นุ่มนวล
Tenor guitars
มี4 สาย
Harp guitars
จะมีสาย harp เพิ่มขึ้นมาจากปกติที่มี6 สาย สาย harp จะให้เสียงต่าหรือเสียงในช่วงเบส ปกติจะไม่มีฟิงเกอร์บอร์ดหรือเฟร็ต
Ukulele Guitar
เป็นกีตาร์ ขนาดเล็ก มี4 สาย
กีตาร์ไฟฟ้ า[แก้]
แบ่งตามโครงสร้างของลาตัวกีต้าร์ (Body) อาจแบ่งได้เป็น3 ชนิด คือ
กีต้าร์ตัวตัน (Solid Body)
หมายถึง กีต้าร์ไฟฟ้าปกติที่ลาตัวมีลักษณะตันไม่มีการเจาะช่องในลาตัวกีต้าร์เหมือนอย่างกีตาร์โปร่งหรือ อะคูสติกกีตาร์
แต่บริเวณลาตัวจะมีตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) ขณะที่ดีด เพื่อส่งต่อไปยังเครื่องขยายเสียง(Amplifier) ต่อไปโดยทั่วไป
ตัวรับสัญญาณจะมี 2 ประเภท คือ ตัวรับสัญญาณแบบแถวเดี่ยวที่เรียกว่า Single Coil และแบบแถวคู่ที่เรียกว่า Humbucker
กีต้าร์ลาตัวกึ่งโปร่ง (Semi-Hallow Body)
เป็นกีต้าร์ไฟฟ้าที่มีลักษณะโครงสร้างส่วนกลางของลาตัวในแนวเดียวกับคอกีต้าร์มีลักษณะตัน(แต่มีการเจาะช่องเพื่อใส่ตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์
(Pick Up) เช่นเดียวกับกีต้าร์ตัวตัน)บริเวณส่วนข้างของกีต้าร์มีการเจาะช่อง(Sound Hole) เอาไว้เพื่อให้เกิดการกาทอนของเสียงมากกว่ากีต้าร์ตัวตัน
ซึ่งจะให้เสียงที่เป็นอคูสติกมากขึ้น นิยมใช้ในดนตรีแจ๊สหรือบลูส์ เป็นกีต้าร์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อลดเสียงรบกวนที่เรียกว่าFeed back
ซึ่งเกิดจากกีต้าร์ไฟฟ้าลาตัวโปร่ง(กล่าวคือยังมีเสียงรบกวนบ้างแต่น้อยลงกว่าเดิม)
กีต้าร์ลาตัวโปร่ง (Hallow Body)
กีต้าร์ไฟฟ้าที่มีการเจาะช่องเอาไว้เพื่อให้เกิดการกาทอนของเสียง(Sound Hole) เช่นเดียวกับกีต้าร์โปร่งหรืออคูสติก และกีต้าร์ลาตัวกึ่งโปร่ง
ปกติช่องดังกล่าวมักจะอยู่ด้านข้างของลาตัวกีต้าร์ เนื่องจากบริเวณกลางลาตัวจะมีการใส่ตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up)
เช่นเดียวกันกับกีต้าร์ตัวตันซึ่งผลของการที่มีช่องกาทอนเสียงทาให้ลักษณะของเนื้อเสียงที่ได้เป็นอคูสติกมากกว่ากีต้าร์ Semi-Hallow Body
แต่หากขยายเสียงให้ดังมากจะก่อให้เกิดเสียงรบกวนที่เรียกว่า Feed back กีต้าร์ประเภทนี้มักจะนิยมใช้กับดนตรีแจ๊สหรือบลูส์เป็นส่วนใหญ่
ส่วนประกอบของ กีตาร์[แก้]
เมื่อเทียบกับประเภทของไม้ที่ถูกนามาใช้ด้านหน้าของกีต้าร์แล้วไม้ที่ถูกนามาใช้เป็นแผ่นหลังและข้างนั้น มีมากมายหลายชนิดกว่าอาจแบ่งออกกว้างๆเป็นตระกูล
Rosewood, Walnut, Maple, Koa, Mahogany รวมไปถึงไม้แปลกๆใหม่ๆ ที่กาลังเป็นที่นิยม และพวกที่ยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก
เพื่อความสะดวกและเข้าใจได้ง่าย ผู้เขียนจะแบ่งประเภทของไม้ออกเป็นจาพวกคร่าว ๆดังนี้
ไม้ข้าง และไม้หลัง (back &side) ของกีตาร์
1. Rosewood
2. Mahogany
3. Koa
4. Maple
5. Walnut
6. Ziricote (Cordia Dodecandra)
7. Macassar Ebony (Diospyrus Celebica)
8. Myrtewood
9. African Blackwood
10. African Paduk
11. Imbuia
12. Cherry
ไม้หน้า (Top) ของกีตาร์
1. Sitka Spruce
2. Englemann Spruce
3. Red Spruce
4. German Spruce
5. Alpine Spruce
6. Cedar
7. Port Orford Cedar
8. Redwood
9. Western Larch
ดูเพิ่ม[แก้]
 ปิ๊ก
 กีตาร์เบส
 กีตาร์ฮาวาย
ปิ๊ก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิง
อาจถูกคัดค้านหรือนาออก
ปิ๊กแบบต่างๆ
ปิ๊ก (อังกฤษ: pick)แผ่นพลาสติกบางรูปสามเหลี่ยมหรือรูปหยดน้า ใช้สาหรับดีดกีตาร์หรือเครื่องสายอื่นมีหลายขนาดทั้งแข็ง(heavy) ปานกลาง(medium)
หรืออ่อน(slim) ปิ๊กแข็งนิยมใช้ในการโซโล่เพลงจะให้เสียงที่มีพลังกังวาล ปิ๊กอ่อนใช้ในการตีคอร์ดเพราะจะให้เสียงที่ใสกว่าปิ๊กแข๊งปิ๊กขนาดกลาง ใช้ได้ทั้ง2 อย่าง
แต่ถ้าใช้ปิ๊กแข็งตีคอร์ดแต่ใช้การจับปิ๊กหลวม ๆก็จะได้เสียงที่ต่างไปอีกแบบวัสดุที่นามาใช้ทาปิ๊กมีหลายแบบเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น เหล็ก พลาสติก อะลูมิเนียม ฯลฯ
กีตาร์เบส
เบส เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้งelectric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า)
หรือเรียกสั้นๆว่าbass (เบส) ลักษณะของเบสจะมีรูปร่างใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่ามีย่านความถี่เสียงต่ามีหน้าที่โดยหลักๆในการให้จังหวะ
คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และgroove ของดนตรี
ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่างๆเช่นเทคนิคการ Slap หรือการตบเบส
(รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนวการ Tapping การเดินImprovising การเล่นHarmonics
การเล่นPicking เป็นต้น
เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกาเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่นๆในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อ
ประวัติ)เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่างๆก็จะมี เบสไฟฟ้าเบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต)และ double bass, upright
bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสาหรับนักดนตรีบางคนว่าเบสใหญ่
เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี4 สาย 5 สาย และ6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว
เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่า-สูง)เบส5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C
แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่างๆจานวนสายก็อาจจะมีอื่นๆอีก เช่น3 สาย, 7 สาย, 8 สาย ,9 สาย เป็นต้น
ประวัติ[แก้]
เมื่อกล่าวถึงBassline เริ่มเป็นที่รู้จักกันในวงการดนตรี โดยเริ่มได้ยินเช่นในบทเพลงของJ.S. Bach ระหว่างปี 1685-1750 ซึ่งbassline มีความ
สาคัญเฉกเช่นเดียวกับในส่วนของ soprano , alto , tenor เลยที่เดียวโดยในดนตรีคลาสสิก และออร์เคสตรา เสียงเบสจะถูกกาหนดขึ้นโดยเครื่องดนตรีที่มีชื่อว่า
upright bass หรือ bass viola ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีตระกูลเบสรุ่นแรกในโลก
ต่อมาเมื่อเริ่มมีดนตรีของคนแอฟริกัน คือ Ragtime (ดนตรีแนวเต้นราของชาวแอฟริกัน)และ New Orleans Jazz โดยมีอุปกรณ์เสียงต่าที่เล่นจาก
brass bass และtuba เนื่องจากเป็นการเล่นโดยใช้ลมหายใจในการเป่า ที่ใช้ทูบาในการเล่นเป็นจังหวะ 2 beat ใน 1 bar และนี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นของเพลง jazz
และเพลงเต้นรา
เมื่อเพลงแจ๊ซมีการพัฒนาและเกิดการวิวัฒนาการขึ้นเป็นจังหวะ swing ในปี 1935 การแต่งและการเรียบเรียงดนตรีจึงเกิดมีความซับซ้อนและยุ่งยากตามมา
แต่ในขณะนั้น ได้มีในงานดนตรีที่มีชื่อเสียงในวงการเพลงแจ๊ซ เช่น Duke Ellington , Count Basie and Benny Goodman และจังหวะแบบ 4
จังหวะ ใน 1 ห้องเพลง เริ่มเป็นที่แพร่หลายและนาไปใช้กันมากขึ้น ตั้งแต่ที่brass bass ไม่สามารถที่จะเล่นในจังหวะนี้ได้ Acoustic upright bass
จึงได้เป็นอุปกรณ์ชิ้นสาคัญที่ขึ้นมาแทนที่ brass bass อย่างไรก็ตาม Acoustic upright bass ก็มีข้อจากัดของมันเองอยู่เหมือนกันในเรื่อง
ของลาตัวที่ค่อนข้างใหญ่พกพายาก และมีน้าเสียงที่ไม่สามารถดังดีพอและเหมาะสมในการเล่นร่วมกับวงดนตรีประเภท Big band ที่มีเครื่องดนตรีหลากหลายชิ้นเช่น
brass จานวน 7 ตัว ,เปียโน ,กีต้าร์ กลองสิ่งนี้จึงมีการเกิดปัญหาต่อในหมู่คนเล่นเบส
ต่อมาจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการประดิษฐ์เบสไฟฟ้าขึ้นมาตัวแรกของโลก เบสไฟฟ้าตัวแรกของโลกถูกประดิษฐ์ขึ้นมาโดย Clarence Leo Fender ในปี 1951
จากบริษัทFender Musical Intrumental Company (บริษัทเดียวกับที่ผลิตกีตาร์ Fender) ร่วมกันผลิตเบสที่มีชื่อรุ่นว่า Precision bass โดย
Leo Fender ได้ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อการแก้ไขปัญหาของเบสรุ่นเก่าที่มีปัญหาในเรื่องของเสียงและขนาดที่ใหญ่ของ Acoustic upright bass ซึ่งเขาได้ตั้งชื่อรุ่นว่า
Precision bass เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ที่แปลว่า"เบสที่มีความกระชับ" โดยมีการใช้เฟร็ทติดลงบน Fingerboard และแก้ไขในเรื่องของน้าเสียงให้ดีขึ้น
American Vintage ‘62Precision Bass?
Leo Fender กล่าวว่า"พวกเราต้องให้ความเป็นอิสระแก่มือเบสจาก Acoustic upright
bassการผลิตเบสจึงเป็นการเกิดอุตสาหกรรมการผลิตเบสขึ้นเป็นครั้งแรก โดยความร่วมมือกับ George Fullerton Precision Bass
รุ่นนี้มีการสร้างเฟรทที่ลาคอ มีลักษณะเป็นslab-bodied และมี 34" scale ต่อมาเบสรุ่นนี้จึงเป็นที่นิยมในหมู่นักดนตรีระดับโลก ในทุก ๆแขนงทางดนตรี เช่น Monk
Montgomery ,Shifti Henri ,Dave Myers
วงของVibist Lionel Hampton นับเป็นรุ่นแรกที่นา P-Bass ไปใช้ในการแสดง โดยมือเบสของเขาคือRoy
Johnson และเบสตัวนี้มีเสียงที่ออกมาได้อย่างน่าทึ่งมาก จากคาวิจารณ์ของLeonard Feather ซึ่งได้เขียนในนิตยสาร Down Beat เมื่อ 30 กรกฎาคม 1952
หลังจาก Roy Johnson ออกจากวงของ HamptonMonk Montgomery จึงเป็นบุคคลแรกที่สามารถสร้างชื่อเสียงขึ้นจากเบสตัวนี้ แต่เขาก็ยังคงใช้
upright bass ในการเล่นควบคู่กันไปในวงของเขา กับมือกีตาร์คือ Wes Montgomery (มือกีตาร์ฝีมือดีแห่งวงการ)ซึ่งเป็นน้องชายเขา
นอกจากนี้ นักดนตรี Blues ก็นาเอาเบสรุ่นนี้ไปใช้ในบทเพลงเช่นเดียวกัน โดยในปี 1958 Dave Myers ได้นา Precision Bass
ไปใช้ในการบันทึกเสียงเบส ที่สร้างความสาเร็จให้แก่นักดนตรี Blues สมัยนั้นอย่างมากมาย โดย เขาได้พูดขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม ปี 1998 ว่า
"ผมสร้างความประสบความสาเร็จให้กับ Fender Bass.."

More Related Content

Similar to ชื่อของเครื่องดนตรีสากล

Similar to ชื่อของเครื่องดนตรีสากล (7)

Narubet5 3 6
Narubet5 3 6Narubet5 3 6
Narubet5 3 6
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
เบส Power point
เบส Power pointเบส Power point
เบส Power point
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

ชื่อของเครื่องดนตรีสากล

  • 1. เครื่องดนตรี คืออุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาหรือปรับจากอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้งานสาหรับการผลิตเสียงดนตรี หรือสร้างเสียงสาหรับใช้ประกอบในการร้องราทาเพลงโดยหลักการแล้ว อุปกรณ์ใดก็ตามที่สามารถนามาใช้ผลิตเสียงดนตรี ย่อมเรียกว่า เครื่องดนตรี ได้ทั้งสิ้นผู้ที่ใช้เครื่องดนตรีนั้นเรียกว่านักดนตรี เครื่องดนตรีสากลแบ่งเป็นตามลักษณะดังนี้ เครื่องสาย(String Instruments) กีตาร์ (Guitar) เบส (ฺBass) ไวโอลิน (Violin) วิโอลา(Viola) เชลโล(Cello) ดับเบิลเบส (DoubleBass) ฮาร์ป(Harp) แบนโจ(Banjo) แมนโดลิน(Mandolin) ลูท (Lute) เครื่องกระทบ(Percussion Instruments) กลองชุด (DrumSet) กลองทิมปานี(Timpani) กลองใหญ่ กลองเล็ก กลองบองโก กลองคองก้า กลองทอมบา แทมบูริน ฉาบ(Cymbal) เบลไลรา ไซโลโฟน(Xylophone) ไวบราโฟน(Vibraphone) ไลน์เบล(Line Bell) ไทรแองเกิล(Triangle) คาสทาเนทหรือกรับสเปน(Castanet) มาราคัส(Maracas) คาบาซา(Cabaza) มาริมบา (Marimba) คาวเบลส์ ระฆังราว(TubularBells) นุชเลิบอาลิป เครื่องประเภทลิ่มนิ้ว(Keyboard Instruments) ออร์แกน (Organ) เมโลเดียน(Melodian) เปียโน(Piano) แอคคอร์เดียน (Accordion) ฮาร์ปซิคอร์ด (Harpsichord) อิเลคโทน(Electone) คลาวิคอร์ด(Clavichord) คีย์บอร์ด (keyboard) เครื่องเป่ าลมไม้ (Woodwind Instruments) ฟลูต(Flute) อัลโต้แซกโซโฟน(Ato Saxophone) โอโบ(Oboe) คลาริเน็ต(Clarinet) บาสซูน (Bassoon) รีคอร์เดอร์ (Recorder) ปิคโคโล(Piccolo) คอร์ แองเกลส์(Cor Anglaisor Englishhorn) เครื่องเป่ าทองเหลือง(BrassInstruments) ทรอมโบน (Trombone) ทรัมเป็ต (Trumpet) ทูบา (Tuba) ฟลูเกลฮอร์น(Flugelhorn) เฟรนฮอร์น(FrenchHorn) คอร์เน็ท (Cornet) ซูซาโฟน(Sousaphone) ยูโฟเนียม(Euphonium) รายชื่อเครื่องดนตรีสากล กีตาร์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าวกระนั้นควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด กีตาร์
  • 2. กีตาร์คลาสสิก (สายไนลอน) เครื่องสาย ประเภท เครื่องสาย (ดีด) ช่วงเสียง (กีตาร์ตั้งเสียงมาตรฐาน) เครื่องดนตรีที่เกี่ยวข้อง กีตาร์คลาสสิก · กีตาร์เบส · กีตาร์ไฟฟ้ า · อู กู เลเล กีตาร์ (อังกฤษ: Guitar)เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทาให้เกิดกาทอน(resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ กีตาร์นั้นมีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่างกีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกาทอนซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตันและมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสาหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย[ต้องการอ้างอิง] และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่างหรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี6 สาย แต่แบบ4-7-8-10-12-สายก็มีเช่นกันผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier
  • 3. เนื้อหา [แสดง] ประวัติ[แก้] เครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกีตาร์เป็นที่นิยมมากว่า5,000ปีเป็นอย่างต่าโดยเริ่มเป็นที่นิยมในแถบเอเชียกลาง เรียกว่าซิตาร่า(Sitara) เครื่องดนตรีที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกีตาร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบมีอายุ3,300 ปี เป็นหินสลักของกวีอาณาจักรโบราณฮิตไตต์ คาว่ากีตาร์มาจากภาษาสเปนคาว่า guitarra ซึ่งมาจากภาษากรีกอีกทีคือคาว่า Kithara kithara จากหลายแหล่งที่มาทาให้คาว่ากีตาร์น่าจะมีรากศัพท์มาจากภาษาตระกูลอินโดยูโรเปียน guit- คล้ายกับภาษาสันสกฤต ที่แปลว่าดนตรี และ -tar หมายถึงคอร์ด หรือ สาย คาว่า qitara เป็นภาษาอาราบิก ใช้เรียก Lute lute ส่วนคาว่าguitarra เกิดขึ้นเมื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ถูกนามาที่Iberia (หรือ Iberian Peninsular เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในทวีปยุโรป) โดย ชาวมัวร์ กีตาร์ในยุคปัจจุบันมาจากเครื่องดนตรีที่เรียกว่า cithara ของชาวโรมันซึ่งนาเข้าไปแพร่หลายในอาณาจักรฮิสปาเนีย หรือสเปนโบราณ ประมาณค.ศ.40 จากนั้นเปลี่ยนแปลงรูปแบบจนกลายมาเป็น เครื่องดนตรีที่มี4 สายเรียกว่าอู๊ด (oud) นาเข้ามาโดยชาวมัวร์ในยุคที่เข้ามาครอบครองคาบสมุทรไอบีเรียน ในศตวรรษที่8 ส่วนในยุโรปมีเครื่องดนตรีที่เรียกว่าลุต (lute) ของชาวสแกนดิเนเวียมี6 สาย ในสมัย ค.ศ.800 เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาว(ไวกิ้ง) ค.ศ.1200 กีตาร์ 4 สาย มี2 ประเภทคือ กีตาร่ามอ ริสกาหรือกีตาร์ของชาวมัวร์ มีลักษณะกลม ตัวคอกว้างมีหลายรู กับกีตาร่าลาติน่าซึ่งรูปร่างคล้ายกีตาร์ในปัจจุบัน คือมีรูเดียวและคอแคบในศตวรรษที่16 เครื่องดนตรีคล้ายกีตาร์ของชาวสเปนที่เรียกว่าวิฮูเอล่าเป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกีตาร์ในปัจจุบัน มีความผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรีอู๊ดของชาวอาหรับและลูตของยุโรป แต่ได้รับความนิยมในช่วงสั้นๆพบเห็นจนถึงปี 1576 เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่มีรูปลักษณ์เหมือนกีตาร์ในปัจจุบัน เกิดในช่วงยุคปลายของสมัยกลางหรือยุคต้นสมัยเรอเนสซอง (500 กว่าปีที่แล้ว) เป็นช่วงที่มีการใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายกันทั่วโลก ในยุคนั้นกีตาร์มีทั้งแบบ 4 และ5 สาย สาหรับกีตาร์ที่มี 6 สาย ระบุว่ามีขึ้นในปี 1779 เป็นผลงานของนายแกตาโน วินาซเซีย (Gaetano Vinaccia) ในเมืองเนเปิล อิตาลีแต่ก็ถกเถียงกันว่าอาจเป็นของปลอมสาหรับตระกูลวินาซเซียมีชื่อเสียงในการผลิตแมนโดลินมาก่อน กีตาร์ไฟฟ้าตัวแรกเริ่มผลิตขึ้นในศตวรรษที่20 โดยจอร์จโบแชมป์ (George Beauchamp) ได้รับสิทธิบัตรในปี 1936 และร่วมกับ ริกเค่นแบ็กเกอร์ (Rickenbacker) ตั้งบริษัท Electro String Instrument ผลิตกีตาร์ไฟฟ้าในช่วงปลายปีทศวรรษที่1930ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1960 จอห์นเลนนอน สมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์ใช้กีตาร์ยี่ห้อนี้ ส่งผลให้เครื่องดนตรียี่ห้อนี้มีชื่อเสียงในกลุ่มนักดนตรีในยุคนั้นและในปัจจุบันบริษัทริกเค่นแบ็กเกอร์ เป็นบริษัทผลิตกีตาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา[1] ประเภทของกีตาร์[แก้] กีตาร์โปร่ง[แก้] Renaissance guitars มีขนาดเล็กกว่ากีตาร์คลาสสิก ให้เสียงที่เบากว่ามาก ใช้สายไนล่อนแบบเดียวกับกีตาร์คลาสสิก นิยมเล่นในสมัยโบราณปัจจุบันไม่ค่อยได้รับความนิยม Classical guitars กีตาร์คลาสสิก(Classic Guitar) หรือกีตาร์สายไนล่อนนิยมเล่นเพลงบรรเลงแบบsingle note (finger-picking) ดังนั้นคอกีตาร์คลาสสิก จึงมีความกว้างกว่ากีตาร์ไซด์มาตรฐานทั่วไป Nylon String ชนิด Hybrid (หรือกีตาร์ลูกครึ่งระหว่าง กีตาร์คลาสสิกสายไนล่อน กับ กีตาร์โปร่งสายเหล็ก) แม้จะใช้สายกีตาร์ชนิดไนล่อนแบบเดียวกับกีตาร์คลาสสิก แต่สัดส่วนองค์ประกอบหลายอย่างจะต่างจากกีตาร์คลาสสิก เช่นคอที่เล็กกว่า เพื่อสะดวกในการจับด้วยมือซ้าย มีภาคไฟฟ้า, คอมีtruss rod(เหล็กดามคอ)เพื่อใช้ปรับองศาคอได้, มีคอแบบcut away, ลาตัวbody จะบางกว่ามาตรฐานเป็นต้น กีตาร์สายไนล่อนชนิดนี้ สามารถเล่นแนวหรือสไตล์เพลงได้กว้างกว่ากีตาร์สายไนล่อนชนิด Classic Guitar Flat-top (steel-string) guitars หรือที่รู้จักกันในชื่อ กีตาร์โปร่ง กีตาร์โปร่งสายเหล็กมีหลายๆรูปทรงเช่น กีตาร์ทรงDreadnought(D), Orchestra Model(OM), Grand Concert(GC), Grand Auditorium(GA), Jumbo(J), และขนาด 3/4 กีตาร์ขนาดเล็ก
  • 4. กีตาร์โปร่งสายเหล็กต่างกีตาร์คลาสสิกอยู่หลายๆประการ เช่นวิธีการเล่น, สายกีตาร์ที่ใช้, โครงสร้างภายในตัวกีตาร์หรือ Bracing, เหล็กดามคอหรือ truss rod เพื่อปรับแต่งองศาคอได้เนื่องจาก แรงดึงของสายกีตาร์มีมาก อาจจะทาให้องศารอเปลี่ยนได้ผู้เล่นจึงสามารถปรับแต่งองศาได้ตามความชอบ, กีตาร์โปร่งสายเหล็ก(Flat-top) ถูกสร้างมามากกว่า180 ปี (หลังมีกีตาร์สานไนล่อน)เนื่องจากในวงดนตรี มีเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆเข้ามาร่วมเล่นด้วย และประกอบกับสไตล์เพลงมีความหลากหลายมากขึ้นผู้เล่นจึงต้องการกีตาร์ที่มีเสียงดังกังวานมากพอ ที่สามารถใช้รวมเล่นกับเครื่องดนตรีประเภทอื่นๆดังนั้น กีตาร์โปร่งสายเหล็กจึงมีเอกลักษณ์ที่เสียงดังกังวานกีตาร์โปร่งสายเหล็กสามารถเล่นได้กว้างหลากหลายสไตล์เพลงเช่น pop, folk, Bluegrass, finger-style, jazz, blues เป็นต้น กีตาร์โปร่งที่ดีจะต้องให้เสียงที่ดัง กังวาน มีความ balance ของทุกๆย่านเสียงทุกๆสายกีตาร์ต้องbalance กัน Archtop guitars จุดเด่นคือ ด้านหน้าของกีตาร์ (top)จะโค้งโพรงเสียงไม่เป็นช่องกลม แต่จะเป็นรูปตัว F สะพานยึดสายหรือ Bridge จะแตกต่างจาก กีตารโปร่ง (คนไทยนิยมเรียกว่าหางปลา) นิยมใช้เล่นในดนตรีแจ๊ส และBlues เอกลักษณ์ของเสียงเสียงของarch top guitar จะมีเสียงโน๊ตห้วน สั้น คือ หางเสียงจะไม่ยาวเหมือกีตาร์โปร่งสายเหล็กทั่วไป ทั้งนี้ก็เพื่อให้เหมาะกับการเล่นเพลง Jazz , Blues Resonator หรือ Resophonic หรือ dobro คล้ายกับกีตาร์ Flat-top นิยมเล่นเพลงสไตล์ Country 12 string guitars จุดเด่นคือ จะมีสายกีตาร์ 12 สาย นิยมใช้เล่นในสไตล์เพลงcowboy, country นิยมใช้ตีคอร์ด ไม่นิยมใช้เล่นแบบpicking Acoustic bass guitars เป็นกีตาร์เบสในรูปแบบอคูสติก มีสายและเสียงเหมือนกัน โน้ตที่เล่นจะใช้"กุญแจฟา" ให้เสียงทุ้มต่า นุ่มนวล Tenor guitars มี4 สาย Harp guitars จะมีสาย harp เพิ่มขึ้นมาจากปกติที่มี6 สาย สาย harp จะให้เสียงต่าหรือเสียงในช่วงเบส ปกติจะไม่มีฟิงเกอร์บอร์ดหรือเฟร็ต Ukulele Guitar เป็นกีตาร์ ขนาดเล็ก มี4 สาย กีตาร์ไฟฟ้ า[แก้] แบ่งตามโครงสร้างของลาตัวกีต้าร์ (Body) อาจแบ่งได้เป็น3 ชนิด คือ กีต้าร์ตัวตัน (Solid Body) หมายถึง กีต้าร์ไฟฟ้าปกติที่ลาตัวมีลักษณะตันไม่มีการเจาะช่องในลาตัวกีต้าร์เหมือนอย่างกีตาร์โปร่งหรือ อะคูสติกกีตาร์ แต่บริเวณลาตัวจะมีตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) ขณะที่ดีด เพื่อส่งต่อไปยังเครื่องขยายเสียง(Amplifier) ต่อไปโดยทั่วไป ตัวรับสัญญาณจะมี 2 ประเภท คือ ตัวรับสัญญาณแบบแถวเดี่ยวที่เรียกว่า Single Coil และแบบแถวคู่ที่เรียกว่า Humbucker กีต้าร์ลาตัวกึ่งโปร่ง (Semi-Hallow Body) เป็นกีต้าร์ไฟฟ้าที่มีลักษณะโครงสร้างส่วนกลางของลาตัวในแนวเดียวกับคอกีต้าร์มีลักษณะตัน(แต่มีการเจาะช่องเพื่อใส่ตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) เช่นเดียวกับกีต้าร์ตัวตัน)บริเวณส่วนข้างของกีต้าร์มีการเจาะช่อง(Sound Hole) เอาไว้เพื่อให้เกิดการกาทอนของเสียงมากกว่ากีต้าร์ตัวตัน ซึ่งจะให้เสียงที่เป็นอคูสติกมากขึ้น นิยมใช้ในดนตรีแจ๊สหรือบลูส์ เป็นกีต้าร์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อลดเสียงรบกวนที่เรียกว่าFeed back ซึ่งเกิดจากกีต้าร์ไฟฟ้าลาตัวโปร่ง(กล่าวคือยังมีเสียงรบกวนบ้างแต่น้อยลงกว่าเดิม) กีต้าร์ลาตัวโปร่ง (Hallow Body) กีต้าร์ไฟฟ้าที่มีการเจาะช่องเอาไว้เพื่อให้เกิดการกาทอนของเสียง(Sound Hole) เช่นเดียวกับกีต้าร์โปร่งหรืออคูสติก และกีต้าร์ลาตัวกึ่งโปร่ง ปกติช่องดังกล่าวมักจะอยู่ด้านข้างของลาตัวกีต้าร์ เนื่องจากบริเวณกลางลาตัวจะมีการใส่ตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) เช่นเดียวกันกับกีต้าร์ตัวตันซึ่งผลของการที่มีช่องกาทอนเสียงทาให้ลักษณะของเนื้อเสียงที่ได้เป็นอคูสติกมากกว่ากีต้าร์ Semi-Hallow Body แต่หากขยายเสียงให้ดังมากจะก่อให้เกิดเสียงรบกวนที่เรียกว่า Feed back กีต้าร์ประเภทนี้มักจะนิยมใช้กับดนตรีแจ๊สหรือบลูส์เป็นส่วนใหญ่
  • 5. ส่วนประกอบของ กีตาร์[แก้] เมื่อเทียบกับประเภทของไม้ที่ถูกนามาใช้ด้านหน้าของกีต้าร์แล้วไม้ที่ถูกนามาใช้เป็นแผ่นหลังและข้างนั้น มีมากมายหลายชนิดกว่าอาจแบ่งออกกว้างๆเป็นตระกูล Rosewood, Walnut, Maple, Koa, Mahogany รวมไปถึงไม้แปลกๆใหม่ๆ ที่กาลังเป็นที่นิยม และพวกที่ยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก เพื่อความสะดวกและเข้าใจได้ง่าย ผู้เขียนจะแบ่งประเภทของไม้ออกเป็นจาพวกคร่าว ๆดังนี้ ไม้ข้าง และไม้หลัง (back &side) ของกีตาร์ 1. Rosewood 2. Mahogany 3. Koa 4. Maple 5. Walnut 6. Ziricote (Cordia Dodecandra) 7. Macassar Ebony (Diospyrus Celebica) 8. Myrtewood 9. African Blackwood 10. African Paduk 11. Imbuia 12. Cherry ไม้หน้า (Top) ของกีตาร์ 1. Sitka Spruce 2. Englemann Spruce 3. Red Spruce 4. German Spruce 5. Alpine Spruce 6. Cedar 7. Port Orford Cedar 8. Redwood 9. Western Larch ดูเพิ่ม[แก้]  ปิ๊ก  กีตาร์เบส  กีตาร์ฮาวาย
  • 6. ปิ๊ก จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิง อาจถูกคัดค้านหรือนาออก ปิ๊กแบบต่างๆ ปิ๊ก (อังกฤษ: pick)แผ่นพลาสติกบางรูปสามเหลี่ยมหรือรูปหยดน้า ใช้สาหรับดีดกีตาร์หรือเครื่องสายอื่นมีหลายขนาดทั้งแข็ง(heavy) ปานกลาง(medium) หรืออ่อน(slim) ปิ๊กแข็งนิยมใช้ในการโซโล่เพลงจะให้เสียงที่มีพลังกังวาล ปิ๊กอ่อนใช้ในการตีคอร์ดเพราะจะให้เสียงที่ใสกว่าปิ๊กแข๊งปิ๊กขนาดกลาง ใช้ได้ทั้ง2 อย่าง แต่ถ้าใช้ปิ๊กแข็งตีคอร์ดแต่ใช้การจับปิ๊กหลวม ๆก็จะได้เสียงที่ต่างไปอีกแบบวัสดุที่นามาใช้ทาปิ๊กมีหลายแบบเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น เหล็ก พลาสติก อะลูมิเนียม ฯลฯ กีตาร์เบส เบส เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้งelectric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้นๆว่าbass (เบส) ลักษณะของเบสจะมีรูปร่างใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่ามีย่านความถี่เสียงต่ามีหน้าที่โดยหลักๆในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และgroove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่างๆเช่นเทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนวการ Tapping การเดินImprovising การเล่นHarmonics การเล่นPicking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกาเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่นๆในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อ ประวัติ)เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่างๆก็จะมี เบสไฟฟ้าเบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต)และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสาหรับนักดนตรีบางคนว่าเบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี4 สาย 5 สาย และ6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่า-สูง)เบส5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่างๆจานวนสายก็อาจจะมีอื่นๆอีก เช่น3 สาย, 7 สาย, 8 สาย ,9 สาย เป็นต้น ประวัติ[แก้] เมื่อกล่าวถึงBassline เริ่มเป็นที่รู้จักกันในวงการดนตรี โดยเริ่มได้ยินเช่นในบทเพลงของJ.S. Bach ระหว่างปี 1685-1750 ซึ่งbassline มีความ สาคัญเฉกเช่นเดียวกับในส่วนของ soprano , alto , tenor เลยที่เดียวโดยในดนตรีคลาสสิก และออร์เคสตรา เสียงเบสจะถูกกาหนดขึ้นโดยเครื่องดนตรีที่มีชื่อว่า upright bass หรือ bass viola ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีตระกูลเบสรุ่นแรกในโลก
  • 7. ต่อมาเมื่อเริ่มมีดนตรีของคนแอฟริกัน คือ Ragtime (ดนตรีแนวเต้นราของชาวแอฟริกัน)และ New Orleans Jazz โดยมีอุปกรณ์เสียงต่าที่เล่นจาก brass bass และtuba เนื่องจากเป็นการเล่นโดยใช้ลมหายใจในการเป่า ที่ใช้ทูบาในการเล่นเป็นจังหวะ 2 beat ใน 1 bar และนี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นของเพลง jazz และเพลงเต้นรา เมื่อเพลงแจ๊ซมีการพัฒนาและเกิดการวิวัฒนาการขึ้นเป็นจังหวะ swing ในปี 1935 การแต่งและการเรียบเรียงดนตรีจึงเกิดมีความซับซ้อนและยุ่งยากตามมา แต่ในขณะนั้น ได้มีในงานดนตรีที่มีชื่อเสียงในวงการเพลงแจ๊ซ เช่น Duke Ellington , Count Basie and Benny Goodman และจังหวะแบบ 4 จังหวะ ใน 1 ห้องเพลง เริ่มเป็นที่แพร่หลายและนาไปใช้กันมากขึ้น ตั้งแต่ที่brass bass ไม่สามารถที่จะเล่นในจังหวะนี้ได้ Acoustic upright bass จึงได้เป็นอุปกรณ์ชิ้นสาคัญที่ขึ้นมาแทนที่ brass bass อย่างไรก็ตาม Acoustic upright bass ก็มีข้อจากัดของมันเองอยู่เหมือนกันในเรื่อง ของลาตัวที่ค่อนข้างใหญ่พกพายาก และมีน้าเสียงที่ไม่สามารถดังดีพอและเหมาะสมในการเล่นร่วมกับวงดนตรีประเภท Big band ที่มีเครื่องดนตรีหลากหลายชิ้นเช่น brass จานวน 7 ตัว ,เปียโน ,กีต้าร์ กลองสิ่งนี้จึงมีการเกิดปัญหาต่อในหมู่คนเล่นเบส ต่อมาจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการประดิษฐ์เบสไฟฟ้าขึ้นมาตัวแรกของโลก เบสไฟฟ้าตัวแรกของโลกถูกประดิษฐ์ขึ้นมาโดย Clarence Leo Fender ในปี 1951 จากบริษัทFender Musical Intrumental Company (บริษัทเดียวกับที่ผลิตกีตาร์ Fender) ร่วมกันผลิตเบสที่มีชื่อรุ่นว่า Precision bass โดย Leo Fender ได้ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อการแก้ไขปัญหาของเบสรุ่นเก่าที่มีปัญหาในเรื่องของเสียงและขนาดที่ใหญ่ของ Acoustic upright bass ซึ่งเขาได้ตั้งชื่อรุ่นว่า Precision bass เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ที่แปลว่า"เบสที่มีความกระชับ" โดยมีการใช้เฟร็ทติดลงบน Fingerboard และแก้ไขในเรื่องของน้าเสียงให้ดีขึ้น American Vintage ‘62Precision Bass? Leo Fender กล่าวว่า"พวกเราต้องให้ความเป็นอิสระแก่มือเบสจาก Acoustic upright bassการผลิตเบสจึงเป็นการเกิดอุตสาหกรรมการผลิตเบสขึ้นเป็นครั้งแรก โดยความร่วมมือกับ George Fullerton Precision Bass รุ่นนี้มีการสร้างเฟรทที่ลาคอ มีลักษณะเป็นslab-bodied และมี 34" scale ต่อมาเบสรุ่นนี้จึงเป็นที่นิยมในหมู่นักดนตรีระดับโลก ในทุก ๆแขนงทางดนตรี เช่น Monk Montgomery ,Shifti Henri ,Dave Myers วงของVibist Lionel Hampton นับเป็นรุ่นแรกที่นา P-Bass ไปใช้ในการแสดง โดยมือเบสของเขาคือRoy Johnson และเบสตัวนี้มีเสียงที่ออกมาได้อย่างน่าทึ่งมาก จากคาวิจารณ์ของLeonard Feather ซึ่งได้เขียนในนิตยสาร Down Beat เมื่อ 30 กรกฎาคม 1952 หลังจาก Roy Johnson ออกจากวงของ HamptonMonk Montgomery จึงเป็นบุคคลแรกที่สามารถสร้างชื่อเสียงขึ้นจากเบสตัวนี้ แต่เขาก็ยังคงใช้ upright bass ในการเล่นควบคู่กันไปในวงของเขา กับมือกีตาร์คือ Wes Montgomery (มือกีตาร์ฝีมือดีแห่งวงการ)ซึ่งเป็นน้องชายเขา
  • 8. นอกจากนี้ นักดนตรี Blues ก็นาเอาเบสรุ่นนี้ไปใช้ในบทเพลงเช่นเดียวกัน โดยในปี 1958 Dave Myers ได้นา Precision Bass ไปใช้ในการบันทึกเสียงเบส ที่สร้างความสาเร็จให้แก่นักดนตรี Blues สมัยนั้นอย่างมากมาย โดย เขาได้พูดขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม ปี 1998 ว่า "ผมสร้างความประสบความสาเร็จให้กับ Fender Bass.."