SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
กุญแจประจําหลัก (Clef)
กุญแจประจําหลัก (Clef) ถือว่าเป็นเครืองหมายทางดนตรีทีสําคัญ เพือใช้ใน
การกําหนดหรือบงชีว่าตัวโน้ตแต่ละตัวมีชือเรียกว่าอย่างไร กุญแจประจําหลักทีนิยมใช้
ในปัจจุบันมี 2 กุญแจ คือ กุญแจประจําหลักG (G Clef) และกุญแจประจําหลักF
(F Clef) ซึงทัง 2 กุญแจ มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนืองจนกระทัง ปรากฎให้เห็นและใช้
กันจนถึงปัจจุบัน ทัง 2 กุญแจนีมักเรียกกันสัน ๆ จนติดปากว่า กุญแจซอล และกุญแจฟา
นอกจากการบันทึกโน้ตลงในบรรทัด 5 เส้นทีแยกระหว่างกุญแจซอลกับ
กุญแจฟาแล้วยังมีการบันทึกโน้ตอีกประเภทหนึงเรียกว่า“บรรทัดรวม” (Grand Staff)
โดยการนําเอากุญแจซอล และกุญแจฟาบันทึกลงพร้อม ๆ กัน บรรทัดประเภทนีมักใช้
สําหรับการเขียนโน้ตให้เปียโนบรรเลง
บรรทัดรวม (Grand Staff)

6
กุญแจซอล ภาษาอังกฤษเรียกว่า G Clef หรือ Treble Clef
ชือตัวโน้ตเมือเขียนลงบรรทัด5 เส้นพร้อมกุญแจซอลมีหลักเพือให้จําง่ายขึนคือ
โน้ตคาบเส้น Every Good Boy Does Fine
โน้ตในช่อง FACE
7
กุญแจฟา ภาษาอังกฤษ เรียกว่า F Clef หรือ Bass Clef
ชือตัวโน้ตเมือเขียนลงบรรทัด5 เส้นพร้อมกุญแจฟามีหลักเพือให้จําง่ายขึน
คือ
โน้ตในช่อง A Child Enjoys Games
โน้ตคาบเส้น Go Back and Dance For A while
โน้ตชือ C ทีวางทับกึงกลางเส้นน้อย ทังทีอยู่ในTreble Clef หรือ Bass Clef
ทังสองมีเสียงตรงกัน คือ C กลาง (Middle C)
8
9
ชือตัวโน้ตในบรรทัด5 เส้น ของกุญแจซอล(Treble Clef)
ชือตัวโน้ตในบรรทัด5 เส้น ของกุญแจฟา (Bass Clef)
ประเภทของกุญแจประจําหลัก
กุญแจประจําหลักในการบันทึกดนตรีสมัยใหม่มีใช้อยู่เพียงสามชนิดคือ
กุญแจซอล กุญแจโด และกุญแจฟา ซึงกุญแจแต่ละชนิดจะอ้างถึงเสียงซอล โด และฟา
ตามลําดับ ตามตําแหน่งทีกุญแจนันได้ไปคาบเกียวไว้บนบรรทัด5 เส้นและช่องอืนๆ
ก็จะสัมพันธ์กับโน้ตบนเส้นนัน
รูปร่าง ชือ ใช้ระบุโน้ต ตําแหน่งทีคาบเกียว
กุญแจซอล G (G-clef)
เสียงซอลทีอยู่
เหนือเสียงโด
กลาง
ส่วนโค้งก้นหอย
ตรงกลาง
กุญแจโดC (C-clef)
เสียงโดกลาง
(middle C)
กึงกลางกุญแจโด
กุญแจฟา F (F-clef)
เสียงฟาทีอยู่ใต้
เสียงโดกลาง
หัวของกุญแจ
หรือระหว่างสองจุด
10
การใช้ความแตกต่างของกุญแจประจําหลัก ก็เพือให้สามารถบันทึกดนตรี
และเสียงอืน ๆ ได้ทุกอย่าง แม้ว่าจะมีธรรมชาติของเสียงทีแตกต่างกัน เช่นเสียงบางอย่าง
อาจฟังดูแล้วสูงกว่าหรือตํากว่าเสียงอืน ซึงเป็นการยากทีจะบันทึกเสียงทุกอย่างโดยใช้
กุญแจประจําหลักเพียงชนิดเดียว เนืองจากบรรทัดมีเพียงแค่ห้าเส้นในปัจจุบัน แต่อาจ
นําเสนอระดับเสียงของตัวโน้ตไม่เพียงพอต่อจํานวนโน้ตทีสามารถสร้างขึน แม้จะใช้
(ledger line) มาช่วยก็ตาม การใช้ความแตกต่างของกุญแจสําหรับเครืองดนตรีและเสียง
แต่ละชนิด มีส่วนช่วยให้เขียนตัวโน้ตได้ง่าย ลดจํานวนการใช้
ตําแหน่งของกุญแจประจําหลัก
กุญแจประจําหลักสามารถวางได้หลายตําแหน่ง ปกติแล้วจะวางไว้ให้คาบ
เกียวกับเส้นใดเส้นหนึงบนบรรทัด และในเมือบรรทัดมี 5 เส้น จึงมีความเป็นไปได้
ทังหมด15 แบบในการใช้งาน อย่างไรก็ตามมี 6 แบบทีเป็นการกําหนดซําซ้อนกัน
ตัวอย่างเช่น กุญแจซอลทีกํากับเส้นทีสาม จะมีค่าเท่ากับกุญแจโดทีกํากับเส้นทีหนึง เป็น
ต้น ดังนันจึงเหลือเพียง9 แบบเท่านันทีให้ผลแตกต่างกัน ซึงทุกแบบเคยใช้ใน
ประวัติศาสตร์ทีผ่านมาแล้วทังสิน ได้แก่ กุญแจซอลบนสองเส้นล่าง กุญแจฟาบนสาม
เส้นบน และกุญแจโดบนทุกเส้นยกเว้นเส้นทีห้า (เนืองจากกุญแจโดบนเส้นทีห้าซําซ้อน
กับกุญแจฟาบนเส้นทีสาม) แต่สําหรับทุกวันนี กุญแจทีใช้เป็นปกติมีเพียงแค่ กุญแจซอล
กุญแจฟา กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร์ ซึงสองอย่างแรกมักใช้ควบคู่กันบ่อยครังกว่า
11

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำpanupong
 
digestive system.pdf
digestive system.pdfdigestive system.pdf
digestive system.pdfNoeyWipa
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์Jiraporn
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกBally Achimar
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549saiyok07
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22Aobinta In
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลJusmistic Jusmistic
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา Wee Angela
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันJurarud Porkhum
 

What's hot (20)

Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำ
 
digestive system.pdf
digestive system.pdfdigestive system.pdf
digestive system.pdf
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22ระบบหมุนเวียนเลือด22
ระบบหมุนเวียนเลือด22
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก

  • 1. กุญแจประจําหลัก (Clef) กุญแจประจําหลัก (Clef) ถือว่าเป็นเครืองหมายทางดนตรีทีสําคัญ เพือใช้ใน การกําหนดหรือบงชีว่าตัวโน้ตแต่ละตัวมีชือเรียกว่าอย่างไร กุญแจประจําหลักทีนิยมใช้ ในปัจจุบันมี 2 กุญแจ คือ กุญแจประจําหลักG (G Clef) และกุญแจประจําหลักF (F Clef) ซึงทัง 2 กุญแจ มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนืองจนกระทัง ปรากฎให้เห็นและใช้ กันจนถึงปัจจุบัน ทัง 2 กุญแจนีมักเรียกกันสัน ๆ จนติดปากว่า กุญแจซอล และกุญแจฟา นอกจากการบันทึกโน้ตลงในบรรทัด 5 เส้นทีแยกระหว่างกุญแจซอลกับ กุญแจฟาแล้วยังมีการบันทึกโน้ตอีกประเภทหนึงเรียกว่า“บรรทัดรวม” (Grand Staff) โดยการนําเอากุญแจซอล และกุญแจฟาบันทึกลงพร้อม ๆ กัน บรรทัดประเภทนีมักใช้ สําหรับการเขียนโน้ตให้เปียโนบรรเลง บรรทัดรวม (Grand Staff)  6
  • 2. กุญแจซอล ภาษาอังกฤษเรียกว่า G Clef หรือ Treble Clef ชือตัวโน้ตเมือเขียนลงบรรทัด5 เส้นพร้อมกุญแจซอลมีหลักเพือให้จําง่ายขึนคือ โน้ตคาบเส้น Every Good Boy Does Fine โน้ตในช่อง FACE 7
  • 3. กุญแจฟา ภาษาอังกฤษ เรียกว่า F Clef หรือ Bass Clef ชือตัวโน้ตเมือเขียนลงบรรทัด5 เส้นพร้อมกุญแจฟามีหลักเพือให้จําง่ายขึน คือ โน้ตในช่อง A Child Enjoys Games โน้ตคาบเส้น Go Back and Dance For A while โน้ตชือ C ทีวางทับกึงกลางเส้นน้อย ทังทีอยู่ในTreble Clef หรือ Bass Clef ทังสองมีเสียงตรงกัน คือ C กลาง (Middle C) 8
  • 4. 9 ชือตัวโน้ตในบรรทัด5 เส้น ของกุญแจซอล(Treble Clef) ชือตัวโน้ตในบรรทัด5 เส้น ของกุญแจฟา (Bass Clef)
  • 5. ประเภทของกุญแจประจําหลัก กุญแจประจําหลักในการบันทึกดนตรีสมัยใหม่มีใช้อยู่เพียงสามชนิดคือ กุญแจซอล กุญแจโด และกุญแจฟา ซึงกุญแจแต่ละชนิดจะอ้างถึงเสียงซอล โด และฟา ตามลําดับ ตามตําแหน่งทีกุญแจนันได้ไปคาบเกียวไว้บนบรรทัด5 เส้นและช่องอืนๆ ก็จะสัมพันธ์กับโน้ตบนเส้นนัน รูปร่าง ชือ ใช้ระบุโน้ต ตําแหน่งทีคาบเกียว กุญแจซอล G (G-clef) เสียงซอลทีอยู่ เหนือเสียงโด กลาง ส่วนโค้งก้นหอย ตรงกลาง กุญแจโดC (C-clef) เสียงโดกลาง (middle C) กึงกลางกุญแจโด กุญแจฟา F (F-clef) เสียงฟาทีอยู่ใต้ เสียงโดกลาง หัวของกุญแจ หรือระหว่างสองจุด 10
  • 6. การใช้ความแตกต่างของกุญแจประจําหลัก ก็เพือให้สามารถบันทึกดนตรี และเสียงอืน ๆ ได้ทุกอย่าง แม้ว่าจะมีธรรมชาติของเสียงทีแตกต่างกัน เช่นเสียงบางอย่าง อาจฟังดูแล้วสูงกว่าหรือตํากว่าเสียงอืน ซึงเป็นการยากทีจะบันทึกเสียงทุกอย่างโดยใช้ กุญแจประจําหลักเพียงชนิดเดียว เนืองจากบรรทัดมีเพียงแค่ห้าเส้นในปัจจุบัน แต่อาจ นําเสนอระดับเสียงของตัวโน้ตไม่เพียงพอต่อจํานวนโน้ตทีสามารถสร้างขึน แม้จะใช้ (ledger line) มาช่วยก็ตาม การใช้ความแตกต่างของกุญแจสําหรับเครืองดนตรีและเสียง แต่ละชนิด มีส่วนช่วยให้เขียนตัวโน้ตได้ง่าย ลดจํานวนการใช้ ตําแหน่งของกุญแจประจําหลัก กุญแจประจําหลักสามารถวางได้หลายตําแหน่ง ปกติแล้วจะวางไว้ให้คาบ เกียวกับเส้นใดเส้นหนึงบนบรรทัด และในเมือบรรทัดมี 5 เส้น จึงมีความเป็นไปได้ ทังหมด15 แบบในการใช้งาน อย่างไรก็ตามมี 6 แบบทีเป็นการกําหนดซําซ้อนกัน ตัวอย่างเช่น กุญแจซอลทีกํากับเส้นทีสาม จะมีค่าเท่ากับกุญแจโดทีกํากับเส้นทีหนึง เป็น ต้น ดังนันจึงเหลือเพียง9 แบบเท่านันทีให้ผลแตกต่างกัน ซึงทุกแบบเคยใช้ใน ประวัติศาสตร์ทีผ่านมาแล้วทังสิน ได้แก่ กุญแจซอลบนสองเส้นล่าง กุญแจฟาบนสาม เส้นบน และกุญแจโดบนทุกเส้นยกเว้นเส้นทีห้า (เนืองจากกุญแจโดบนเส้นทีห้าซําซ้อน กับกุญแจฟาบนเส้นทีสาม) แต่สําหรับทุกวันนี กุญแจทีใช้เป็นปกติมีเพียงแค่ กุญแจซอล กุญแจฟา กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร์ ซึงสองอย่างแรกมักใช้ควบคู่กันบ่อยครังกว่า 11