SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
โฮมเพจวารสาร : www.elsevier.com/locate/comphumbeh
สารวจการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ2.0สาหรับความรู้ในการจัดการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ
การวิเคราะห์ที่สาคัญนามาใช้ให้เกิดประโยชน์
มาเรียนา สิการา,คาโลติน่า ชาลกิติ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
บทคัดย่อ
การสารวจกฎของสารสนเทศและเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร(ไอซีที)และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเว็บ
2.0ที่สนับสนุนกระบวนการการจัดการความรู้((เคเอ็ม) การทบทวนวรรณกรรมวิเคราะห์อย่างไรที่เว็บ2.0
เปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ของการจัดการความรู้โดยสนับสนุนการสนทนาและการทางานร่วมกันของกระบวนการจัดการความรู้
ที่เป็นการเปลี่ยนทิศทางการจัดการความรู้จากเทคโนโลยีเข้าสู่ประชาชน
การแสดงความคิดเห็นก็เปิดเผยความแตกต่างทางใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์เว็บ2.0
มีผลสะท้อนแตกต่างจากระดับของเทคโนโลยีที่สนับสนุนวิธีปฏิบัติของการจัดการความรู้
การเรียนนี้สารวจชนิดและระดับของเว็บ
2.0ที่ใช้ให้เกิดประโยชน์จากจุดประสงค์ของการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซโดยรวบรวมข้อมูลจาก
นักท่องเที่ยวมืออาชีพ
ข้อมูลถูกวิเคราะห์โดยการปฏิบัติจากการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยนักวิเคราะห์ที่สาคัญโดยเปรียบเทียบจากการวัดข้อ
มูล โดยการใช้ที่เกิดประโยชน์ของเว็บ2.ที่เห็นได้จากกาใช้ประโยชน์ที่สาคัญของเว็บ
2.0สาหรับจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
การวิเคราะห์ชี้ช่องว่างหลายประการและโอกาสเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ2.0
จากจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
เอกสารสรุปโดยจัดวิธีปฏิบัติและตามทฤษฎีสาหรับปรับปรุงการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ
2.0สาหรับจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คำสำคัญ การจัดการความรู้, เว็บ2.0 ,กรีซ, การท่องเที่ยว,สังคมการสื่อสาร,แม่แบบของการใช้ให้เกิดประโยชน์
ที่สาคัญ
1.บทนำ
ในปัจจุบันนี้
ความรู้ที่กว้างขวางยอมรับว่าเป็นหนึ่งในคุณสมบัติของการแข่งขันที่สาคัญที่สุดอย่างหนึ่งเป็นความจาเป็นในการสนับสนุน
และอบรมการปรับเปลี่ยนกิจการความอยู่รอดการประสบความสาเร็จที่ยังคงอยู่(บอห์น1994,บอยซอท
1998,เมอร์ติน,ไฮซิก &วอร์เบค2000,โอเดลล์&เกรย์สัน1998,พาลาซิออส&การิกอส2006)
ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าสิ่งสาคัญอย่างเงียบๆและฝังอยู่ในโครงสร้างองค์กรและวัฒนธรรม
ความรู้ไม่ใช่เรื่องที่จะคัดลอกง่ายๆและตัวแทนและมีระเบียบ
มันสามารถทาให้มั่นคงได้โดยการสร้างคุณค่าธุรกิจเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งไม่สามารถเลียนแบบได้และไม่มีทางโอนได้
ความจริงการวิจัยมีความเกี่ยวพันกับประสบการณ์ที่กระทบกับการจัดการความรู้บนขั้นตอนของธุรกิจต่างๆและหน้าที่
เช่น(บอยซอท 1998,เมอร์ติน2000,รูฮาเนน&คูเปอร์ 2003,สิการา2011,2012,สิการา&ชาลกิติ2007)
สร้างและรักษาสัมพันธภาพลูกค้าที่มีคุณภาพดีและมีระเบียบปรับปรุงวิถีชีวิตของลูกค้าให้มีคุณค่า
ปรับปรุงการจัดการกับผู้จัดจาหน่ายในเครือโดยการทาให้กระจายและแบ่งปันสารสนเทศเพื่อเพิ่มการทางานให้สอดคล้อง
กันและทางานร่วมกันและการปรับปรุงการเรียนรู้ขององค์กรและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
สารสนเทศเหมือนเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดของการท่องเที่ยว
องค์การท่องเที่ยวต้องไม่รวมความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก(พูน1993,สิกาลา&ชาลกิติ2007)ปัจจุบัน
ความรู้เรื่องการจัดการคือการยอมรับว่าเป็นการแข่งขันและความจาเป็นเพื่อความอยู่รอดของการท่องเที่ยวที่มั่นคง
(คูเปอร์ 2006,แฮลลิน&,แคนเบอร์ก2008)ซึ่งสามารถเป็นการสนับสนุนการประสบความสาเร็จของพวกเขา(ตัวอย่าง
หยาง&วาน2004)
อย่างไรก็ตาม
การเรียนสมัยก่อนที่สารวจการจัดการความรู้ในการท่องเที่ยวมีสถานที่ที่สาคัญเพิ่มขึ้นภายในมีความมั่นคงขึ้น
มองดูว่าการจัดการความรู้จาเป็นที่จะเกี่ยวพันกับการสร้างความรู้และการแลกเปลี่ยนกับผู้ถือหุ้นนอกเหนือจากความมั่นค
งของเขตแดน(บันเคน2002)ในการท่องเที่ยวความรู้แบ่งปันในระดับความมั่นคง
(ระหว่างและความมั่นคงท่ามกลางความมั่นคงภายนอกเครือข่าย)
เป็นสิ่งที่สาคัญมากขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของผลผลิตท่องเที่ยว (ตัวอย่างการผสมกันของความแตกต่างในการบริการ)
ที่สรรสร้างเพิ่มในระหว่างเมืองขึ้นท่ามกลางผู้ถือหุ้น(ตัวอย่าง
การควบคุมหมู่คณะ)และท่ามกลางการท่องเที่ยวที่มั่นคง(คูเปอร์ 2006)
การท่องเที่ยวเป็นพลวัตที่เปลี่ยนแปลงและเป็นอุตสาหกรรมที่มีจุดอ่อนที่จะมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องโดยส่วนประกอบขอ
งสิ่งแวดล้อมอย่างมาก เพราะการท่องเที่ยวที่มั่นคงต้องการการรวมอย่างต่อเนื่อง
แบ่งปันและกระบวนการของสารสนเทศจานวนมากเพื่อเก็บให้ทันกับเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
เตรียมความสามารถที่ซ่อนเร้นอยู่ภายในและความเสี่ยงที่แท้จริงกลายเป็นกิจกรรมที่โปรดปรานตามความต้องการของนัก
ท่องเที่ยวและเปลี่ยนแปลง นอกจากนั้นในการเชื่อมต่อระหว่างกันในระดับสูงและในโลกของการเคลื่อนไหว
เทคโนโลยีและเฉพาะเจาะจงความก้าวหน้าของเว็บ2.0
ทาให้การท่องเที่ยวมั่นคงที่จะผูกมิตรเพิ่มขึ้นปรับปรุงความรู้ให้ดีขึ้น แบ่งปันการปฏิบัติกับลูกค้าของเขาผู้จัดจาหน่าย
หุ้นส่วนต่างๆและผู้ถือหุ้นอื่นๆ(ชาลกิติ&สิกาลา2008) ที่จริงแล้วยัง(2008)ทานายว่าปี2013
เครือข่ายสังคมจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่จะทาแทนระบบงานการจัดการความรู้ ปัจจุบันนี้
การจัดการความรู้พัฒนาไปสู่ความเจริญใหม่ซึ่งสถานที่ที่รวบรวมผู้มีสติปัญญาที่หลักของมันและสนับสนุนให้มีการใช้ให้เร็
วขึ้นโดยกระจายออกไป อย่างไรก็ตาม
ถึงแม้ว่าการวิจัยการท่องเที่ยวจะเน้นให้เห็นความสาคัญและค้นหาทางที่จะรวบรวมผู้มีสติปัญญาดีในเว็บ2.0
ที่สามารถใช้สาหรับการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้าการพัฒนาบริการใหม่การตลาด
และกลยุทธการจัดการรักษาชื่อเสียง(ตัวอย่างโอคอนเนอร์ 2010,แพน,แมคลูริน&ครอทท์2007, สิกาลา
2011,2012) มีการขาดการวิจัยเพื่อสารวจหรือไม่ก็ตามและเมื่อการท่องเที่ยวมั่นคงสามารถเปิดเผยเว็บ
2.0สาหรับเพิ่มคุณค่าและขยายการปฏิบัติการจัดการความรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหนือจากขอบเขตองค์การที่มั่นคง
ในความรู้สึกนี้รายงานนี้มีจุดมุ่งหมายดังนี้
เอ)วิเคราะห์ว่า เว็บ 2.0 ปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อย่างไรและเปลี่ยนแปลงเป็นวิธีปฏิบัติการจัดการความรู้
บี)สารวจระดับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ 2.0
สาหรับการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ และ
ซี)ชี้ช่องว่างต่างๆและโอกาสในการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ 2.0สาหรับการจัดการความรู้
โดยวิเคราะห์การนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สาคัญที่เปรียบเทียบระดับการใช้จริงให้เกิดประโยชน์ในเว็บ 2.0
เกี่ยวกับการรับรู้ความสาคัญของเว็บ 2.0ที่นามาใช้ให้เกิดประโยชน์สาหรับจุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้
เพื่อบรรลุเป้ าหมายนั้น การทบทวนวรรณกรรมนาไปสู่จุดมุ่งหมายแรกของการจัดการความรู้และครั้งนั้น
การพิจารณาในกฎเกณฑ์และขอบเขตของสารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร
(ไอซีที)สาหรับสนับสนุนจุดมุ่งหมายของขั้นตอนการจัดการความรู้
การทบทวนวรรณกรรมพิจารณาต่อถึงการเปลี่ยนแปลงอานาจของเว็บ
2.0ที่ย้ายถิ่นทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จจากเทคโนโลยีเข้าถึงประชาชนนี่เป็นเพราะเว็บ 2.0
สนับสนุนการสนทนาและการทางานร่วมกัน กระบวนการของการจัดการความรู้ที่ชนะไอซีทีเป็นสิ่งธรรมดา
ที่ขับเคลื่อนให้เข้าใกล้การจัดการความรู้ ทั้งหมดนี้การทบทวนวรรณกรรมแสดงว่าชนิดของไอซีทีที่แตกต่างกัน
ทาให้เกิดประโยชน์สะท้อนกลับมาในระดับเทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดการความรู้ต่างกัน ในความรู้สึกนี้
การสารวจการเรียนเทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซโดยนาการสารว
จวัดทางที่มืออาชีพด้านการท่องเที่ยวของกรีซทาให้เกิดประโยชน์โดยใช้ เว็บ 2.0สาหรับการจัดการความรู้
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย แบบสอบถามจึงออกแบบเพื่อที่จะรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับชนิดและระดับของเว็บ 2.0
ที่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซใช้สาหรับสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ของพวกเขา
และการยอมรับของมืออาชีพถือว่าความสาคัญของเว็บ
2.0ทาให้ประสบความสาเร็จสาหรับนาไปสู่กิจกรรมของการจัดการความรู้
การพบสารสนเทศที่น่าสนใจเกี่ยวกับระดับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ
2.0สาหรับจุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ
การวิเคราะห์การนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สาคัญนามาสู่การชี้ช่องว่างและโอกาสในการใช้ประโยชน์ของเว็บ 2.0
สาหรับการจัดการความรู้อีกด้วย
เอกสารนี้สรุปโดยจัดความเกี่ยวพันหลายๆทางสาหรับความก้าวหน้าของการวิจัยในอนาคตและเตรียมพร้อมสาหรั
บการแข่งขันของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการกระสบความสาเร็จของเว็บ 2.0สาหรับการจัดการความรู้
2.กระบวนกำรจัดกำรควำมรู้
การจัดการความรู้ (เคเอ็ม)เป็นโครงสร้างที่เข้าใกล้สาหรับการเตรียมพร้อมขั้นตอนหลักของการสร้างสรรค์
ประมวล ใช้ วัดและเก็บความรู้ไว้ เช่นเดียวกับการงัดความรู้เข้าแข่งขันในตลาดธุรกิจที่วุ่นวาย(รอยเล่ย์2000ทูบิน
1998)
ความรู้เป็นเรื่องทั่วๆไปไม่มีข้อยกเว้นไปสู่ความรู้ที่เปิดเผยที่เป็นการง่ายต่อการเปลี่ยนข้อมูลต่างๆให้เป็นภาษาคอมพิวเตอ
ร์ เก็บรักษาและสื่อสาร (วอนกรอกฮ์1998)และความรู้โดยนัยที่ปรกติจะพัฒนาจากการกระทาและประสบการณ์
และจะแบ่งปันผ่านการมีปฏิกิริยาอย่างสูงในการสื่อสาร(แซค1999)
ความรู้คือการสร้างผ่านระหว่างความยุ่งยากของรูปแบบที่ต่างกันของความรู้(โดยนัย ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์
ส่วนบุคคลและของส่วนรวม)เห็นชัดเจนโดยความรู้ลักษณะเป็นเกลียว(โนนากะโทยามะ &นากาตะ2000)
ที่สะท้อนการถามซ้าจากโดยนัยไปยังความรู้ที่ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ผ่าน4รูปแบบ ทางสังคมภายนอก
การรวมเข้าด้วยกันและภายใน
วรรณกรรมไม่ได้ตั้งข้อกาหนดมาตรฐานและโครงสร้างของการจัดการความรู้(เจนเน็กซ์
2005,โปนิส,เวจีนัส&โกโรนิส2009)ในบริษัทกระบวนการรับผิดชอบสาหรับการสร้างความรู้
อย่างไรก็ตามโครงสร้างของการจัดการความรู้ที่มากมายและส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ที่ออกมารวมอยู่
5ขั้นตอนของการจัดการความรู้ทั่วไป:
ผลที่ได้รับ,การผลิตและการสร้าง,การจัดให้เป็นระบบ,การเก็บรักษา,การแบ่งปัน,การโอน
และนาความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ นักเขียนหลายคน(ตัวอย่างดาเวนพอร์ต&พรูสัก1998,วอนกรอกฮ์1998)
สถานที่ที่ยิ่งใหญ่เน้นความสาคัญกระบวนการสร้างสรรค์ความรู้ที่สามารถสร้างและเพิ่มพูนสติปัญญาที่สาคัญยิ่ง
เพราะการสร้างความรู้สามารถระดมคนและรื้อฟื้นการจัดการความรู้ที่ขดเป็นวงด้วยการเพิ่มความรู้ที่ทันสมัย
ขณะที่การเพิ่มพูนความรู้ปรับปรุงให้ดีขึ้นดึงดูดความสนใจความสามารถของคนที่กลับอนุญาตพวกเขาทาให้ดีกว่าและผลิ
ตความรู้ให้มากขึ้น
งานวิจัยหลายชิ้นโต้แย้งว่าขั้นตอนการแบ่งปันความรู้เหมือนกับสาระสาคัญในส่วนของการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
(บุค&คิม2002,มาร์กูส2001,วาสโก&ฟาไรจ์2005)
เพราะว่าการแบ่งปันความรู้วางอยู่บนหลักของขั้นตอนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและมันเป็นตัวอย่างอันประเสริฐในสมัยข
องการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการปรับปรุงของแต่ละคนไปสู่การเรียนจริง
ในความรู้สึกนี้การแบ่งปันความรู้เป็นสิ่งที่เป็นส่วนประกอบสาคัญมากของกิจกรรมการสร้างความรู้(ดาเวนพอร์ต&พรูสัก
1998)ขั้นตอนการแบ่งปันความรู้ของแต่ละคนเปิดเผยให้เขาหรือเธอได้ทราบความชานาญเฉพาะด้าน
ความเข้าใจอย่างลึกซึ่งหรือความเข้าใจคนอื่นๆด้วยดังนั้น
ผู้รับอาจมีความสามารถที่แฝงอยู่ภายในและใช้ความรู้ปฏิบัติงานของเขาหรือเธอในทางที่ดีขึ้น การแบ่งปันความรู้เกี่ยวพัน
กับการแลกเปลี่ยนกิจกรรมระหว่างบุคคลหรือกลุ่มและชุมชนของการปฏิบัติ(วาสโก &ฟาไรจ์2005)
เครือข่ายสังคมจัดหาเว็บ2.0สามารถเสนอโอกาสมากมาที่จะทาให้มั่งคั่งและเปลี่ยนแปลงเป็นการจัดการความรู้
3.หน้ำที่ของไอซีทีในกำรสนับสนุนกระบวนกำรจัดกำรควำมรู้ :ระดับ,ผลประโยชน์และขอบเขตของกำรใช้
ไอซีทีให้เกิดประโยชน์สำหรับกำรจัดกำรควำมรู้
ไอซีทีเป็นสิ่งที่กว้างขวางยอมรับเท่าเทียมกับปัจจัยที่จาเป็นที่สามารถผลักดันกระบวนการสร้างความรู้โดยการรวบรวมคน
และแลกเปลี่ยนความรู้ (กานกานนัลลิ2005,โรดส์,ฮัง,ล๊อค,เลียน&วู2008,โรเบิร์ต2009,ยัง&วู2008)
เป็นประเพณีที่ไอซีทีจะสารวจเหมือนกับการรวมความสามารถของเทคโนโลยีและเครื่องมือ(ตัวอย่าง
อีเมล์,อินทราเน็ต,ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์,สภา) การเข้ายึด,การเก็บรักษาและการแบ่งปันความรู้
(กรอฟเวอร์&ดาเวนพอร์ต2001)
เพื่อที่ให้สามารถจัดการได้อย่างมั่นคง,บูรณะ,ทาให้กระจายและกระบวนการสารสนเทศ(สวาน,นีเวลล์&โรเบิร์ตสัน2000)
ปัจจุบันอินเตอร์เน็ตใช้เป็นสัญลักษณ์แทนความสาเร็จมากที่สุดในการเปิดระบบกลไกสารสนเทศให้กระจายให้โอกาสคนที่
จะแบ่งปันเครือข่ายการถกเถียง(รวมถึง)การสร้างความรู้และการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน(ชาลกิติ&สิกาลา2008,การ์เจอร์
&ควน2005,แวคเนอร์ &บอลโลจุ2005)
นักเขียนหลายคนวิเคราะห์การทาหน้าที่ของ
ไอซีทีในความสะดวกทั้งหมดในการกระทาที่เกิดขึ้นก่อนเพื่อจาแนกแยกแยะขบวนการจัดการความรู้ ตัวอย่างเช่น
ฐานที่ระบบสารสนเทศเข้าถึงแจ๊คสัน(2000)
กาหนดขอบเขตของการจัดการความรู้มีหน้าที่ช่วยอานวยความสะดวกและปรับปรุงการรวบรวม,องค์การ,
ได้รับการขัดเกลา,การวิเคราะห์และการเผยแพร่รูปแบบทั้งหมดของความรู้ แซค(1999)
บรรยายว่าไอซีทีขับเคลื่อนการจัดการความรู้เช่นเดียวกับกระบวนการตั้งเป้ าหมายที่จะสร้างและเผยแพร่ความรู้ให้มั่นคง
รวมทั้งกิจกรรมต่างๆเช่นการฟื้นฟูความรู้ การขัดเกลาจัดให้มีดัชนี จัดประเภท,และเป็นตัวแทน โรเซ่นเบิร์ก(2001)
เสนอการจัดการความรู้แบบปิรามิดที่รวม3ระดับของไอซีทีขับเคลื่อนกระบวนการจัดการความรู้
ระดับต่าที่สุดเป็นตัวแทนเทคโนโลยีที่สามารถจัดการกับเอกสารช่วยเหลือการรักษาและการเผยแพร่ ระดับที่2
เป็นตัวแทนกระบวนการจัดการความรู้สาหรับการสร้างสารสนเทศ
แบ่งปันและการจัดการซึ่งคนจะเก็บรักษาสารสนเทศไว้ในไอซีที
สร้างความสุขใหม่ๆและคับคั่งไปด้วยฐานความรู้สาหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ได้กลับคืนมาระดับที่3
อ้างถึงนักธุรกิจที่ฉลาดซึ่งหาไอซีทีมาให้อย่างเร่งด่วนที่มอบอานาจให้คนที่สร้างองค์การด้วย
ความรู้ความชานาญ แจ๊คสัน(2000)สนับสนุนแซค(1999)โต้แย้งว่าไอซีทีมีความสามารถระดับสูงกว่ากระบวน
การจัดการความรู้ โดยโต้แย้งว่า
ไอซีทีมีมิติหลากหลายในกระบวนการจัดการความรู้ที่สร้างความรู้ที่มีคุณค่าที่ไม่ใช่สิ่งเดียวกับกับข้อมูลหรือสารสนเทศ
แซค (1999)เห็นว่าการจัดการความรู้รูปปิรามิดมีความสาคัญ
เพราะสามารถทาให้มั่นคงเพื่อชี้และวัดระดับของไอซีทีที่ใช้ให้เกิดประโยชน์สาหรับสนับสนุนและปรับปรุงกระบวนการจัดก
ารความรู้
ความสาคัญของไอซีทีเพิ่มมากขึ้นเพื่อทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จโดยให้เหตุผลว่าตามความต้องการของธุ
รกิจที่ทาให้การจัดการความรู้ขึ้นอยู่กับความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาของมนุษย์และป้ องกันองค์การความรู้จากปัจจัยต่าง
ๆเช่น การหมุนเวียนพนักงานการท้าทายอานาจที่มีผลกระทบกับการแบ่งปันความรู้
และการสะสมความรู้(คอนเนลลี่และเคลโลเวย์2003,วอลชาม2001) อย่างไรก็ตาม
นอกเหนือจากกฎที่สาคัญยังเน้นความสาคัญความสามารถของไอซีทีที่สนับสนุนการจัดการความรู้
ผลกระทบของไอซีทีที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้คือแบบสอบถาม(โทมัส2005)
ขณะที่นักศึกษาบางคนก็แสดงการขาดความสามารถของไอซีทีต่อการสนับสนุนกระบวนการความสาเร็จของการจัดการค
วามรู้(บัมเลอร์ 2003,ชูท&โบแลนด์2000)
เหตุผลที่สนับสนุนความล้มเหลวของไอซีทีที่ช่วยเหลือกระบวนการจัดการความรู้อ้างถึงเรื่องที่เกี่ยวข้อง(สิกาลา&
ชาลกิติ2007) ขอบเขตความสามารถของไอซีทีและหน้าที่ที่จะสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้
เป็นสื่อกลางปัจจัยที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมบนเส้นทางความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ไอซีทีให้เกิดประโยชน์
การประสบความสาเร็จของการจัดการความรู้ และการประสบความสาเร็จที่มั่นคงปัจจัยเหล่านี้อาจรวมทั้ง:
การเพิกเฉยของสังคมและการอบรมลักษณะของความรู้(เช่นอานาจ)
ความไม่มั่นคงและการหมุนเวียนของลูกจ้างชั่วคราวเป็นสาเหตุให้ปัจจัยต่างๆสเยหายอย่างมากในด้านแรงงานเช่น
การหมุนเวียนของพนักงานสูง แรงงานเคลื่อนย้ายง่ายและกลยุทธการยืดหยุ่นของแรงงาน(ชาลกิติ&สิกาลา2010)
การพิจารณาความรู้
ว่าความรู้เป็นเกี่ยวกับธรรมชาติของความรู้ต่อสู้กับสิ่งธรรมดาที่เข้าใกล้กับวรรณกรรมไอเอสที่ปฏิบัติกับฐานความรู้ราวกับ
สิ่งที่มีประโยชน์
การพิจารณากับผลกระทบของไอซีทีบนการจัดการความรู้เช่นเดียวกับการคงอยู่ของพื้นฐานความรู้
งานวิจัยบางชิ้นเชื่อว่า ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถเก็บรักษาและแบ่งปันเพราะว่าเป็นธรรมชาติชัดเจน(โนนากะ1994)
ขณะที่คนอื่นๆโต้แย้งว่าความรู้เป็นสิ่งที่เงียบ(โพลานยิ1966)และเป็นผลมาจากมันไม่สามารถจับต้องผ่านไอซีที
ขึ้นอยู่กับความคิดเห็นหน้าที่การงานและความสาคัญของไอทีแตกต่างกันไปผู้วิจัยที่ชอบความเงืยบและการแบ่งเป็น2
ส่วนที่ชัดเจนของความรู้ตามธรรมชาติที่เรียกร้องว่าไอซีทีเป็นทางที่ดีเลิศสาหรับการเก็บรักษาและโอนความรู้
นี่เป็นตัวแทนธรรมดาวิธีการของไอซีทีที่ขับเคลื่อนการจัดการความรู้(สวาน&สการ์บรอท2001,สวาน2000)
ทาราวกับความรู้ราวกับสิ่งที่มีประโยชน์และรับกระบวนการสารสนเทศมาใช้เข้าใกล้การจัดการความรู้(รูท&วอนกรอฟฮ์
เพราะคิดว่าความรู้และสารสนเทศคล้ายกันมาก(เทอร์เรตต์1998)และการเรียนส่วนบุคคลจะดีกว่ากลุ่ม(คูรี่ และเคอริน
2004) อย่างไรก็ดี
ตามวิธีการนี้ขอบเขตที่สาคัญของไอซีทีในการสนับสนุนศูนย์รวมของการจัดการความรู้บนความสามารถของไอซีทีที่จับต้อ
งได้ และกระบวนการมีเพียงข้อมูลและสารสนเทศไม่ใช่ความรู้(บัทเลอร์ 2003,แมคจี &พรูสัก1993) ดังนั้น
ไอซีทีไม่สามารถช่วยเหลือกระบวนการเรียนรู้และการตัดสินใจด้วยเหตุผล(โบแลนด์1994)
ซึ่งทาให้ความน่าเชื่อถือของไอซีทีลดลงกระทบกับโครงสร้างความรู้
ที่จริงแล้วไอซีทีพิจารณาการสร้างความรู้เหมือนกับเป็นหน้าที่ของกิจกรรมและเพิกเฉย
“การสร้างสังคม,ทาให้กระจาย,และสร้างความรู้และกระบวนการที่มีเปลี่ยนแปลง”(เพนแลนด์1995หน้า2)
นี้เป็นขอบเขตของไอซีทีที่สาคัญมากกว่าราวกับขนาดของสังคมที่เป็นประโยชน์สาหรับกระบวนการสร้างความรู้ทั้งหมด
(โนนากะ&ทาเกชิ1995)
ในทางอื่น นักวิจัยที่สนับสนุนธรรมชาติของความรู้แย้งว่า
ไอซีทีที่ไม่ประสบความสาเร็จเพราะเพิกเฉยวัฒนธรรมของสังคมในเรื่องความรู้(ลีโอนาร์ด& เซ็ยซืเปอร์
1998,ทิซูกะ&วัลดิมิรุ 2001)ดังนั้น
ถึงแม้ว่าไอซีทีแสดงตัวว่าสนับสนุนความการปรับเปลี่ยนสู่ภายนอกและสิ่งที่จดบันทึกความรู้ไว้โดยเปิดเผยตามงานในหน้
าที่สร้างความรู้ (วัลซาม2001)ทั้งนี้เพราะไอซีทีช่วยอานวยความสะดวกในข้อมูลและการแบ่งปันสารสนเทศ
แต่เขาไม่เคยทาแทนสาหรับการโต้ตอบการสื่อสารและการเรียนรู้ที่เป็นธรรมชาติของการแสดงความคิดเห็น ที่จริง
ความรู้เป็นสิ่งที่รับรู้ได้ว่าสาคัญที่สุดราวกับ”หน้าที่และผลที่เกิดขึ้นของการประชุมและปฏิกิริยาของความคิดเห็น”(ฟาเฮย์
&พรูสัก1998หน้า 273)จากนี้ไปแม้ไอซีทีไม่สามารถทาแทนทั้งหมดในแนวทางของสังคมที่จะเผชิญหน้ากัน
หลายๆคนมาต่อต้านความไว้วางใจของไอซีมีที่มีศักยภาพที่จะแทนที่ในการทากิจกรรมของคน(คอนเนลลี่และเคลโลเวย์
2003)
ยิ่งกว่านั้นยังพบว่าทรัพยากรมนุษย์เป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญในการสนับสนุนกระบวนกรจัดการความรู้และความรู้ที่ไม่สามา
รถยกตัวจากวัฒนธรรมในสังคม(บราวน์&ดูกิด1991)
ไอซีทีเพียงแต่เสนอทางที่จะช่วยเหลือการกระทาของลูกจ้าง(เอ็ดวิลสัน2000,ฮัลล์2000,สคาร์บรูค2003)
อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าไอซีทีไม่สามารถเป็นยาสารพัดโรคที่แก้ปัญหาการแบ่งปันความรู้
ที่ยอมรับว่าไอซีทีสามารถทาให้สิ่งสาคัญสมบูรณ์ที่ปัจจัยอื่นสามารถแบ่งปันความรู้ได้
ทั้งหมดนี้สามารถสรุปได้ว่าไอซีทีมีขอบเขตในการสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้
เพราะระบบงานของไอซีทีมีประเพณีที่ลดความน่าเชื่อถือความคิดเห็นของคนในเรื่องความรู้
ซึ่งที่สาคัญอยู่ที่ระดับและสังคมร่วมสร้างความรู้ผ่านปฏิกิริยาของคน
สืบเนื่องจากการใช้ไอซีทีให้เกิดประโยชน์ที่เพิกเฉยต่อวัฒนธรรมในสังคมด้านความรู้คือผู้ทาแทนที่มีผลกระทบน้อยมากใน
การช่วยเหลือกระบวนการจัดการความรู้ขั้นสูงกว่า(แมคเดอร์มุท1999,โอเดล&เกรย์สัน1998)
4.เว็บ2.0 สนับสนุนกำรสนทนำและกำรร่วมกันทำงำนกำรจัดกำรควำมรู้ :กำรจัดกำรควำมรู้ 2.0 (เคเอ็ม 2.0)
เว็บ2.0
เผยให้เห็นการเตรียมพร้อมหลายๆอย่างที่อยู่เหนือขอบเขตของการอ้างถึงของไอซีทีธรรมดาที่ขับเคลื่อนการจัดการความรู้ร
าวกับเครื่องมือหลากหลายของเว็บ2.0ทาให้คิดว่าคนและวัฒนธรรมในสังคมในแง่มุมของความรู้
โดยเปลี่ยนทางคนที่ค้นหาแบ่งปันปละสร้างความรู้ เว็บ
2.0ที่พัฒนามีความสามารถใช้เทคโนโลยีช่วยเหลือวิธีการของการจัดการความรู้โดยย้ายถิ่นจากระบบงานเทคโนโลยีส่วนก
ลางกระบวนการสารสนเทศที่สาคัญและศูนย์กลางในมุมของไอซีทีถึงประชาชนที่จะเข้าถึงการจัดการความรู้
ที่ปรับปรุงและเน้นการสนทนาและการทางานร่วมกันของกระบวนการจัดการความรู้ ดังนั้น
การค้นคว้าพูดถึงการจัดการความรู้ว่า(แมคคินเซ2007)
ที่คุณสมบัติพิเศษตามต้องการที่จะค้นและมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคมและชุมชนของความรู้ ที่แต่ละคนต้องการ
ร่วมกันสร้างและแบ่งปันการรวมตัวกันด้วยสติปัญญา
เว็บ2.0
อนุญาตให้แต่ละคนกระตือรือร้นในหน้าที่การงานด้านความรู้ด้วยการสนับสนุนและโต้เถียงรายละเอียดกับผู้อื่นผ่านการส
นทนาและการเข้ามาทางานร่วมกัน(โจนาสเซ็น2000)ตัวอย่าง สถานที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
วิกิส์และเว็บล็อคเป็นบทสนทนาทางเทคโนโลยีที่สามารถสร้างความรู้และการแบ่งปัน((วากเนอร์ &บอลโลจุ2005)
การแสดงความคิดเห็น คาถามและคาตอบ กระบวนการสถานที่แสดงความคิดเห็น
สร้างการทางานร่วมกัน(วิกิส์)และ/หรือเล่าเรื่อง(เว็บล็อค) จากนี้ไปเว็บ
2.0จะบอกรายละเอียดความเข้าใจและความรู้ที่สร้างขึ้นเป็นความสามารถส่วนบุคคลที่ให้โอกาสเขา/เธอที่จะจัดการความ
รู้ไกลออกไปจากเขา/เธอยอมรับเป็นการภายในกระบวนการและคิดขยายคาและแง่มุมของสังคมในเรื่องความรู้นี้
การวิจัยแสดงว่าเว็บ
2.0ไม่ได้ปรับปรุงเฉพาะหน้าที่(กระบวนการสารสนเทศ)แต่มีผลกระทบกับสังคมในด้านกิจกรรมของการจัดการความรู้
(ลุย,แมคจุคา,บ๊อง&ซุงจี 2007,โรไว2002)ตัวอย่างเช่น
วิกิส์และบล๊อคอนุญาตให้ทางานร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล(โจนัสสัน2000)
ขณะที่ภาคผนวกสามารถเป็นสารสนเทศของสังคมเครือข่าย(อัลริซ,เฮง,ลิปปิง&รุยมิน2008)
นักเขียนหลายคนมีการวิเคราะห์ว่าทาอย่างไรเครื่องมือของเว็บ2.0
ที่หลากหลายสามารถถึงคนที่จะช่วยกันสร้างและแบ่งปันข้อมูลตัวอย่างเช่นยู,ลู,และลุย(2010)
แสดงความเห็นว่าบล็อกปรับปรุงความรู้แบ่งปันข้อมูลระหว่างมืออาชีพ
เพราะบล็อกสนับสนุนทั้งการจัดข้อมูลให้เป็นระบบ(เช่นผ่านภาคผนวกและประวัติย่อของสารสนเทศของผู้สร้างความรู้)
และการสื่อสารระหว่างบุคคลอื่นๆ(เช่นเบทแมน,บรุค, แมคเคลลา&บรูซิลเลียสกี้2007,เฮย์แมน2007,เซลโดว์
2006,อัลริซ2008)มีการวิเคราะห์ว่าทาอย่างไรภาคผนวกของสังคมสามารถสนับสนุนการสร้างความรู้และกระจายโดยการ
เชื่อมความหมายและแนวความคิดด้วยความสามารถในกระบวนการเช่นการกรองสารสนเทศ,
การแบ่งหมวดหมู่,การยกเลิกและการต่อรองสิกาลา(2013)
สาธิตระบบสารสนเทศที่แสดงข้อมูลสิ่งต่างๆเสมือนจริงโดยการใช้แผนที่ที่จะช่วยกลุ่มที่แลกเปลี่ยนหรือร่วมกันสร้างความ
รู้สาหรับปรับปรุงการทางานร่วมกัน เพื่อปรับปรุงการตัดสินใจร่วมกันและกระบวนการเรียนรู้ การเรียนมีการแสดงว่าเว็บ
2.0 สามารถสนับสนุน4วงกลมของความรู้ที่แลกเปลี่ยนขั้นตอนตามรูปแบบของโนนากะ(เช่นแวกเนอร์ &บอลโลจู
2005)ตารางที่1 แยกหลายๆตัวอย่างแต่ละคนสามารถใช้ เว็บ2.0สนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ ในวงกลม:
สั้น,บทสนทนาและการร่วมมือกันจัดการความรู้สามารถให้ผลตอบแทนที่มากมายของกระบวนการจัดการความรู้ที่เริ่มต้น
ด้วยการสร้างความรู้และจบลงด้วยการใช้ความรู้และการได้รับการขัดเกลา(แวกเนอร์ & บอลโลจู2005)
โจนัสสัน(2000)ชี้ชัดขั้นตอนสรุปแนวทางในแต่ละบุคคลสามารถใช้เว็บ
2.0สาหรับสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ทุกชนิดและร่วมกันสร้างความรู้
 ใช้เว็บ2.0เช่นเดียวกับคลังความรู้(ตัวอย่าง (ตัวอย่าง
การส่งข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์จากแหล่งสาธารณะในยูทูป.คอม,บล็อก)สาหรับความสามารถในการสื่อสาร
ของสารสนเทศ
 การทาเหมือนร่วมกันทางานกับผู้อื่นที่เกิดขึ้นเมื่อคนใช้แหล่งข้อมูลที่แนะนาโดยเครื่องมือเว็บ
2.0และผลจากการวิเคราะห์ของผู้ใช้ก่อให้เกิดความพอใจ(ตัวอย่าง
บุคคลอื่นชอบการเชื่อมโยงมากกว่า,ชอบแสดงถึงการประเมินความพอใจ
 คัดเลือก,รวบรวมและแบ่งปันสารสนเทศกับบุคคลอื่นผ่านอาร์เอสเอส,การตื่นตัวใช้อีเมล์ เป็นต้น
 คัดเลือกและแบ่งปันสารสนเทศในเครือข่ายสังคมที่น่าสนใจทั่วไป(ตัวอย่างชีวประวัติโดยย่อในเฟซบุ๊ก)
 ตัดสินใจและทาการตัดสินโดยการประเมินแหล่งที่มาซึ่งเชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์(ตัวอย่าง
การลงมติ,การเชื่อมต่อแหล่งที่มาในเฟซบุ๊ก)
 การแบ่งหมวดหมู่และการผลิตแหล่งที่มา(ส่วนบุคคลหรือสาธารณะ)เพิ่มเติม(ตัวอย่าง
การแบ่งที่คั่นหนังสือและสังคม/ช่วยกันค้น)
คาสั่งนี้สูงกว่ากระบวนการความรู้และความเข้าใจที่เกิดขึ้นสนับสนุนการสร้างความรู้ภายหลังจะแบ่งปันได้ช้ากว่
าและเปรียบเทียบกับความรู้ของผู้อื่น(ตัวอย่าง
เรียนและสร้างความรู้จากการตัดสินของผู้อื่น/การแบ่งหมวดหมู่)การร่วมกันสร้างความรู้(ตัวอย่าง วิกิส์)
และความสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคลอื่น
 ความหมายของการต่อรอง(ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับสร้างความรู้ร่วมกัน)ผ่านการสนทนาทางเครือข่าย(ตัวอย่าง
ในบล็อกขนาดเล็ก)ที่สามารถทาความเข้าใจสารสนเทศได้ ผลสะท้อนกลับ,การวกกลับและการสนับสนุน
โดยสรุป นักศึกษาเหล่านี้แสดงว่าการร่วมกันทางานจานวนคนมากๆและหน้าที่สื่อสารขิงเว็บ2.0สนับสนุนกา
ทางานร่วมกัน การมีส่วนร่วมและการสนทนากระบวนการจัดการความรู้ ตั้งแต่นี้ไป
กระบวนจัดการความรู้ปิรามิดของโรเซ็นเบิร์ก(2001)
ที่ใช้กันมาก่อนเพื่อประเมินผลกระทบของไอซีทีบนกระบวนการจัดการความรู้ที่ไม่มีประสิทธิภาพอธิบายและวัดผลที่เกิดป
ระโยชน์จากการใช้เว็บ2.0สาหรับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
เพราะเป็นเพียงความคิดขั้นตอนสารสนเทศตามความสามารถของไอซีทีเพื่อคิดว่ามีผลกระทบกับการจัดหามาให้ของเว็บ
2.0 บนกระบวนการจัดการความรู้ 3ระดับของการจัดการความรู้รูปปิรามิดที่จะต้องเพิ่มขื้นและปรับตัวดังนี้:
ระดับต่าที่สุดของเว็บ2.0ใช้ให้เกิดประโยชน์เป็นตัวแทนการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสาหรับค้น เก็บรักษา
การแบ่งหมวดหมู่และเชื่อมต่อสารสนเทศ: ระดับที่สูงกว่าของเว็บ
2.0ใช้ประโยชน์จากการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสาหรับชี้และมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคมซึ่งมีจุดประสงค์ที่จะพัฒนาและรัก
ษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่กลับมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ อ้างถึงการแบ่งปัน
การแสดงความคิดเห็นและการต่อรองสารสนเทศกับคนอื่นๆ ขณะที่ระดับสูงสุดอ้างถึงการใช้ประโยชน์จากเว็บ2.0
มีจุดประสงค์ที่จะสนับสนุนความรู้ร่วมการสร้างผ่านการประกอบเป็นสิ่งใหม่
(ตัวอย่างการเปรียบเทียบและการแตกต่าง)และความคิดเห็นเกี่ยวกับสารสนเทศ
ทั้งหมด กระบวนการจัดการความรู้สนับสนุนโดยเว็บ2.0ค่อยๆสอนให้ซึมทราบการมีส่วนร่วม
การมีความเสมอภาคมากกว่านี้การร่วมกันทางานเข้าใกล้การจัดการความรู้ที่สนับสนุนการเคลื่อนไหวการสนทนา
การสร้างสรรค์ที่ยืดหยุ่นและทาให้ความรู้ฟื้นขึ้นมาใหม่(ลีและแลม2007) ตั้งแต่นี้ไปการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ2.0
สาหรับจุดประสงค์ของการเรียนรู้สามารถชนะกับดักธรรมดาของไอซีทีที่ขับเคลื่อนการจัดการความรู้
ตัวอย่างการสะสมความรู้และการอิ่มตัวและขั้นตอนความรู้ตัดสินวิศวกรเทคโนโลยี(แมคเดอมุท1999)อย่างไรก็ดี
สิ่งที่เป็นประโยชน์มากคือเป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนความรู้,ข้อความที่คัดลอกออกมาและการช่วยกันสร้างสรรค์(นิชิดะ
2002)การสนทนาที่เกิดขึ้นในเว็บ2.0เตรียมพร้อมในมุมของสังคมของกระบวนการจัดการความรู้(โนนากะ&
ทาเกชิ1995)ที่มีการเพิกเฉยโดยเป็นสิ่งธรรมกชดาของไอซีทีที่ขับเคลื่อนการจัดการความรู้
5.ระเบียบวิธีวิจัย
5.1 จุดมุ่งหมายของการวิจัย
การศึกษามี3จุดประสงค์ที่สาคัญ :
(เอ)สารวจหน้าที่การงานและการใช้เว็บ
2.0สาหรับการสนับสนุน,การปรับปรุงให้ดีขึ้นและการเปลี่ยนแปลงการจัดการความรู้
(บี)สารวจระดับของการใช้ให้เกิดประโยชน์จากเว็บ
2.0สาหรับจุดประสงค์ของการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในกรีซ
และ (ซี)ชี้ช่องว่างและโอกาสในการใช้เว็บ2.0ให้เกิดประโยชน์
สาหรับจุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้โดยนามาใช้ให้เกิดประโยชน์การวิเคราะห์ที่สาคัญคือ
การเปรียบเทียบระดับของการใช้ที่เกิดประโยชน์จริงกับความสาคัญที่ได้รับจาการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ
2.0สาหรับการจัดการความรู้ การทบทวนวรรณกรรมแสดงว่าเว็บ2.0
รวมทั้งเครื่องมือของการรวมตัวรูปแบบต่างๆที่สามารถใช้สนับสนุนและทาให้เพิ่มคุณค่าของการจัดการความรู้หลากหลาย
อย่างไรก็ตาม การใช้ประโยชน์จากเว็บ2.0ในชนิดต่างๆจะได้รับกระบวนการจัดการความรู้ในระดับต่างกันด้วย
การสารวจระดับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ2.0ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ โดย
(เอ) ชี้การใช้เครื่องมือของเว็บ2.0 ที่ต่างกันให้ชัดเจน
และ(บี)วัดการใช้เครื่องมือของเว็บ2.0 แต่ละชนิดที่ช่วยให้ระดับของกระบวนการจัดการความรู้ต่างกัน
การวิเคราะห์การใช้มีความสาคัญที่จะนาไปสู่การชี้ความเหมาะสมระหว่างชนิดของการจัดการความรู้ที่จะใช้เครื่องมือเว็บ
2.0และชนิดของกระบวนการจัดการความรู้ที่จะใช้เครื่องมือที่สนับสนุนได้ดีกว่าอีกด้วย
หลังจากทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเครื่องมือที่ออกแบบสาหรับรวบรวมสารสนเทศในทางที่แตกต่าง
ซึ่งการจัดการท่องเที่ยวมืออาชีพสามารถใช้เครื่องมือที่แตกต่างในเว็บ2.0สาหรับการจัดการความรู้
แบบสอบถามได้รับการทดสอบเบื้องต้นจากสองสถาบันและมืออาชีพสามคนเพื่อตรวจสอบความรับผิดชอบและความสา
มารถใช้ประโยชน์
นอกจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่สาคัญที่ทาในรูปแบบการเขียนและการนาเสนอสารสนเทศสาหรับทาแบบสอบถามให้เข้าใจ
ง่ายขึ้นและสมบูรณ์ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงอื่นๆอีก
ตำรำงที่ 1 ควำมรู้ในวงกลมที่เว็บ 2.0 สำมำรถดำเนินกำร ที่มำ : ปรับปรุงจำกโนนำกะ (2000)
จำก ถึง .
ควำมรู้โดยปริยำย ควำมรู้ที่ชัดเจน .
ควำมรู้โดยปริยำย กำรสร้ำงปฏิสัมพันธ์ทำงสังคม กำรปรับเปลี่ยนสู่ภำยนอก
-การมีส่วนร่วมแสดงความเห็นในเครือข่าย - ผู้ใช้ใส่รหัสข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์,
สถานที่ชุมนุม,และสังคมเครือข่าย ในเอกสารของพวกเขา
-ทาประวัติย่อให้ทันสมัยและจัดประเภท - ผู้ใช้แสดงความคิดเห็นในเครือข่ายที่แสดงความเห็น
สารสนเทศในสังคมเครือข่าย
ควำมรู้ที่ชัดเจน ควำมเป็นนำนำชำติ กำรผสมผสำน
-ทาตามความรู้สึกและเรียนรู้ด้วยการกระทา - ผู้ใช้สร้างและรวบรวมความรู้
(ตัวอย่าง มีส่วนร่วมในการเลียนแบบคาที่เสมือนจริง)
-การเรียนแบบไม่โต้ตอบ โดยอ่านความเห็นของผู้อื่น - ผู้ใช้อัปโหลดสารสนเทศบนเครือข่ายสังคมหรือวิกิ
และแสดงความคิดเห็นในเครือข่าย
-จดบันทึกว่าได้อ่านอะไร
-เขียนผลสะท้อนกลับของการอ่าน/แสดงความคิดเห็น
5.2 การวัด
การวิจัยเครื่องมือรวมทั้ง3ส่วนที่รวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับ:
(1)การตอบสนองกับตัวอย่างกราฟฟิคและประวัติการทางานเท่ากับความชานาญเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
(2)การรวมตัวกันของเว็บ2.0ในการสนองตอบประวัติการจัดการความรู้
โดยการสารวจระดับและเหตุผลของการใช้เว็บ2.0ที่ชอบมากกว่าแหล่งที่มาของการรวบรวมการแบ่งปัน
และการแสดงความคิดเห็นชนิดที่แตกต่างของนักสารสนเทศมืออาชีพ
และ (3)การตอบสนองของผู้ใช้และรับรู้ความสาคัญของการใช้ 6เว็บบนเครื่องมือ2.0(เครือข่ายสังคม,บล็อกไมโครบล๊อก
วิกิส์ความพอใจที่จะแบ่งปันเครือข่ายข้อความ/การรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์และ/หรือแบ่งปันเครื่องมือ
การประชุมทางไกลโดยอาศัยโทรทัศน์วงจรปิด)สาหรับสนับสนุนระดับที่แตกต่างของกระบวนการจัดการความรู้
คาถามของส่วนที่2
ต้องการการตอบสนองอันดับของสิ่งที่ชอบเป็นพิเศษของการใช้ประเพณีที่แตกต่าง/ไม่ได้เชื่อมต่อเข้าระบบในขณะนั้นหรือ
การเชื่อมต่อแหล่งที่มาสาหรับรวบรวม,แบ่งปัน,และแสดงความคิดเห็นในชนิดต่างๆของสารสนเทศมืออาชีพ(ตัวอย่าง
คู่แข่ง ผู้จัดจาหน่าย ลูกค้าสารสนเทศ)จากการสารวจเหตุผลการใช้ประโยชน์เว็บ2.0สาหรับการจัดการความรู้
ตอบสนองการรายงานระดับของความเห็นชอบ(7 มาตรฐานการวัดลิเกิร์ต ยอดรวมเห็นด้วย1,ไม่เห็นด้วย7)
ถือว่าจุดศูนย์รวมของการใช้เว็บ2.0สาหรับรวบรวมและแบ่งปันสาหรับ6เรื่อง (ปรับปรุงจากยูอิท2010)
(เอ) การทางานให้สาเร็จ(2หัวข้อ)
(บี) มืออาชีพ (2 หัวข้อ)
และ (ซี)ภายใต้ความกดดัน(2หัวข้อ
ตามที่ใช้การจัดการความรู้รูปปิรามิด(โรเซ็นเบิร์ก)10หัวข้อ ที่ใช้ประเมินระดับของเว็บ2.0
เพื่อการใช้ประโยชน์สาหรับนาชนิดที่แตกต่างของกิจกรรมการจัดการความรู้ :4
หัวข้อสะท้อนกิจกรรมของการจัดการความรู้ที่เกี่ยวพันกับระดับที่หนึ่งของการจัดการความรู้ ตัวอย่าง การใช้เว็บ2.0
สาหรับค้นหาเก็บรักษาและอ่านสารสนเทศสาหรับการใช้ของบุคคลทั่วไปหรือสาธารณะ : 4
หัวข้อที่เกี่ยวพันกับกิจกรรมการจัดการความรู้เกี่ยวกับการใช้เว็บ2.0สาหรับเครือข่าย
การแบ่งปันและแสดงความเห็นในสารสนเทศกับบุคคลอื่นและ2
หัวข้อที่สะท้อนกิจกรรมของการจัดการความรู้เกี่ยวพันกับระดับที่สูงที่สุดของการจัดการความรู้อ้างถึงการใช้ประโยชน์ของเ
ว็บ2.0สาหรับสร้างสรรค์และแยกความรู้ใหม่
ในเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้เป็นพิเศษของเครื่องมือหกอย่างในเว็บ2.0สาหรับจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
ได้จดบันทึกการตอบของผู้ถูกถามไว้ดังนี้
(เอ)ใช้เครื่องมือแต่ละชิ้นของเครื่องมือเหล่านี้ (ใช่/ ไม่ตอบ)
(บี)ความถี่ (7 มาตรฐานของลิเกิร์ต1=นานๆครั้ง,7=บ่อยๆ)ของการใช้เครื่องมือเว็บ2.0แต่ละครั้ง
เพื่อนาแต่ละครั้งของสิบกิจกรรมการจัดการความรู้
และ (ซี)เข้าใจว่าสาคัญ(7 มาตรฐานของลิเกิร์ต,1=ไม่สาคัญทั้งหมด,
7=สาคัญมาก)ของการใช้การใช้เว็บ2.0แต่ละครั้งสาหรับนาไปสู่กิจกรรมการจัดการความรู้แต่ละครั้ง
ดังนั้นสาหรับหกชั้นในเว็บ2.0 แต่ละกิจกรรมของการจัดการความรู้ได้รับ2คะแนน: 1
คะแนนชี้การตอบการรับรู้ความสาคัญของการใช้เครื่องมือเว็บพิเศษ2.0สาหรับนาไปสู่กิจกรรมการจัดการความรู้
และคะแนนอื่นๆตอบความถี่ของการใช้เว็บ2.0 ที่จะนาไปสู่กิจกรรมของการจัดการความรู้
5.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อชี้โอกาสและช่องว่างในการใช้เว็บ2.0ให้ได้ประโยชน์สาหรับการจัดการความรู้
การวิเคราะห์การใช้ที่สาคัญมีรูปแบบจากการปรับปรุงแม่แบบการวิเคราะห์การกระทาที่สาคัญ
ต่อมามีการริเริ่มโดยมาร์ติลลาและเจมส์
(1977)สาหรับให้เหตุผลของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ลูกค้าถือว่าสาคัญและเกี่ยวกับการกระทาของพวกเขา
หลังจากนั้นผู้อื่นออกแบบรูปแบบใหม่ (อีซิ่งวูด&อาร์น๊อตต์21991,สแลค1994)
สาหรับตัดสินกลยุทธ์ต่างๆที่มั่นคงในการปฏิบัติอยู่บนฐานการยอมรับของผู้จัดการมากกว่าการยอมรับของลูกค้า
รูปแบบการปฏิบัติที่สาคัญเปรียบเทียบกับการยอมรับที่สาคัญของความแตกต่างโดยให้เหตุผลตรงข้ามกับการสนับสนุนก
ารปฏิบัติทางธุรกิจ ในธุรกิจที่คล้ายกัน
รูปแบบการวิเคราะห์การใช้ที่สาคัญถูกพัฒนาเพื่อเปรียบเทียบระดับการใช้เครื่องมือของเว็บ
2.0สาหรับนาไปสู่กิจกรรมการจัดการความรู้ตรงข้ามความสาคัญของการใช้เว็บ2.0 ที่นาไปสู่กิจกรรมการจัดการความรู้
ในอีกกรณีหนึ่งรูปแบบแยกคาตอบดังต่อไปนี้:เครื่องมือของเว็บ
2.0อยู่ใต้หรือเหนือการใช้ความสัมพันธ์ที่ความสาคัญของพวกเขาและซึ่งกิจกรรมการจัดการความรู้อยู่ใต้หรือเหนือรูปแบบ
โดยการใช้เครื่องมือของเว็บ2.0ต่างๆกัน
5.4 วิธีรวบรวมข้อมูลและตัวอย่าง
มาตรฐานการวัดระดับชาติที่ใช้เว็บพื้นฐานสารวจเกิดขึ้นระหว่างพฤศจิกายน2010-เมษายน2011
โดยกระจายแบบสอบถามในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกรีซผ่านความหมายต่างๆกัน
(เอ)
สิ่งพิมพ์ที่นาออกมาจาหน่ายให้อิสระและข่าวพาดหัวที่เป็นเรื่องสาคัญของการท่องเที่ยวทางเข้าสู่ความก้าวหน้าในการเรีย
นและจูงใจนักท่องเที่ยวมืออาชีพที่จะเติมแบบสอบถามทางเครือข่ายทางเข้าของURL คือ
www.traveldailynews.grและได้ถูกเลือกราวกับว่าเป็นตัวแทนที่รู้จักกันกว้างขวางและเป็นช่องทางที่มีมืออาชีพใหญ่
มากในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ มีจดหมายข่าวที่ลงความเห็นในแต่ละวันมากกว่า5,000,000
ฉบับและเป็นเว็บไซด์ออนไลน์ที่มีผู้เข้าเยี่ยมชมแต่ละวันจานวนมากมาย
(บี)สิ่งพิมพ์อื่นๆที่นาออกจาหน่ายให้อิสระสาหรับสนับสนุนการสารวจที่เชื่อมโยงเครือข่าย(ออนไสน์)ผ่านออนไลน์อื่นๆและ
การสื่อสารที่ไม่ได้เชื่อมโยงเครือข่าย(ออฟไลน์)(ตัวอย่าง สถานีวิทยุที่เปิดเพลงและดนตรี
,การท่องเที่ยวของกรีซในหน้าหนังสือ,www.GTP.gr)
และ (ซี) เป้ าหมายการเป็นผู้ชนะในอี-เมล์สมาชิก324คนของกลุ่มคนที่ทาธุรกรรมบนอินเตอร์เน็ต
(อีคอมเมอร์ส)ซึ่งชานาญในการท่องเที่ยว(เครือข่ายนี้เป็นส่วนหนึ่งเครือข่ายการวิจัยของกรีซwww.grnet.gr)
กลุ่มต่อมาที่ใช้เพราะเพราะรวมการท่องเที่ยวมืออาชีพที่สนใจในการท่องเที่ยวและเรื่องของเทคโนโลยีและนามาใช้ประโยช
น์ เปิดโอกาสให้โต้ตอบเมื่อมีการสารวจความคิดเห็น
จนถึงวันที่5 เมษายน2011 ได้รับคาตอบทั้งสิ้น136 ราย42รายไม่สมบูรณ์ ที่รวมถึงการวิเคราะห์พบว่า94
รายที่ตอบมาใช้ได้ดังแสดงด้านล่าง
6.ผลของกำรตรวจสอบกำรวิเครำะห์และกำรแสดงควำมคิดเห็น
6.1 ประวัติย่อของผู้ตอบ
ประวัติย่อของผู้ตอบ94
สะท้อนการเป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างของการทางานมืออาชีพในส่วนงานที่หลากหลายของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในกรี
ซ (ตารางที่2) ผู้ที่ตอบเป็นตัวแทนทั้งคนหนุ่มสาวและผู้ที่เป็นมืออาชีพ(65%มีอายุ40 ปี) มีการศึกษาระดับชั้นที่3
(88%)และสะท้อนตัวแทนของเพศที่ดี(53%เพศชาย)ส่วนใหญ่ของผู้ที่ตอบทางานโรงแรม(35%)
บริษัทตัวแทนการท่องเที่ยว(14%)และองค์การท่องเที่ยวสาธารณชน (10%) ส่วนที่เหลืออยู่41%
เป็นลูกจ้างในส่วนงานอื่นๆหลายหน่วยงาน เช่นไมซ์ (การชุมนุม,การกระตุ้น,การประชุม,งานนิทรรศการ)
การขนส่ง,การอบรมการศึกษาเช่นกันกับหน่วยอื่น
ผู้ตอบเป็นตัวแทนที่สร้างความสมดุลที่ดีระหว่างเจ้าของกิจการและผู้จัดการ(41%) และลูกจ้าง(59%)
ทางานทั้งในธุรกิจขนาดเล็กและขนาดใหญ่ เนื่องจาก54% ทางานที่มั่นคงมีลูกจ้างไม่เกิน20คนและ46%
ทางานที่มั่นคงที่มีลูกจ้างมากกว่า21คนผู้ตอบส่วนมากทางานระดับปฏิบัติการและตาแหน่งการตลาด(59%)
ขณะที่ส่วนสาคัญของผู้ตอบ(20%)เป็นผู้จัดการทั่วไป
ผู้ตอบเป็นตัวแทนของมืออาชีพที่มีประสบการณ์ต่างกันในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ซึ่งประสบการณ์การทางานเกือบเท่ากับการแบ่งออกเป็นส่วนๆล้อมรอบโดยการจัดลาดับมี1คนที่ทามาเกิน30ปี
ถึงแม้ว่าผู้ตอบส่วนใหญ่(49%)จะอยู่ในเมืองที่เป็นแหลมยื่นไปในทะเล
ผู้ตอบที่เหลือที่เป็นตัวแทนทางานเกือบเท่ากันอยู่ในพื้นที่อื่น ในที่สุด การใช้อินเตอร์เน็ตของผู้ตอบค่อนข้างดี(83%
ใช้อินเตอร์เน็ตมากกว่า6ปี)
ตำรำงที่ 2 ประวัติย่อของผู้ตอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
จานวนผู้ตอบ %ของ
(จานวน=94) ผู้ตอบ
-----------------------------------------------------------------------------------------------
กลุ่มของ่ท่านอายุเท่าไร
19 - 30 ปี 18 19
31 - 40 ปี 43 46
41 - 50 ปี 20 21
51 - 60 ปี 11 12
> 60 ปี 2 2
รวม 94 100
ท่านสาเร็จการศึกษาสูงสุดชั้นอะไร
ชั้นมัธยม 5 5
การศึกษาเพื่อเผยแพร่ศาสนา 6 6
ปริญญาตรี 35 37
ปริญญาโท 42 45
ปริญญาเอก 6 6
รวม 94 100
ท่านทางานการท่องเที่ยวมากี่ปี
< 5 ปี 25 27
6 - 10 ปี 23 24
11 - 20 ปี 28 30
21 - 30 ปี 11 12
>30 ปี 7 7
รวม 94 100
ท่านเพศอะไร
ชาย 50 53
หญิง 44 47
รวม 94 100
จานวนปีที่ใช้อินเตอร์เน็ต
1 - 3 ปี 2 2
3 - 6 ปี 14 15
>6 ปี 78 83
รวม 94 100
ชนิดของอาชีพ
เจ้าของและผู้จัดการ 37 41
ลูกจ้าง 55 59
รวม 94 100
ท่านทางานการท่องเที่ยวส่วนไหน
โรงแรม 33 35
ภัตตาคาร 4 4
บริษัทตัวแทนการท่องเที่ยว 13 14
ไมซ์ 4 4
ขนส่ง 4 4
องค์การการอบรม,ผู้มีเวลาว่าง 4 4
องค์การจัดการที่มีจุดมุ่งหมาย 9 10
องค์การจัดการท่องเที่ยวสาธารณชน 15 16
อื่นๆ (ที่ปรึกษา) 3 3
อื่นๆ(การศึกษา) 5 5
รวม 94 100
ธุรกิจที่ท่านทางานอยู่ขนาดไหน
ลูกจ้าง 1 - 10 คน 44 47
ลูกจ้าง 11 - 20 คน 7 7
ลูกจ้าง 21 - 50 คน 13 14
ลูกจ้าง>50 คน 30 32
รวม 94 100
งาน/ธุรกิจของท่านตั้งอยู่ที่ไหน
แหลมที่ยื่นไปในทะเล (ในเมือง) 46 49
แหลมที่ยื่นไปในทะเล (ชนบท) 15 16
อยู่บนเกาะ (ในเมือง) 16 17
อยู่บนเกาะ (ชนบท) 17 18
รวม 94 100
ท่านทางานอยู่ด้านไหน
การตลาด 25 27
ปฏิบัติการ 30 32
เงินทุน 8 8.5
ทรัพยากรมนุษย์ 5 5.3
ผู้จัดการทั่วไป 19 20
อื่นๆ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) 2 2.1
อื่นๆ(การศึกษา) 5 5.3
รวม 94 100
6.2 การรวมตัวของเว็บ2.0ในการตอบสนองประวัติของการจัดการความรู้
6.2.1 ชนิดและความถี่ของการใช้เว็บ2.0
ผู้ตอบทดลองเลือกใช้เครื่องมือเว็บ2.0 หลากหลาย(ตารางที่3)เปิดเผยว่าวิกิส์,บล็อกส่วนตัวและ
ไมโครบล็อก ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้น้อยที่สุด ขณะที่เครือข่ายสังคมและตัวแทนผู้ใช้บล็อกคนอื่นๆส่วนมากใช้เครื่องมือเว็บ
2.0 สูง ข้อมูลรายงานการใช้บ่อยและจุดประสงค์ของการใช้เว็บ
2.0ที่เป็นเรื่องสาคัญด้วยนับแต่พวกเขามีผลสะท้อนความถี่การใช้สูงและอัตราการมองผ่านเว็บ2.0
ในการโต้ตอบส่วนบุคคลและในชีวิตประจาวันของมืออาชีพสูง(ตารางที่4)โดยเฉพาะผู้ตอบเกือบทั้งหมดใช้เว็บ2.0
เป็นส่วนตัว จุดประสงค์ของสังคมและมืออาชีพใช้เว็บ2.0สาหรับจุดประสงค์ของสังคมได้เป็นผู้นา (99%ของผู้ตอบ)
การใช้เพื่อวัตถุประสงค์ส่วนตัวตามมา(98%ของผู้ตอบ) ขณะที่ผู้ตอบส่วนน้อย(96%)ใช้เว็บ2.0เพื่อให้ชานาญตั้งแต่นี้ไป
มีพยานว่าผู้ตอบเกือบทั้งหมดรู้ตัวแล้วและพวกเขาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ของเว็บ
2.0ไม่เพียงแต่จุดประสงค์ส่วนตัวแต่เพื่อให้เกิดความชานาญด้วย สิ่งที่ค้นพบโดยยกตัวอย่างว่าเว็บ2.0
กลายเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานประจาวันของผู้ที่ตอบมากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ตอบใช้เว็บ2.0ทุกวัน หรือสัปดาห์ละครั้ง
ต่อมาเป็นความจริงที่จุดมุ่งหมาย3ประการของการใช้เว็บ2.0 ถึงแม้พบโดยเปิดเผยว่าความถี่การใช้เว็บ2.0
เพื่อจุดประสงค์ทางสังคมสูงสุดตามด้วยการใช้เว็บ2.0ด้วยเหตุผลส่วนตัวและดพื่อความชานาญ
นี้กคือการยืนยันการเรียนสมัยก่อน(ตัวอย่างพาร์รา–โลเปซ,บลัคแอนด์ –กิดูมาล,กูทเตียเรส–ทาโน&ไดแอส-เอเมส
2011) แสดงว่าความกดดันทางสังคมและความต้องการของชุมชนและหาเพื่อนเป็นเหตุผลสาคัญที่จูงใจคนให้เริ่มใช้เว็บ
2.0 การค้นพบชี้ว่าการใช้ให้เกิดประโยชน์จากเว็บ2.0สาหรับเหตุผลเพื่อความชานาญตามเพียงคนที่ใช้เว็บ
2.0จุดประสงค์เพื่อสังคมและจะทาให้คุ้นเคยกับหน้าที่และประโยชน์ของเว็บ2.0 ด้วยอย่างไรก็ตาม
การเรียนในอนาคตต้องการยืนยันในสิ่งนี้
ตำรำงที่ 3 กำรเลือกและใช้เครื่องมือเว็บ 2.0
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
- จำนวน %
ใช้เครือข่ำยสังคม (จำนวนของเครือข่ำยสังคมที่ท่ำนเป็นสมำชิก 4.6=จานวนเฉลี่ยเครือข่ายสังคมที่ผู้ใช้รายงานสมาชิก 81 86
ท่านมีบล็อกส่วนตัวหรือไม่ 26 28
ท่านอ่านบล็อกของผู้ใช้อื่นหรือไม่ 58 62
ท่านเป็นสมาชิกของบล็อกเล็กตัวอย่าง ทวิสเตอร์ หรือไม่ 31 33
ท่านเคยใช้เครื่องมือรวมผู้เขียนหรือไม่ตัวอย่าง วิกิ 16 17
ท่านเคยใช้ความพอใจแบ่งปันเครือข่ายหรือไม่ตัวอยาง ยูทูป.คอม เอฟแอลซีเคอาร์.คอม 86 91
ท่านใช้เว็บไซด์ที่ทางานร่วมกันหรือไม่ 16 17
ท่านเคยใช้หนังสือ วิทยุ การบระชุมทางไกลทางวีดีโอเป็นเครื่องมือในการแบ่งปัน 65 69
(สไกด์ slideshare.com,scrib.com
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตำรำงที่ 4 จุดประสงค์ของกำรตอบและควำมถี่ในกำรใช้เว็บ 2.0
ท่านใช้เว็บ2.0 สาหรับ จุดประสงค์ทางสังคม จุดประสงค์ส่วนตัว จุดประสงค์เพื่อความชานาญ(ตัวอย่าง
(ตัวอย่าง ติดต่อเพื่อน) (ตัวอย่าง บันเทิง,การศึกษา) ค้นและแสดงความเห็นกับผู้ชานาญไอที)
จานวน %ผู้ตอบ จานวน %ผู้ตอบ จานวน %ผู้ตอบ
93 99% 92 98% 90 96%
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร

More Related Content

More from leemeanshun minzstar

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 
Kms
KmsKms
Kms
 
Iisd
IisdIisd
Iisd
 

โฮมเพจวารสาร