SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์
โฮมเพจวารสาร : www.elsevier.com/locate/comphumbeh
สารวจการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ2.0สาหรับความรู้ในการจัดการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ
การวิเคราะห์ที่สาคัญนามาใช้ให้เกิดประโยชน์
มาเรียนา สิการา,คาโลติน่า ชาลกิติ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
บทคัดย่อ
การสารวจกฎของสารสนเทศและเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร(ไอซีที)และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเว็บ
2.0ที่สนับสนุนกระบวนการการจัดการความรู้((เคเอ็ม) การทบทวนวรรณกรรมวิเคราะห์อย่างไรที่เว็บ2.0
เปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ของการจัดการความรู้โดยสนับสนุนการสนทนาและการทางานร่วมกันของกระบวนการจัดการความรู้
ที่เป็นการเปลี่ยนทิศทางการจัดการความรู้จากเทคโนโลยีเข้าสู่ประชาชน
การแสดงความคิดเห็นก็เปิดเผยความแตกต่างทางใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์เว็บ2.0
มีผลสะท้อนแตกต่างจากระดับของเทคโนโลยีที่สนับสนุนวิธีปฏิบัติของการจัดการความรู้
การเรียนนี้สารวจชนิดและระดับของเว็บ
2.0ที่ใช้ให้เกิดประโยชน์จากจุดประสงค์ของการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซโดยรวบรวมข้อมูลจาก
นักท่องเที่ยวมืออาชีพ
ข้อมูลถูกวิเคราะห์โดยการปฏิบัติจากการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยนักวิเคราะห์ที่สาคัญโดยเปรียบเทียบจากการวัดข้อ
มูล โดยการใช้ที่เกิดประโยชน์ของเว็บ2.ที่เห็นได้จากกาใช้ประโยชน์ที่สาคัญของเว็บ
2.0สาหรับจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
การวิเคราะห์ชี้ช่องว่างหลายประการและโอกาสเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ2.0
จากจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
เอกสารสรุปโดยจัดวิธีปฏิบัติและตามทฤษฎีสาหรับปรับปรุงการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ
2.0สาหรับจุดประสงค์ของการจัดการความรู้
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คำสำคัญ การจัดการความรู้, เว็บ2.0 ,กรีซ, การท่องเที่ยว,สังคมการสื่อสาร,แม่แบบของการใช้ให้เกิดประโยชน์
ที่สาคัญ
1.บทนำ
ในปัจจุบันนี้
ความรู้ที่กว้างขวางยอมรับว่าเป็นหนึ่งในคุณสมบัติของการแข่งขันที่สาคัญที่สุดอย่างหนึ่งเป็นความจาเป็นในการสนับสนุน
และอบรมการปรับเปลี่ยนกิจการความอยู่รอดการประสบความสาเร็จที่ยังคงอยู่(บอห์น1994,บอยซอท
1998,เมอร์ติน,ไฮซิก &วอร์เบค2000,โอเดลล์&เกรย์สัน1998,พาลาซิออส&การิกอส2006)
ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าสิ่งสาคัญอย่างเงียบๆและฝังอยู่ในโครงสร้างองค์กรและวัฒนธรรม
ความรู้ไม่ใช่เรื่องที่จะคัดลอกง่ายๆและตัวแทนและมีระเบียบ
มันสามารถทาให้มั่นคงได้โดยการสร้างคุณค่าธุรกิจเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งไม่สามารถเลียนแบบได้และไม่มีทางโอนได้
ความจริงการวิจัยมีความเกี่ยวพันกับประสบการณ์ที่กระทบกับการจัดการความรู้บนขั้นตอนของธุรกิจต่างๆและหน้าที่
เช่น(บอยซอท 1998,เมอร์ติน2000,รูฮาเนน&คูเปอร์ 2003,สิการา2011,2012,สิการา&ชาลกิติ2007)
สร้างและรักษาสัมพันธภาพลูกค้าที่มีคุณภาพดีและมีระเบียบปรับปรุงวิถีชีวิตของลูกค้าให้มีคุณค่า
ปรับปรุงการจัดการกับผู้จัดจาหน่ายในเครือโดยการทาให้กระจายและแบ่งปันสารสนเทศเพื่อเพิ่มการทางานให้สอดคล้อง
กันและทางานร่วมกันและการปรับปรุงการเรียนรู้ขององค์กรและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
สารสนเทศเหมือนเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดของการท่องเที่ยว
องค์การท่องเที่ยวต้องไม่รวมความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก(พูน1993,สิกาลา&ชาลกิติ2007)ปัจจุบัน
ความรู้เรื่องการจัดการคือการยอมรับว่าเป็นการแข่งขันและความจาเป็นเพื่อความอยู่รอดของการท่องเที่ยวที่มั่นคง
(คูเปอร์ 2006,แฮลลิน&,แคนเบอร์ก2008)ซึ่งสามารถเป็นการสนับสนุนการประสบความสาเร็จของพวกเขา(ตัวอย่าง
หยาง&วาน2004)
อย่างไรก็ตาม
การเรียนสมัยก่อนที่สารวจการจัดการความรู้ในการท่องเที่ยวมีสถานที่ที่สาคัญเพิ่มขึ้นภายในมีความมั่นคงขึ้น
มองดูว่าการจัดการความรู้จาเป็นที่จะเกี่ยวพันกับการสร้างความรู้และการแลกเปลี่ยนกับผู้ถือหุ้นนอกเหนือจากความมั่นค
งของเขตแดน(บันเคน2002)ในการท่องเที่ยวความรู้แบ่งปันในระดับความมั่นคง
(ระหว่างและความมั่นคงท่ามกลางความมั่นคงภายนอกเครือข่าย)
เป็นสิ่งที่สาคัญมากขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของผลผลิตท่องเที่ยว (ตัวอย่างการผสมกันของความแตกต่างในการบริการ)
ที่สรรสร้างเพิ่มในระหว่างเมืองขึ้นท่ามกลางผู้ถือหุ้น(ตัวอย่าง
การควบคุมหมู่คณะ)และท่ามกลางการท่องเที่ยวที่มั่นคง(คูเปอร์ 2006)
การท่องเที่ยวเป็นพลวัตที่เปลี่ยนแปลงและเป็นอุตสาหกรรมที่มีจุดอ่อนที่จะมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องโดยส่วนประกอบขอ
งสิ่งแวดล้อมอย่างมาก เพราะการท่องเที่ยวที่มั่นคงต้องการการรวมอย่างต่อเนื่อง
แบ่งปันและกระบวนการของสารสนเทศจานวนมากเพื่อเก็บให้ทันกับเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
เตรียมความสามารถที่ซ่อนเร้นอยู่ภายในและความเสี่ยงที่แท้จริงกลายเป็นกิจกรรมที่โปรดปรานตามความต้องการของนัก
ท่องเที่ยวและเปลี่ยนแปลง นอกจากนั้นในการเชื่อมต่อระหว่างกันในระดับสูงและในโลกของการเคลื่อนไหว
เทคโนโลยีและเฉพาะเจาะจงความก้าวหน้าของเว็บ2.0
ทาให้การท่องเที่ยวมั่นคงที่จะผูกมิตรเพิ่มขึ้นปรับปรุงความรู้ให้ดีขึ้น แบ่งปันการปฏิบัติกับลูกค้าของเขาผู้จัดจาหน่าย
หุ้นส่วนต่างๆและผู้ถือหุ้นอื่นๆ(ชาลกิติ&สิกาลา2008) ที่จริงแล้วยัง(2008)ทานายว่าปี2013
เครือข่ายสังคมจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่จะทาแทนระบบงานการจัดการความรู้ ปัจจุบันนี้
การจัดการความรู้พัฒนาไปสู่ความเจริญใหม่ซึ่งสถานที่ที่รวบรวมผู้มีสติปัญญาที่หลักของมันและสนับสนุนให้มีการใช้ให้เร็
วขึ้นโดยกระจายออกไป อย่างไรก็ตาม
ถึงแม้ว่าการวิจัยการท่องเที่ยวจะเน้นให้เห็นความสาคัญและค้นหาทางที่จะรวบรวมผู้มีสติปัญญาดีในเว็บ2.0
ที่สามารถใช้สาหรับการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้าการพัฒนาบริการใหม่การตลาด
และกลยุทธการจัดการรักษาชื่อเสียง(ตัวอย่างโอคอนเนอร์ 2010,แพน,แมคลูริน&ครอทท์2007, สิกาลา
2011,2012) มีการขาดการวิจัยเพื่อสารวจหรือไม่ก็ตามและเมื่อการท่องเที่ยวมั่นคงสามารถเปิดเผยเว็บ
2.0สาหรับเพิ่มคุณค่าและขยายการปฏิบัติการจัดการความรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหนือจากขอบเขตองค์การที่มั่นคง
ในความรู้สึกนี้รายงานนี้มีจุดมุ่งหมายดังนี้
เอ)วิเคราะห์ว่า เว็บ 2.0 ปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อย่างไรและเปลี่ยนแปลงเป็นวิธีปฏิบัติการจัดการความรู้
บี)สารวจระดับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ 2.0
สาหรับการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ และ
ซี)ชี้ช่องว่างต่างๆและโอกาสในการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ 2.0สาหรับการจัดการความรู้
โดยวิเคราะห์การนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สาคัญที่เปรียบเทียบระดับการใช้จริงให้เกิดประโยชน์ในเว็บ 2.0
เกี่ยวกับการรับรู้ความสาคัญของเว็บ 2.0ที่นามาใช้ให้เกิดประโยชน์สาหรับจุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้
เพื่อบรรลุเป้ าหมายนั้น การทบทวนวรรณกรรมนาไปสู่จุดมุ่งหมายแรกของการจัดการความรู้และครั้งนั้น
การพิจารณาในกฎเกณฑ์และขอบเขตของสารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร
(ไอซีที)สาหรับสนับสนุนจุดมุ่งหมายของขั้นตอนการจัดการความรู้
การทบทวนวรรณกรรมพิจารณาต่อถึงการเปลี่ยนแปลงอานาจของเว็บ
2.0ที่ย้ายถิ่นทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จจากเทคโนโลยีเข้าถึงประชาชนนี่เป็นเพราะเว็บ 2.0
สนับสนุนการสนทนาและการทางานร่วมกัน กระบวนการของการจัดการความรู้ที่ชนะไอซีทีเป็นสิ่งธรรมดา
ที่ขับเคลื่อนให้เข้าใกล้การจัดการความรู้ ทั้งหมดนี้การทบทวนวรรณกรรมแสดงว่าชนิดของไอซีทีที่แตกต่างกัน
ทาให้เกิดประโยชน์สะท้อนกลับมาในระดับเทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดการความรู้ต่างกัน ในความรู้สึกนี้
การสารวจการเรียนเทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซโดยนาการสารว
จวัดทางที่มืออาชีพด้านการท่องเที่ยวของกรีซทาให้เกิดประโยชน์โดยใช้ เว็บ 2.0สาหรับการจัดการความรู้
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย แบบสอบถามจึงออกแบบเพื่อที่จะรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับชนิดและระดับของเว็บ 2.0
ที่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซใช้สาหรับสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ของพวกเขา
และการยอมรับของมืออาชีพถือว่าความสาคัญของเว็บ
2.0ทาให้ประสบความสาเร็จสาหรับนาไปสู่กิจกรรมของการจัดการความรู้
การพบสารสนเทศที่น่าสนใจเกี่ยวกับระดับการใช้ให้เกิดประโยชน์ของเว็บ
2.0สาหรับจุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกรีซ
การวิเคราะห์การนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สาคัญนามาสู่การชี้ช่องว่างและโอกาสในการใช้ประโยชน์ของเว็บ 2.0
สาหรับการจัดการความรู้อีกด้วย
เอกสารนี้สรุปโดยจัดความเกี่ยวพันหลายๆทางสาหรับความก้าวหน้าของการวิจัยในอนาคตและเตรียมพร้อมสาหรั
บการแข่งขันของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการกระสบความสาเร็จของเว็บ 2.0สาหรับการจัดการความรู้
2.กระบวนกำรจัดกำรควำมรู้
การจัดการความรู้ (เคเอ็ม)เป็นโครงสร้างที่เข้าใกล้สาหรับการเตรียมพร้อมขั้นตอนหลักของการสร้างสรรค์
ประมวล ใช้ วัดและเก็บความรู้ไว้ เช่นเดียวกับการงัดความรู้เข้าแข่งขันในตลาดธุรกิจที่วุ่นวาย(รอยเล่ย์2000ทูบิน
1998)
ความรู้เป็นเรื่องทั่วๆไปไม่มีข้อยกเว้นไปสู่ความรู้ที่เปิดเผยที่เป็นการง่ายต่อการเปลี่ยนข้อมูลต่างๆให้เป็นภาษาคอมพิวเตอ
ร์ เก็บรักษาและสื่อสาร (วอนกรอกฮ์1998)และความรู้โดยนัยที่ปรกติจะพัฒนาจากการกระทาและประสบการณ์
และจะแบ่งปันผ่านการมีปฏิกิริยาอย่างสูงในการสื่อสาร(แซค1999)
ความรู้คือการสร้างผ่านระหว่างความยุ่งยากของรูปแบบที่ต่างกันของความรู้(โดยนัย ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์
ส่วนบุคคลและของส่วนรวม)เห็นชัดเจนโดยความรู้ลักษณะเป็นเกลียว(โนนากะโทยามะ &นากาตะ2000)
ที่สะท้อนการถามซ้าจากโดยนัยไปยังความรู้ที่ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ผ่าน4รูปแบบ ทางสังคมภายนอก
การรวมเข้าด้วยกันและภายใน
วรรณกรรมไม่ได้ตั้งข้อกาหนดมาตรฐานและโครงสร้างของการจัดการความรู้(เจนเน็กซ์
2005,โปนิส,เวจีนัส&โกโรนิส2009)ในบริษัทกระบวนการรับผิดชอบสาหรับการสร้างความรู้
อย่างไรก็ตามโครงสร้างของการจัดการความรู้ที่มากมายและส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ที่ออกมารวมอยู่
5ขั้นตอนของการจัดการความรู้ทั่วไป:
ผลที่ได้รับ,การผลิตและการสร้าง,การจัดให้เป็นระบบ,การเก็บรักษา,การแบ่งปัน,การโอน
และนาความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ นักเขียนหลายคน(ตัวอย่างดาเวนพอร์ต&พรูสัก1998,วอนกรอกฮ์1998)
สถานที่ที่ยิ่งใหญ่เน้นความสาคัญกระบวนการสร้างสรรค์ความรู้ที่สามารถสร้างและเพิ่มพูนสติปัญญาที่สาคัญยิ่ง
เพราะการสร้างความรู้สามารถระดมคนและรื้อฟื้นการจัดการความรู้ที่ขดเป็นวงด้วยการเพิ่มความรู้ที่ทันสมัย
ขณะที่การเพิ่มพูนความรู้ปรับปรุงให้ดีขึ้นดึงดูดความสนใจความสามารถของคนที่กลับอนุญาตพวกเขาทาให้ดีกว่าและผลิ
ตความรู้ให้มากขึ้น
งานวิจัยหลายชิ้นโต้แย้งว่าขั้นตอนการแบ่งปันความรู้เหมือนกับสาระสาคัญในส่วนของการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
(บุค&คิม2002,มาร์กูส2001,วาสโก&ฟาไรจ์2005)
เพราะว่าการแบ่งปันความรู้วางอยู่บนหลักของขั้นตอนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและมันเป็นตัวอย่างอันประเสริฐในสมัยข
องการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการปรับปรุงของแต่ละคนไปสู่การเรียนจริง
ในความรู้สึกนี้การแบ่งปันความรู้เป็นสิ่งที่เป็นส่วนประกอบสาคัญมากของกิจกรรมการสร้างความรู้(ดาเวนพอร์ต&พรูสัก
1998)ขั้นตอนการแบ่งปันความรู้ของแต่ละคนเปิดเผยให้เขาหรือเธอได้ทราบความชานาญเฉพาะด้าน
ความเข้าใจอย่างลึกซึ่งหรือความเข้าใจคนอื่นๆด้วยดังนั้น
ผู้รับอาจมีความสามารถที่แฝงอยู่ภายในและใช้ความรู้ปฏิบัติงานของเขาหรือเธอในทางที่ดีขึ้น การแบ่งปันความรู้เกี่ยวพัน
กับการแลกเปลี่ยนกิจกรรมระหว่างบุคคลหรือกลุ่มและชุมชนของการปฏิบัติ(วาสโก&ฟาไรจ์2005)
เครือข่ายสังคมจัดหาเว็บ2.0สามารถเสนอโอกาสมากมาที่จะทาให้มั่งคั่งและเปลี่ยนแปลงเป็นการจัดการความรู้
3.หน้ำที่ของไอซีทีในกำรสนับสนุนกระบวนกำรจัดกำรควำมรู้ :ระดับ,ผลประโยชน์และขอบเขตของกำรใช้
ไอซีทีให้เกิดประโยชน์สำหรับกำรจัดกำรควำมรู้
ไอซีทีเป็นสิ่งที่กว้างขวางยอมรับเท่าเทียมกับปัจจัยที่จาเป็นที่สามารถผลักดันกระบวนการสร้างความรู้โดยการรวบรวมคน
และแลกเปลี่ยนความรู้ (กานกานนัลลิ2005,โรดส์,ฮัง,ล๊อค,เลียน&วู2008,โรเบิร์ต2009,ยัง&วู2008)
เป็นประเพณีที่ไอซีทีจะสารวจเหมือนกับการรวมความสามารถของเทคโนโลยีและเครื่องมือ(ตัวอย่าง
อีเมล์,อินทราเน็ต,ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์,สภา) การเข้ายึด,การเก็บรักษาและการแบ่งปันความรู้
(กรอฟเวอร์&ดาเวนพอร์ต2001)
เพื่อที่ให้สามารถจัดการได้อย่างมั่นคง,บูรณะ,ทาให้กระจายและกระบวนการสารสนเทศ(สวาน,นีเวลล์&โรเบิร์ตสัน2000)
ปัจจุบันอินเตอร์เน็ตใช้เป็นสัญลักษณ์แทนความสาเร็จมากที่สุดในการเปิดระบบกลไกสารสนเทศให้กระจายให้โอกาสคนที่
จะแบ่งปันเครือข่ายการถกเถียง(รวมถึง)การสร้างความรู้และการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน(ชาลกิติ&สิกาลา2008,การ์เจอร์
&ควน2005,แวคเนอร์ &บอลโลจุ2005)
นักเขียนหลายคนวิเคราะห์การทาหน้าที่ของ
ไอซีทีในความสะดวกทั้งหมดในการกระทาที่เกิดขึ้นก่อนเพื่อจาแนกแยกแยะขบวนการจัดการความรู้ ตัวอย่างเช่น
ฐานที่ระบบสารสนเทศเข้าถึงแจ๊คสัน(2000)
กาหนดขอบเขตของการจัดการความรู้มีหน้าที่ช่วยอานวยความสะดวกและปรับปรุงการรวบรวม,องค์การ,
ได้รับการขัดเกลา,การวิเคราะห์และการเผยแพร่รูปแบบทั้งหมดของความรู้ แซค(1999)
บรรยายว่าไอซีทีขับเคลื่อนการจัดการความรู้เช่นเดียวกับกระบวนการตั้งเป้ าหมายที่จะสร้างและเผยแพร่ความรู้ให้มั่นคง
รวมทั้งกิจกรรมต่างๆเช่นการฟื้นฟูความรู้ การขัดเกลาจัดให้มีดัชนี จัดประเภท,และเป็นตัวแทน โรเซ่นเบิร์ก(2001)
เสนอการจัดการความรู้แบบปิรามิดที่รวม3ระดับของไอซีทีขับเคลื่อนกระบวนการจัดการความรู้
ระดับต่าที่สุดเป็นตัวแทนเทคโนโลยีที่สามารถจัดการกับเอกสารช่วยเหลือการรักษาและการเผยแพร่ ระดับที่2
เป็นตัวแทนกระบวนการจัดการความรู้สาหรับการสร้างสารสนเทศ
แบ่งปันและการจัดการซึ่งคนจะเก็บรักษาสารสนเทศไว้ในไอซีที
สร้างความสุขใหม่ๆและคับคั่งไปด้วยฐานความรู้สาหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ได้กลับคืนมาระดับที่3
อ้างถึงนักธุรกิจที่ฉลาดซึ่งหาไอซีทีมาให้อย่างเร่งด่วนที่มอบอานาจให้คนที่สร้างองค์การด้วย
ความรู้ความชานาญ แจ๊คสัน(2000)สนับสนุนแซค(1999)โต้แย้งว่าไอซีทีมีความสามารถระดับสูงกว่ากระบวน
การจัดการความรู้ โดยโต้แย้งว่า
ไอซีทีมีมิติหลากหลายในกระบวนการจัดการความรู้ที่สร้างความรู้ที่มีคุณค่าที่ไม่ใช่สิ่งเดียวกับกับข้อมูลหรือสารสนเทศ
แซค (1999)เห็นว่าการจัดการความรู้รูปปิรามิดมีความสาคัญ
เพราะสามารถทาให้มั่นคงเพื่อชี้และวัดระดับของไอซีทีที่ใช้ให้เกิดประโยชน์สาหรับสนับสนุนและปรับปรุงกระบวนการจัดก
ารความรู้
ความสาคัญของไอซีทีเพิ่มมากขึ้นเพื่อทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จโดยให้เหตุผลว่าตามความต้องการของธุ
รกิจที่ทาให้การจัดการความรู้ขึ้นอยู่กับความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาของมนุษย์และป้ องกันองค์การความรู้จากปัจจัยต่าง
ๆเช่น การหมุนเวียนพนักงานการท้าทายอานาจที่มีผลกระทบกับการแบ่งปันความรู้
และการสะสมความรู้(คอนเนลลี่และเคลโลเวย์2003,วอลชาม2001) อย่างไรก็ตาม
นอกเหนือจากกฎที่สาคัญยังเน้นความสาคัญความสามารถของไอซีทีที่สนับสนุนการจัดการความรู้
ผลกระทบของไอซีทีที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้คือแบบสอบถาม(โทมัส2005)
ขณะที่นักศึกษาบางคนก็แสดงการขาดความสามารถของไอซีทีต่อการสนับสนุนกระบวนการความสาเร็จของการจัดการค
วามรู้(บัมเลอร์ 2003,ชูท&โบแลนด์2000)
เหตุผลที่สนับสนุนความล้มเหลวของไอซีทีที่ช่วยเหลือกระบวนการจัดการความรู้อ้างถึงเรื่องที่เกี่ยวข้อง(สิกาลา&
ชาลกิติ2007) ขอบเขตความสามารถของไอซีทีและหน้าที่ที่จะสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้
เป็นสื่อกลางปัจจัยที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมบนเส้นทางความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ไอซีทีให้เกิดประโยชน์
การประสบความสาเร็จของการจัดการความรู้ และการประสบความสาเร็จที่มั่นคงปัจจัยเหล่านี้อาจรวมทั้ง:
การเพิกเฉยของสังคมและการอบรมลักษณะของความรู้(เช่นอานาจ)
ความไม่มั่นคงและการหมุนเวียนของลูกจ้างชั่วคราวเป็นสาเหตุให้ปัจจัยต่างๆสเยหายอย่างมากในด้านแรงงานเช่น
การหมุนเวียนของพนักงานสูง แรงงานเคลื่อนย้ายง่ายและกลยุทธการยืดหยุ่นของแรงงาน(ชาลกิติ&สิกาลา2010)
การพิจารณาความรู้
ว่าความรู้เป็นเกี่ยวกับธรรมชาติของความรู้ต่อสู้กับสิ่งธรรมดาที่เข้าใกล้กับวรรณกรรมไอเอสที่ปฏิบัติกับฐานความรู้ราวกับ
สิ่งที่มีประโยชน์
การพิจารณากับผลกระทบของไอซีทีบนการจัดการความรู้เช่นเดียวกับการคงอยู่ของพื้นฐานความรู้
งานวิจัยบางชิ้นเชื่อว่า ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถเก็บรักษาและแบ่งปันเพราะว่าเป็นธรรมชาติชัดเจน(โนนากะ1994)
ขณะที่คนอื่นๆโต้แย้งว่าความรู้เป็นสิ่งที่เงียบ(โพลานยิ1966)และเป็นผลมาจากมันไม่สามารถจับต้องผ่านไอซีที
ขึ้นอยู่กับความคิดเห็นหน้าที่การงานและความสาคัญของไอทีแตกต่างกันไปผู้วิจัยที่ชอบความเงืยบและการแบ่งเป็น2
ส่วนที่ชัดเจนของความรู้ตามธรรมชาติที่เรียกร้องว่าไอซีทีเป็นทางที่ดีเลิศสาหรับการเก็บรักษาและโอนความรู้
นี่เป็นตัวแทนธรรมดาวิธีการของไอซีทีที่ขับเคลื่อนการจัดการความรู้(สวาน&สการ์บรอท2001,สวาน2000)
ทาราวกับความรู้ราวกับสิ่งที่มีประโยชน์และรับกระบวนการสารสนเทศมาใช้เข้าใกล้การจัดการความรู้(รูท&วอนกรอฟฮ์
เพราะคิดว่าความรู้และสารสนเทศคล้ายกันมาก(เทอร์เรตต์1998)และการเรียนส่วนบุคคลจะดีกว่ากลุ่ม(คูรี่ และเคอริน
2004)อย่างไรก็ดี
ตามวิธีการนี้ขอบเขตที่สาคัญของไอซีทีในการสนับสนุนศูนย์รวมของการจัดการความรู้บนความสามารถของไอซีทีที่จับต้อ
งได้ และกระบวนการมีเพียงข้อมูลและสารสนเทศไม่ใช่ความรู้(บัทเลอร์ 2003,แมคจี &พรูสัก1993) ดังนั้น
ไอซีทีไม่สามารถช่วยเหลือกระบวนการเรียนรู้และการตัดสินใจด้วยเหตุผล (โบแลนด์1994)
ซึ่งทาให้ความน่าเชื่อถือของไอซีทีลดลงกระทบกับโครงสร้างความรู้
ที่จริงแล้วไอซีทีพิจารณาการสร้างความรู้เหมือนกับเป็นหน้าที่ของกิจกรรมและเพิกเฉย
“การสร้างสังคม,ทาให้กระจาย,และสร้างความรู้และกระบวนการที่มีเปลี่ยนแปลง”(เพนแลนด์1995หน้า2)
นี้เป็นขอบเขตของไอซีทีที่สาคัญมากกว่าราวกับขนาดของสังคมที่เป็นประโยชน์สาหรับกระบวนการสร้างความรู้ทั้งหมด
(โนนากะ&ทาเกชิ1995)
ในทางอื่น นักวิจัยที่สนับสนุนธรรมชาติของความรู้แย้งว่า
ไอซีทีที่ไม่ประสบความสาเร็จเพราะเพิกเฉยวัฒนธรรมของสังคมในเรื่องความรู้(ลีโอนาร์ด& เซ็ยซืเปอร์
1998,ทิซูกะ&วัลดิมิรุ 2001)ดังนั้น
ถึงแม้ว่าไอซีทีแสดงตัวว่าสนับสนุนความการปรับเปลี่ยนสู่ภายนอกและสิ่งที่จดบันทึกความรู้ไว้โดยเปิดเผยตามงานในหน้
าที่สร้างความรู้ (วัลซาม2001)ทั้งนี้เพราะไอซีทีช่วยอานวยความสะดวกในข้อมูลและการแบ่งปันสารสนเทศ
แต่เขาไม่เคยทาแทนสาหรับการโต้ตอบการสื่อสารและการเรียนรู้ที่เป็นธรรมชาติของการแสดงความคิดเห็น ที่จริง
ความรู้เป็นสิ่งที่รับรู้ได้ว่าสาคัญที่สุดราวกับ”หน้าที่และผลที่เกิดขึ้นของการประชุมและปฏิกิริยาของความคิดเห็น”(ฟาเฮย์
&พรูสัก1998หน้า 273)จากนี้ไปแม้ไอซีทีไม่สามารถทาแทนทั้งหมดในแนวทางของสังคมที่จะเผชิญหน้ากัน
หลายๆคนมาต่อต้านความไว้วางใจของไอซีมีที่มีศักยภาพที่จะแทนที่ในการทากิจกรรมของคน(คอนเนลลี่และเคลโลเวย์
2003)
ยิ่งกว่านั้นยังพบว่าทรัพยากรมนุษย์เป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญในการสนับสนุนกระบวนกรจัดการความรู้และความรู้ที่ไม่สามา
รถยกตัวจากวัฒนธรรมในสังคม(บราวน์&ดูกิด1991)
ไอซีทีเพียงแต่เสนอทางที่จะช่วยเหลือการกระทาของลูกจ้าง(เอ็ดวิลสัน2000,ฮัลล์2000,สคาร์บรูค2003)
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่า
ไอซีทีไม่สามารถป็นยาแก้สารพัดโรคของปัญหาการแบ่งปันความรู้แต่ก็ยอมรับว่าไอซีทีสามารถเติมสิ่งสาคัญเสริมให้ปัจจั
ยอื่นๆสามารถแบ่งปันความรู้ได้
โดยทั่วไปสามารถสรุปว่าไอซีทีสามารถกาหนดขอบเขตของการสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้
เพราะระบบงานของไอซีทีมีประเพณีที่ลดความคิดเห็นของคนในเรื่องความรู้ลง
ซึ่งรายละเอียดที่สาคัญมีระดับโดยปริยายและสังคมร่วมกันสร้างความรู้ผ่านปฏิกิริยาของคน ดังนั้น
ไอซีทีที่ใช้ให้เกิดประโยชน์เพิกเฉยประเพณีสังคม
ลักษณะที่เป็นผู้สนับสนุนของความรู้ที่กระทบน้อยที่สุดในการสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ระดับที่สูงกว่า
(แมคเดอมุท1999,โฮเดลล์&เกรย์ซัน1998)
4.เว็บ2.0
สนับสนุนกำรสนทนำและกำรทำงำนร่วมกันของกำรจัดกำรควำมรู้และร่วมกันทำงำนกำรจัดกำรควำมรู้ :
กำรจัดกำรควำมรู้ (เคเอ็ม 2.0)
เว็บ2.0ปรากฎท่าทีหลายอย่างเหนือขอบเขตของการชมเชยของการสนทนาธรรมดาเรื่องไอซีทีที่ขับเคลื่อนการจัดการความ
รู้ราวกับเครื่องมือหลากหลายของเว็บ2.0 ทาให้คิดว่าคนและประเพณีทางสังคมคือลักษณะของความรู้
โดยการเปลี่ยนแปลงการค้นหาของคนแบ่งปันและสร้างสรรค์ความรู้ เว็บ
2.0ก้าวหน้ามีความสามารถที่จะสนับสนุนเทคโนโลยีของการจัดการความรู้โดยย้ายถิ่นจากระบบค้นหาเทคโนโลยีส่วนกลา
ง
ที่กระบวนการสาคัญของสาระสนเทศในมุมของไอซีทีที่คนจะเข้าใกล้การจัดการความรู้ที่จะปรับปรุงและเน้นการสนทนาแ
ละการทางานร่วมกันของการจัดการความรู้ ดังนั้นการวิจัยกล่าวถึงการจัดการความรู้ 2.0ว่า(แมคคินเซ2007)
คุณลักษณะตามความต้องการที่ค้นพบและมีส่วนร่วมในเครือข่ายของสังคมและชุมชนของความรู้ที่สามารถตามความต้อง
การส่วนบุคคลร่วมสร้างสรรค์และแบ่งเป็นสติปัญญาที่เป็นเลิศของส่วนรวม
เว็บ
2.0อนุญาตให้แต่ละคนทาหน้าที่การงานที่กระตือรือร้นในความรู้ที่ร่วมกันสร้างโดยโดยสนับสนุนและโต้เถียงรายละเอียดกั
บผู้อื่นผ่านารสนทนาและการทางานร่วมกัน(โจนาสเซน2000)เช่นรูปแบบการแสดงความคิดเห็น
วิกิส์และเว็บล๊อคเป็นการพูดคุยทางเทคโนโลยีสามารถสร้างความรู้และแบ่งปัน(แวกเนอร์ &บอลโลจุ2005)
การแสดงความคิดเห็น

More Related Content

Viewers also liked

вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...
вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...
вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...Иван Иванов
 
Палитра на цветните лъчи на светлината
Палитра на цветните лъчи на светлинатаПалитра на цветните лъчи на светлината
Палитра на цветните лъчи на светлинатаНадка Данкова
 
Hat giong tam hon 2
Hat giong tam hon 2Hat giong tam hon 2
Hat giong tam hon 2Đặng Vui
 
Artibel belgelendi̇rme
Artibel belgelendi̇rmeArtibel belgelendi̇rme
Artibel belgelendi̇rmeFatih Yigit
 
Romería cristo del romeral
Romería cristo del romeralRomería cristo del romeral
Romería cristo del romeralPia de Arcos
 
Патент на полезную модель Республики Беларусь
Патент на полезную модель Республики БеларусьПатент на полезную модель Республики Беларусь
Патент на полезную модель Республики БеларусьИван Иванов
 
sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)
sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)
sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)Sara Elmehy
 
Animals on the farm
Animals on the farmAnimals on the farm
Animals on the farmIsabelC26
 
Glidden Paint Campaign Book
Glidden Paint Campaign BookGlidden Paint Campaign Book
Glidden Paint Campaign BookSarah Lombard
 

Viewers also liked (13)

PDF 3
PDF 3PDF 3
PDF 3
 
лингвистика №1 2005
лингвистика №1 2005лингвистика №1 2005
лингвистика №1 2005
 
вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...
вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...
вестник южно уральского-государственного_университета._серия_математика._меха...
 
Палитра на цветните лъчи на светлината
Палитра на цветните лъчи на светлинатаПалитра на цветните лъчи на светлината
Палитра на цветните лъчи на светлината
 
Проверочная работа
Проверочная работаПроверочная работа
Проверочная работа
 
Hat giong tam hon 2
Hat giong tam hon 2Hat giong tam hon 2
Hat giong tam hon 2
 
menu
menumenu
menu
 
Artibel belgelendi̇rme
Artibel belgelendi̇rmeArtibel belgelendi̇rme
Artibel belgelendi̇rme
 
Romería cristo del romeral
Romería cristo del romeralRomería cristo del romeral
Romería cristo del romeral
 
Патент на полезную модель Республики Беларусь
Патент на полезную модель Республики БеларусьПатент на полезную модель Республики Беларусь
Патент на полезную модель Республики Беларусь
 
sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)
sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)
sara Ibrahiem Ibrahiem El Mehy(1)
 
Animals on the farm
Animals on the farmAnimals on the farm
Animals on the farm
 
Glidden Paint Campaign Book
Glidden Paint Campaign BookGlidden Paint Campaign Book
Glidden Paint Campaign Book
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 

คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์