SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
๑
บทนำ
1.แนวคิดเรื่องการท่องเที่ยว
 การท่องเที่ยวประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ
ของบุคคลที่เดินทางและพักอาศัยในสถานที่อื่นที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัยปกติเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ เพื่อธุรกิจและเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ
เป็นเวลาติดต่อกันไม่เกิน1ปี
 การใช้แนวคิดแบบกว้างนี้ทาให้เกิดความเป็นไปได้ในการวินิจฉัยเพื่อจาแนกการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
และการท่องเที่ยวภายในประเทศ“การท่องเที่ยว”เกี่ยวข้องถึงกิจกรรมทั้งหมดของ“ผู้เยี่ยมเยือนรวมไปถึง“นักท่องเที่ยว
(ผู้เยี่ยมเยือนแบบค้างคืนและ“นักทัศนาจร(ผู้มาเยือนและจากสถานที่นั้นไปภายในวันเดียวกัน
2.รูปแบบของการท่องเที่ยว รูปแบบของการท่องเที่ยวแบ่งได้ดังต่อไปนี้:
การท่องเที่ยวภายในประเทศหมายถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ
การท่องเที่ยวขาเข้าหมายถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักในต่างประเทศและเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในอีกประเทศหนึ่ง
การท่องเที่ยวขาออกหมายถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางออกไปยังประเทศอื่น
 รูปแบบเดียวกันของการท่องเที่ยวอาจจะอธิบายได้โดยการแทนที่คาว่า “ประเทศ”ด้วยคาว่า “ภูมิภาค”
ในกรณีนี้รูปแบบการท่องเที่ยวเหล่านี้จะไม่ได้หมายความถึงประเทศอีกต่อไปแต่จะเป็นภูมิภาคแทน คาว่า “ภูมิภาค”
อาจจะหมายความถึงพื้นที่ภายในประเทศนั้นหรือกลุ่มประเทศซึ่งรวมเป็นภูมิภาค
 รูปแบบพื้นฐาน 3 ประเภทของการท่องเที่ยว
สามารถนามาผสมความหมายรวมกันได้หลายวิธีเพื่อที่จะก่อให้เกิดการแตกแขนงประเภทการท่องเที่ยวดังต่อไปนี้
การท่องเที่ยวในประเทศประกอบด้วยการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวขาเข้า
การท่องเที่ยวระดับชาติประกอบด้วยการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวขาออก
การท่องเที่ยวระหว่างประเทศประกอบด้วยการท่องเที่ยวขาเข้าและการท่องเที่ยวขาออก
คาว่า“ภายในประเทศ”ในบริบทของการท่องเที่ยวได้สงวนเอาความหมายแฝงของ
การตลาดดั้งเดิมเอาไว้อันหมายความไปถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของตนเอง
ทาให้มีความหมายผนวกรวมทั้งการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวขาเข้า
3.หน่วยพื้นฐานของการท่องเที่ยว
หน่วยพื้นฐานของการท่องเที่ยวมีความหมายถึงปัจเจกบุคคลหรือครอบครัวผู้ซึ่งเป็นประชากรของกิจกรรมการท่องเที่ยวต่างๆ
และสามารถนามาใช้ในการสารวจในฐานะที่เป็นหน่วยสถิติ
(ถึงอย่างไรก็ตามแนวคิดของหน่วยสถิติอาจมีความหมายในขอบเขตที่กว้างกว่ากันหรือแตกต่างกันดังเช่นหน่วยที่ใช้ในการศึกษา
จานวนประชากรที่ใช้ในการศึกษาการประมวลผลการวิเคราะห์)แนวความคิดทั้งหมดของผู้เดินทาง
หมายถึงบุคคลใดก็ตามที่เดินทางระหว่างประเทศสองประเทศหรือมากกว่านั้นหรือเดินทางระหว่างสถานที่สองแห่งหรือมากกว่านั้นภายใน
ประเทศที่ผู้เดินทางนั้นพานักอาศัยอยู่
 ผู้เดินทางระหว่างประเทศหมายถึงบุคคลใดก็ตามที่เดินทางออกนอกประเทศที่ตนพานักอาศัยอยู่
(โดยไม่คานึงถึงวัตถุประสงค์และวิธีการในการเดินทางถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะเดินทางด้วยการเดินเท้าก็ตาม)
๒
 ผู้เดินทางภายในประเทศหมายถึงบุคคลใดก็ตามที่เดินทางภายในประเทศที่ตนพานักอาศัยอยู่
(โดยไม่คานึงถึงวัตถุประสงค์และวิธีการในการเดินทางถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะเดินทางด้วยการเดินเท้าก็ตาม)
ความแตกต่างระหว่างประเภทของผู้เดินทางซึ่งแบ่งออกกว้างๆได้เป็น2 ประเภทอันได้แก่
-ผู้มาเยือน
-ผู้เดินทางประเภทอื่น
ผู้เดินทางทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวก็คือผู้มาเยือนโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
นักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือนแบบค้างคืน
นักทัศนาจร(ผู้ที่มาเยือนและจากสถานที่นั้นไปภายในวันเดียวกัน
สาหรับวัตถุประสงค์ของสถิติการท่องเที่ยวคาว่า “ผู้มาเยือนคือบุคคลใดก็ตามที่เดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังสถานที่อื่นไม่เกิน 1ปี
และมีวัตถุประสงค์หลักของการเดินทางที่นอกเหนือไปจากการประกอบอาชีพหรือหารายได้ภายในสถานที่ที่บุคคลนั้นเดินทางไปเยี่ยมเยือ
น
บรรทัดฐานที่สาคัญ3ประการที่มีรายละเอียดชัดแจ้งเพื่อใช้ในการจาแนกผู้มาเยือนออกจากผู้เดินทางประเภทอื่นได้แก่
การเดินทางจะต้องเป็นการเดินทางไปยังสถานที่ที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัยปกติ
และไม่นับรวมการเดินทางประจาไปยังที่ทางานหรือสถานการศึกษาและที่อยู่ภูมิลาเนาของบุคคลนั้นๆ
การพักค้างคืนในสถานที่ที่ไปเยี่ยมเยือนนั้นติดต่อกันได้ไม่เกิน1ปี
ถ้าผู้มาเยือนพักค้างคืนในสถานที่นั้นเกินระยะเวลาที่กาหนดจะกลายเป็นผู้ที่มีถิ่นพานักอยู่ในสถานที่ที่ไปเยือน
วัตถุประสงค์หลักของการเดินทางไปเยี่ยมเยือนสถานที่นั้นต้องนอกเหนือไปจากการประกอบอาชีพหรือหารายได้ภายในสถานที่นั้น
ซึ่งจะไม่นับรวมการเคลื่อนไหลของผู้ย้ายถิ่นเพื่อเดินทางไปทางาน
4.ประเภทของสถานพักแรมหมายถึงสถานที่ที่นักเดินทางใช้พักระหว่างเดินทางจาแนกตามลักษณะการใช้บริการ
1.โรงแรมคือ ที่พักแรมที่สร้างขึ้นเฉพาะและแบ่งเป็นห้องพักมีสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักเดินทางและเก็บค่าเช่าเป็นรายห้อง
2. เกสท์เฮ้าส์ คือ บ้านที่ดัดแปลงหรือสร้างขึ้นและแบ่งห้องเป็นที่พักแรมโดยเก็บค่าเช่า
3. บังกาโล คือ ที่พักแรมที่กลุ่มบุคคลหรือสถาบันจัดไว้เพื่อให้นักท่องเที่ยวโดยเก็บค่าเช่า
4. รีสอร์ท คือ ที่พักที่มีลักษณะห้องพักเป็นหลังๆมีบริเวณแวดล้อมด้วยธรรมชาติ
5. บ้านรับรอง คือ ที่พักหน่วยราชการ บริษัท หรือเอกชนจัดไว้เพื่อใช้รับรองหรือพักผ่อน โดยไม่เก็บค่าเช่าเช่น
5.1บ้านรับรองของหน่วยราชการหมายถึงที่พักที่หน่วยราชการจัดสร้างไว้ในจังหวัดต่างๆ
เพื่อใช้รับรองแขกของทางราชการหรือผู้เกี่ยวข้องเข้าพัก สถานที่พักในลักษณะนี้มักจะไม่ต้องเสียค่าเช่า
5.2 บ้านรับรองของบริษัทเอกชนหมายถึงที่พักที่บริษัทเอกชนได้จัดสร้างไว้ในจังหวัดต่างๆ
เพื่อรับรองหรือให้พนักงานของบริษัทที่เดินทางไปจังหวัดนั้นๆได้ใช้เป็นสวัสดิการของบริษัท
6. บ้านญาติหรือบ้านเพื่อนคือบ้านญาติมิตรของนักท่องเที่ยวที่จัดให้เป็นที่พักแรมโดยไม่เก็บค่าเช่า
7. โมเต็ล คือ ที่พักที่สร้างขึ้นเฉพาะโดยเก็บค่าเช่ามีห้องพักแต่ละห้อง
หรือมีห้องพักส่วนหนึ่งที่มีลักษณะและการใช้สอยเช่นเดียวกับโรงแรม
แต่เนื่องจากลักษณะการใช้ห้องพักประเภทนี้ในประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ใช่เพื่อการท่องเที่ยว
ดังนั้นในการรวบรวมข้อมูลสถานพักแรมจึงไม่นับรวมห้องพักประเภทนี้รวมอยู่ในห้องพักสาหรับนักท่องเที่ยว
๓
8. ที่พักของหน่วยราชการณแหล่งท่องเที่ยวหมายถึงที่พักของหน่วยราชการต่างๆที่ตั้งอยู่ณ
สถานที่ทาการของหน่วยราชการซึ่งอยู่ในบริเวณแหล่งท่องเที่ยวนั้นเพื่อไว้บริการนักท่องเที่ยวได้เข้าพัก
โดยการจะเข้าพักแต่ละครั้งจะต้องติดต่อกับหน่วยงานเจ้าของสังกัดก่อนเช่นที่พักของอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ และเขื่อนต่างๆ
ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตและของกรมชลประทาน เป็นต้น
9. ที่พักอื่นๆเช่น
-วัด หมายถึงสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนาซึ่งได้จัดบริเวณส่วนหนึ่งให้เป็นที่พักสาหรับผู้เดินทาง และบริการโดยไม่คิดค่าเช่า
นอกจากผู้เข้าพักจะทาบุญถวายวัดตามกาลังศรัทธา
- หอพักเยาวชนหมายถึงที่พักที่กลุ่มบุคคลจัดไว้เพื่อสมาชิกของกลุ่มมาใช้บริการโดยเสียค่าเช่าในอัตราประหยัด
และเปิดให้บุคคลภายนอกมาใช้บริการได้ เช่นYMCA เป็นต้น
5.ประเภทของพาหนะที่ใช้ในการเดินทาง
เครื่องบิน
รถไฟ
รถโดยสารประจาทาง คือรถที่ใช้ขนส่งผู้โดยสารตามเส้นทางที่กาหนดคิดค่าบริการเป็นรายบุคคลและมีที่นั่งเกินกว่า 7คนขึ้นไป
ทั้งที่มีเครื่องปรับอากาศและไม่มีเครื่องปรับอากาศ
รถบริการนาเที่ยว คือรถที่ใช้บริการท่องเที่ยวซึ่งจัดกาหนดการไว้ล่วงหน้ามีการเก็บค่าบริการเป็นรายบุคคลในลักษณะเหมาจ่าย
และมีที่นั่งเกินกว่า7คนขึ้นไป
รถยนต์ส่วนบุคคล คือรถยนต์ส่วนตัวของนักเดินทาง หรือรถยนต์ของหน่วยราชการหรือเอกชนที่นักเดินทางใช้โดยไม่มีอัตราค่าบริการ
มีขนาดและลักษณะใดก็ได้
พาหนะอื่นๆที่ใช้ในการเดินทางทางน้าและทางทะเล หมายถึงพาหนะที่นักท่องเที่ยว
ใช้ในการข้ามฟากไปยังแหล่งท่องเที่ยวอีกแหล่งหนึ่งที่อยู่นอกพื้นดินได้แก่ เรือนาเที่ยวเรือสาราญเรือเช่าโดยสารทางน้า
เรือโดยสารตามชายฝั่งทะเลและข้ามมหาสมุทรแบบมีตารางและไม่ตารางเวลาเช่นเรือเฟอร์รี่ เรือเรือเหมาลา
6.หมวดค่าใช้จ่าย จาแนกเป็นหมวดค่าใช้จ่ายหลัก7หมวดดังต่อไปนี้
1. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าที่พักเช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเป็นค่าเช่า/ค่าบริการโรงแรมเกสท์เฮาส์ รีสอร์ท/บังกะโลที่พักอุทยาน
ค่าบารุงวัด(กรณีพักวัด)อื่นๆ
2. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าอาหาร/เครื่องดื่มรวมค่าอาหาร/เครื่องดื่มทุกรายการที่จ่ายระหว่างท่องเที่ยวในจังหวัดที่เดินทางไป
3. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าบริการท่องเที่ยวในพื้นที่เช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อเป็นค่าบริการนาเที่ยวโดยตรง(ค่าไกด์)
ค่าผ่านประตูเพื่อเข้าชมพิพิธภัณฑ์อุทยานสวนสัตว์โบราณสถานเป็นต้น
4. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าพาหนะเดินทางในพื้นที่ เช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อเป็นค่าเดินทางระหว่างท่องเที่ยวภายในจังหวัดเช่นรถไฟ
ค่ารถโดยสารประทางในจังหวัดTaxi ตุ๊กตุ๊กสามล้อรถม้าเรือโดยสารเรือข้ามฟากรถเช่าเป็นต้นซึ่งไม่รวมค่าโดยสารระหว่างจังหวัด
5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าซื้อสินค้าและของที่ระลึกเช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อซื้อสินค้าทั้งสินค้าอุปโภค/บริโภค
เพื่อกลับไปยังถิ่นที่อยู่ถาวรของตนแต่ต้องไม่ใช้เพื่อนากลับไปขายต่อเช่นสินค้าประเภทอัญมณี เสื้อผ้าสาเร็จรูป ผ้าไหม
สินค้าประเภทเบรนเนมหรือเครื่องหนังเป็นต้น
๔
6. ค่าใช้จ่ายทางด้านความบันเทิงเช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเองเพื่อความสาราญ/บันเทิงเช่น
ค่าบริการเชิงสุขภาพกอล์ฟดาน้าล่องแก่งกีฬาต่างๆการชมการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม/การแสดงสินค้า
ค่าเช่าอุปกรณ์กีฬาบางชนิดเช่นเจ็ตสกี บานาโบ๊ตเป็นต้น
7. ค่าใช้จ่ายอื่นๆเช่นค่าทาบุญค่ารักษาพยาบาลค่าฟิล์มเป็นต้น
ระยะเวลาพานักเฉลี่ย คือ จานวนคืนพักที่นักท่องเที่ยวพักระหว่างเดินทางไปท่องเที่ยวในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งเช่นนายก
เดินทางจากกรุงเทพไปท่องเที่ยวในจังหวัดขอนแก่น3คืนโดยพักโรงแรม2คืน พักบ้านญาติ/เพื่อน1 คืนเป็นต้น
7.ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ
 สารวจข้อมูลด้านสถานพักแรม
ในการดาเนินการรวบรวมข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าพักแรมในสถานประกอบการประเภท โรงแรมเกสท์เฮ้าส์รีสอร์ท
บังกะโลนั้นเป็นการดาเนินงานของททท.ภูมิภาคในการจัดส่งส่งแบบสอบถาม
ขอความร่วมมือไปยังสถานประกอบการพักแรมสาหรับนักท่องเที่ยวทุกประเภทยกเว้นสถานประกอบการประเภทชั่วคราว(ม่านรูด)
ห้องพักที่ให้เช่ารายเดือนหรือห้องพักที่เปิดบริการสาหรับSalemanเพื่อสารวจจานวนผู้เข้าพักแรมรายสัญชาติระยะเวลาพานักเฉลี่ย
คนพักต่อห้อง จานวนห้องพักที่ขายได้ในแต่ละเดือนโดยในแต่จังหวัดจะมีประเภทของสถานพักแรมแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับการกระจายตัวของแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักแรม โดยการรวบรวมจานวนคนเข้าพักแรมรายสัญชาติ
อัตราการเข้าพักเฉลี่ยระยะพานักเฉลี่ยหรือคืนพักเฉลี่ยจานวนคนพักต่อห้องในสถานพักแรมเป็นรายเดือนหรือ รายไตรมาสนั้น
ตามแบบสอบถาม
อัตราการเข้าพักเฉลี่ยหรือร้อยละของจานวนห้องพักที่ขายได้ในแต่ละเดือนเทียบกับจานวนห้องทั้งหมด
อัตราการเข้าพักเฉลี่ยต่อเดือน = จานวนห้องพักที่ขายได้ในเดือนนั้นx100
จานวนวันxจานวนห้องพักทั้งหมด
ห้องพักที่ขายได้ คือจานวนห้องพักของสถานพักแรมที่ขายให้กับผู้เข้าพักแรม
หรับหลักการแบ่งกลุ่มโรงแรมเพื่อการท่องเที่ยวนั้น ททท.
ได้กาหนดการแบ่งตามระดับราคาห้องพักโดยพิจารณาจากราคาประกาศขายต่าสุด
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการวิเคราะห์สถานการณ์และการวางแผนการตลาดเท่านั้นซึ่งสามารถจัดกลุ่มได้ดังนี้
กลุ่ม1 :ราคาตั้งแต่ 2,500 บาทขึ้นไป กลุ่ม2 :ราคาตั้งแต่ 1,500 - 2,499 บาท
กลุ่ม3 :ราคาตั้งแต่ 1,000 - 1,499 บาท กลุ่ม4 :ราคาตั้งแต่ 500- 999 บาท
กลุ่ม5 :ราคาต่ากว่า 500 บาท
ระยะเวลาพานักเฉลี่ยในสถานพักแรม(Stay) คือจานวนคืนพักที่ผู้เข้าพักแรมคนหนึ่งใช้บริการในโรงแรมนั้นแต่ละครั้ง
คนพักต่อห้อง(Person/Room:P/R) คือจานวนคนเฉลี่ยที่ใช้บริการห้องพักห้องใดห้องหนึ่งแต่ละครั้ง
หรือห้องพักห้องหนึ่งมีคนเข้าพักเฉลี่ยกี่
Pop(GroupN)= {RoomN * ORN * P/RN * จานวนวันในเดือนนั้น}
(StayN * 100)
8.การประมาณจานวนนักท่องเที่ยวนักทัศนาจร ตามประเภทพาหนะเดินทาง
๕
8.1 การประมาณนักท่องเที่ยว
ขั้นตอนนี้เป็นการดาเนินการสารวจข้อมูลจากผู้ที่เดินทางเข้าไปในแต่ละจังหวัดโดยการสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวโดยตรง
ตามจุดการเดินทาง3จุดคือจุดท่องเที่ยวจุดเดินทางออก(รถไฟเครื่องบินบขส. ท่าเรือ)และจุดพักแรม ประมาณเดือนละ200-400
ตัวอย่างเพื่อทราบพฤติกรรมการเดินทางของผู้เยี่ยมเยือนรายจังหวัด(ตัวอย่างแบบสอบถามแนบ2)
และนาสัดส่วนที่ได้มาประมาณการจานวนการเดินทางตามประเภทของพาหนะ(Pop)รวมทั้งเพื่อศึกษาโครงสร้างทั่วไป
ลักษณะการเดินทางการใช้จ่ายเฉลี่ยวันพักหลังจากนั้นจึงทาการประมาณจานวนผู้เยี่ยมเยือนดังนี้
1. เป็นการหาจานวนการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและ ชาวต่างประเทศ
ที่เดินทางไปเยือนในแต่ละพื้นที่ศึกษา โดยใช้แบบสอบถามณ จุดพักแรมสารวจทุกเดือนทั้งช่วงวันหยุดและวันธรรมดา
จากแบบสอบถามณ จุดพักแรมเราจะถามนักท่องเที่ยวว่าท่านเดินทางเข้ามาจังหวัดนี้โดยพาหนะประเภทใด
หลังจากนั้นจึงนาจานวนนักท่องเที่ยวที่พักในสถานพักแรมทั้งหมด
2. ประมาณจานวนนักท่องเที่ยวที่พักแรมอื่นๆคือกลุ่มที่พักแรมตามบ้านญาติ/เพื่อนบ้านพักอุทยานบ้านรับรองและอื่นๆนั้น
จะใช้แบบสอบถามนักท่องเที่ยว(ค้างคืน)จากจุดท่องเที่ยว/จุดเดินทางออก
ซึ่งจะถามนักท่องเที่ยวท่านเดินทางเข้าจังหวัดนี้ด้วยพาหนะประเภทใดและพักแรมที่ไหน
เนื่องจากเราไม่มีจานวนนักท่องเที่ยวที่รวบรวมได้จริงของกลุ่มนี้จึงต้องมีการประมาณการเทียบค่าจากนักท่องเที่ยวที่พักแรมในสถานพักแ
รม/ตามพาหนะต่างๆ(สาหรับกลุ่มที่เดินทางมากับบริษัทนาเที่ยวนั้นส่วนใหญ่จะเป็นการพักแรมใน โรงแรม
พาหนะที่ใช้ในการเดินทางส่วนใหญ่เป็นรถส่วนตัว(รถของบริษัททัวร์)เครื่องบินรถไฟ)
8.2 การประมาณจานวนนักทัศนาจร
การประมาณจานวนนักทัศนาจรนั้นเราจะพิจารณาจากประเภทของพาหนะที่นักทัศนาจรใช้ในการเดินทาง
ซึ่งสารวจจากผู้เยี่ยมเยือนที่ไม่มีการค้างคืน(นักทัศนาจร)ณจุดเดินทางออก/จุดท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวที่เดินทางไป
โดยถามว่าท่านเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวครั้งนี้เดินทางเข้ามาโดยวิธีใด
9.ประมาณจานวนรายได้จากการท่องเที่ยว
เป็นขั้นตอนสุดท้ายเพื่อหาคานวณหารายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยวในแต่ละแหล่งท่องเที่ยว
โดยในทางปฎิบัติเราไม่สามารถหารายได้จากการท่องเที่ยวได้โดยตรงเราจึงจาเป็นต้องหาจากการใช้จ่ายของ
นักท่องเที่ยวแต่ละคนย้อนกลับไปจากค่าใช้จ่ายแต่ละหมวดที่นักท่องเที่ยวนักทัศนาจรใช้จ่ายในแหล่งท่องเที่ยวต่อคนต่อวัน
โดยกลุ่มที่จัดการเดินทางเองนั้นเราสามารถสอบถามที่จุดเดินทางออก/จุดท่องเที่ยวเฉลี่ยเป็นต่อคนต่อวันได้ทันที
ขณะกลุ่มที่เดินทางมากับบริษัทนาเที่ยวนั้นผู้เยี่ยมเยือนจะตอบได้เฉพาะว่าซื้อทัวร์มาท่องเที่ยวจังหวัดนี้กับบริษัทนาเที่ยวนี้เป็นจานวนเงิน
จานวนหนึ่งเท่านั้นจึงต้องมีการเช็คข้อมูลในหมวดค่าที่พัก
ค่าบริการนาเที่ยวและค่าพาหนะเดินทางกลับไปยังบริษัทนาเที่ยวอีกรอบว่าคิดค่าใช้จ่ายแต่ละหมวดอย่างไร
ขณะที่ค่าใช้จ่ายหมวดอื่นนั้นนักท่องเที่ยวจะเป็นผู้จ่ายเองนอกเหนือจากค่าทัวร์หลังจากนั้นจึงคานวณหารายได้จากการท่องเที่ยวดังนี้
รายได้จากนักท่องเที่ยว=จานวนนักท่องเที่ยว*วันพัก* ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อวัน
รายได้จากนักทัศนาจร=จานวนนักทัศนาจร*ค่าใช้จ่ายต่อคน
รายได้ของผู้เยี่ยมเยือน=รายได้จากนักท่องเที่ยว+รายได้จากนักทัศนาจร
*****************************************
๖
การท่องเที่ยว
ภาพรวมของการท่องเที่ยว:ความหมายของการท่องเที่ยว
การท องเที่ยวหมายถึงการเดินทางเพื่อผ อนคลายความเครียดแสวงหาประสบการณ แปลกใหม โดยมีเงื่อนไขว าการ
เดินทางนั้นเป นการเดินทางเพียงชั่วคราวผู เดินทางจะต องไม ถูกบังคับให เดินทาง
ประเภทของการท่องเที่ยวแบ่งออกได้เป็น3ประเภทหลักคือ
1. การท่องเที่ยวเพื่อความเพลิดเพลินและการพักผ่อน:หลีกหนีความจาเจจากสภาพชีวิตประจาวัน
2. การท่องเทียวเพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ:เพื่อร่วมประชุมสัมมนาเจรจาธุรกิจ(เป็นส่วนหนึ่งของงาน)
3. การท่องเทียวเพื่อความสนใจพิเศษ:เป็นการเที่ยวเฉพาะกลุ่มทีมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเช่นการ
ท่องเทียวเชิงนิเวศเชิงศิลปวัฒนธรรมเชิงกีฬาความสาคัญของการท่องเที่ยว
1. ความสาคัญต่อเศรษฐกิจ:สร้างรายได้ กระจายรายได้และสร้างงาน
2. ความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม:ได้มีโอกาสสัมผัสเรียนรู้ แลกเปลียนวัฒนธรรมก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
3. ความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม:เกิดกระแสการรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นตระหนักถึงความสาคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์นโยบายรัฐบาล:ขับเคลื่อนเศรษฐกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภทการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยแบ่งตามความสาคัญและสภาพแวดล้อมได้ 12 ประเภทดังนี้
1. แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มีลักษณะทางธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น
โดยอาจมีเรื่องราวทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องโดยการจัดการการท่องเที่ยวในแหล่งนั้นจะต้อง
มีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศนั้น
มีการจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่นเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดจิตสานึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน
2. แหล่งท่องเที่ยวทางศิลปะวิทยาการหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวหรือกิจกรรมที่สามารถตอบสนองความสนใจพิเศษของนักท่องเที่ยว
ซึ่งมีรูปแบบของการท่องเที่ยวที่ชัดเจนเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวแบบใหม่ที่เกิดขึ้นแหล่งท่องเที่ยว
ประเภทนี้สามารถเพิ่มเติมได้อีกมากมายตามความนิยมของคนในแต่ละยุคสมัยเมื่อมีการระบุชัดว่ากิจกรรมนั้นๆ
สามารถให้ความรู้และดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ ปัจจุบันมีปรากฏอยู่หลายๆแห่งตัวอย่างเช่นพิพิธภัณฑ์เฉพาะทาง
แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีและ MICE (Meeting &Incentives &Conventions &
Exhibitions)เป็นต้น
3. แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์หมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสาคัญและคุณค่าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและศาสนา
รวมถึงสถานที่หรืออาคารสิ่งก่อสร้างที่มีอายุเก่าแก่หรือเคยมีเหตุการณ์ สาคัญเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ เช่นโบราณสถาน
อุทยานประวัติศาสตร์ ชุมชนโบราณกาแพงเมืองคูเมืองพิพิธภัณฑ์วัดศาสนสถาน
และสิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าทางศิลปะและสถาปัตยกรรม
4. แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ:หมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยวโดยมีทรัพยากรธรรม
ชาติเป็นสิ่งดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือนซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้อาจจะเป็นความงดงามตามสภาพธรรมชาติความ
แปลกตาของสภาพธรรมชาติสัณฐานที่สาคัญทางธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์หรือเป็นสัญลักษณ์ ของท้องถิ่นนั้นๆ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษหรือสภาพแวดล้อมที่มีคุณค่าทางวิชาการก็ได้
๗
5. แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการพักผ่อนและเสริมสร้างสุขภาพ
ให้ความสนุกสนานรื่นรมบันเทิงและการศึกษาหาความรู้ แม้ไม่มีความสาคัญในแง่ประวัติศาสตร์ โบราณคดีศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมแต่มีลักษณะเป็นแหล่งท่องเที่ยวร่วมสมัยตัวอย่างเช่นย่านบันเทิงหรือสถานบันเทิงสวนสัตว์
สวนสนุกและสวนสาธารณะลักษณะพิเศษสวนสาธารณะและสนามกีฬา
6แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าทาง
ศิลปะและขนบธรรมเนียมประเพณีที่บรรพบุรุษได้สร้างสมและถ่ายทอดเป็นมรดกสืบทอดกันมาแหล่งท่องเที่ยวประเภทนี้ประกอบด้วย
งานประเพณี วิถีชีวิตความ
เป็นอยู่ของผู้คนการแสดงศิลปวัฒนธรรมสินค้าพื้นเมืองการแต่งกายภาษาชนเผ่าเป็นต้น
ตัวอย่างของแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศไทยในประเภทนี้ได้แก่ตลาดน้าดาเนินสะดวกงานแสดงของช้างจังหวัดสุรินทร์
งานร่มบ่อสร้างประเพณีลอยกระทงประเพณีสงกรานต์เป็นต้น
7. แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพน้าพุร้อนธรรมชาติ:ในการจัดทาเกณฑ์มาตรฐานสาหรับแหล่งท่องเที่ยวน้าพุร้อนธรรมชาติ
มีจุดประสงค์เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวประเภทน้าพุร้อนธรรมชาติอย่างชัดเจน
โดยเน้นในด้านการกาหนดมาตรฐานที่จาเป็นสาหรับการบริการต่างๆ
เนื่องจากการท่องเที่ยวประเภทนี้จะต้องคานึงถึงด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวเป็นสาคัญและต้องไม่ส่งผลกระทบต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมเนื่องจากน้าพุร้อนจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติประเภทหนึ่งซึ่งหากไม่มีการกาหนดมาตรฐานที่ชัดเจน
การดาเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวใดๆอาจส่งผลกระทบต่อแหล่งน้าพุร้อนธรรมชาติได้ นอกจากนี้
การจัดทาเกณฑ์มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพน้าพุร้อนธรรมชาติ
ยังมีเป้ าหมายเพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลแหล่งท่องเที่ยวได้นาไปใช้ เป็น
เครื่องมือในการตรวจสอบมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวของตนและยังสามารถใช้เป็นข้อมูลที่สาคัญเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ของนักท่องเที่ยวรวมทั้งเป็นการเพิ่มมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
น้าพุร้อนธรรมชาติของประเทศไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
8. แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาดหมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว
โดยมีชายหาดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลินและนันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับ
ธรรมชาติและอาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาหาความรู้เข้าไปด้วยซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นบริเวณชายหาดได้แก่ การเล่นน้า
การอาบแดดกีฬาทางน้าการนั่งพักผ่อนรับประทานอาหาเป็นต้น
9. แหล่งท่องเที่ยวประเภทน้าตก:สถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยวโดยมีน้าตกเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลินและนันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติและ
อาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาหาความรู้เข้าไปด้วยซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในแหล่งน้าตกได้แก่ การว่ายน้าการนั่งพักผ่อน
รับประทานอาหารการเดินสารวจน้าตกการล่องแก่งการดูนกและการตกปลาเป็นต้น
10.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทถ้า:แหล่งท่องเที่ยวประเภทถ้าหมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว
โดยมีถ้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลินและ
๘
นันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับ
ธรรมชาติและอาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาหาความรู้เข้าไปด้วยซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยวประเภทถ้าได้แก่
การเข้าชมบรรยากาศและหินงอกหินย้อยภายในถ้า การศึกษาด้านโบราณคดีของมนุษย์ยุคต่างๆ
ที่เคยอาศัยในถ้าการนมัสการพระพุทธรูปการให้อาหารสัตว์การปิกนิกและรับประทานอาหารเป็นต้น
11.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทเกาะการประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวประเภทเกาะสามารถแบ่งได้เป็น3องค์ประกอบ
ซึ่งมีจานวนตัวชี้วัดทั้งหมด47ตัวชี้วัดโดยแต่ละตัวชี้วัดมีค่าคะแนนสูงสุดเท่ากับ5คะแนนจึงมีค่าคะแนนรวมทั้งสิ้น235คะแนน
โดยการให้คะแนนจะให้ความสาคัญกับองค์ประกอบคุณค่าด้านการท่องเที่ยวและ
ความเสี่ยงต่อการถูกทาลายมากที่สุดเนื่องจากเป็นแรงดึงดูดใจสาคัญสาหรับให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวชมแหล่งท่องเที่ยว
ส่วนองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการมีความสาคัญของคะแนนรองลงมาและองค์ประกอบด้านศักยภาพในการพัฒนาด้านการท่องเที่ย
วมีความสาคัญของคะแนนน้อยที่สุด
12.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทแก่ง:แหล่งท่องเที่ยวประเภทแก่งหมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว
โดยมีแก่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือน
และมีวัตถุประสงค์เพื่อควาเพลิดเพลินและนันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติโดยมีกิจกรรมการท่องเที่ยวหลักได้แก่
การล่องแก่งการพายเรือการพักแรมและการเดินป่าซึ่งอาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาธรรมชาติเข้าไปด้วยได้แก่การดูนก
การสารวจธรรมชาติการศึกษาพันธุ์พืชต่างๆเป็นต้น
ประโยชน์จากการท่องเที่ยว
คนท้องถิ่นได้รับประโยชน์จากการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวการส่งเสริมท่องเที่ยวช่วยให้เกิดการพัฒนาบริการและ
สิ่งอานวยความสะดวกใหม่ให้กับชุมชนรวมทั้งนาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าสู่ชุมชนประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาการท่องเที่ยวอาทิ
การยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการปรับปรุงระบบสาธราณสุขและการขนส่งการมีแหล่งสันทนาการและการกีฬาแห่งใหม่การมีร้านอาหาร
และ พื้นที่สาธารณะเพิ่มขึ้นรวมถึงการมีตัวเลือกจานวนมากของสินค้าและอาหารที่มีคุณภาพ
คุณค่าทางวัฒนธรรมและประเพณีได้รับการทานุบารุงขึ้นมาใหม่การท่องเที่ยวสามารถส่งเสริมการทานุบารุงและ
การส่งต่อประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิมรวมทั้งช่วยส่งเสริมการอนุรักษ์และการจัดการอย่างยั่งยืนต่อทรัพยากรทางธรรมชาติ
การปกป้ องมรดกของท้องถิ่นและการฟื้นฟูงานฝีมือศิลปะและวัฒนธรรมดั้งเดิมของท้องถิ่นขึ้นมาใหม่
การท่องเที่ยวไม่ได้มีส่วนช่วยด้านการเงินในการอนุรักษ์มรดกท้องถิ่นเพียงอย่างเดียวแต่ยังสนับสนุนทางอ้อมด้วยเช่น
การท่องเที่ยวในพื้นที่ห่างไกลในแถบหุบเขาสามารถช่วยให้ชาวเขาตระหนักและฟื้นฟูเพลงท้องถิ่นและการฟ้ อนราแบบดั้งเดิมเอาไว้ได้
การท่องเที่ยวส่งเสริมการมีส่วนร่วมและความภูมิใจของชุมชนการท่องเที่ยวทาให้ชุมชนเรียนรู้คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมแล
ะธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อรายได้
การท่องเที่ยวกระตุ้นให้เกิดความภาคภูมิใจในมรดกของท้องถิ่นและของชาติยังผลให้เกิดความใส่ในการอนุรักษ์
การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในด้านการดาเนินงานและ
การพัฒนาการท่องเที่ยวเป็นเงื่อนไขสาคัญในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่หลากหลายอย่างยั่งยืน
สิ่งเหล่านี้เป็นผลลัพธ์ด้านบวกที่เกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและในทางที่เหมาะสมสิ่งจาเป็นที่ขาดไม่ได้ คือ
การมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีทัศนคติเชิงบวกย่อมก่อให้เกิดแรงสนับสนุนที่มากกว่าและโอกาสที่ดีกว่า
๙
ในการพัฒนาและดาเนินการทางการท่องเที่ยวดังนั้นองค์ประกอบสาคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนคือการพัฒนาชุมชน
ให้มีส่วนเกี่ยวข้องกับขบวนการตัดสินใจเพื่อพิจารณาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระยะยาวระบบนิเวศน์และ
ความเสมอภาคของชุมชน'
สถานการณ์การท่องเที่ยวของประเทศไทย
ในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตของการท่องเที่ยวทั่วโลกในปี พ.ศ. 2555
ประเทศไทยมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์เช่นเดียวกันโดยมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงถึง 22ล้านคน
เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าถึงกว่าร้อยละ16และหากคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี 2538เป็นต้นมา จะอยู่ที่ประมาณร้อยละ7.1
โดยที่จะมีนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกเข้ามามากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งอยู่ที่ประมาณ 14.8ล้านคน
หรือคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ66ตามมาด้วยภูมิภาคยุโรปที่มีจานวนนักท่องเที่ยวประมาณ5.6ล้านคนหรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
25 ของจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในประเทศไทยทั้งหมด
นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยนั้นนอกจากเพื่อการท่องเที่ยวแล้วยังมีสัดส่วนของวัตถุประสงค์อื่นๆ
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการจัดงานประชุมการทาธุรกิจหรืออื่นๆอย่างการรักษาพยาบาลสูงมากขึ้น
ซึ่งส่งผลให้บทบาทของการท่องเที่ยวจะต้องเชื่อมโยงกับธุรกิจบริการอื่นๆเพิ่มมากขึ้นนักท่องเที่ยวหลักของไทย5
อันดับแรกยังคงเป็นประเทศเอเชียและรัสเซีย
ในขณะที่นักท่องเที่ยวจากอเมริกาและยุโรปมีแนวโน้มลดลงอันเป็นผลพวงจากภาวะเศรษฐกิจ
นักท่องเที่ยวชาวจีนและรัสเซียเข้ามาประเทศไทยด้วยอัตราการเจริญเติบโตที่สูงมากขึ้นในระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา
ส่งผลกระทบในแง่การบริหารจัดการรองรับ
ที่ไทยยังขาดความพร้อมภาพรวมทิศทางและแนวโน้มการท่องเที่ยวในอนาคตหน่วยงานองค์การการท่องเที่ยวโลกหรือTheUnited
NationsWorldTourismOrganization(UNWTO)ได้ทาการวิเคราะห์แนวโน้มการเติบโตของนักท่องเที่ยวในอนาคตจนถึงปี พ.ศ.2573
ค ).ศ.
2030) ซึ่งอ้างอิงจากข้อมูลในอดีตและปัจจุบันมาคาดการณ์ตัวเลขและแนวโน้มของจานวนนักท่องเที่ยว
ดังกล่าวซึ่งจากข้อมูลการวิเคราะห์และการคาดการณ์ในครั้งนี้สามารถสรุปได้ ดังนี้
1. การเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวจะเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉลี่ยประมาณปีละล้านคน43จนถึงปี พ.ศ.2573 ซึ่งคาดว่าในปี
พ.ศ. 2563จะมีจานวนนักท่องเที่ยวอยู่ประมาณพันล้านคน1.4ปี )2553 – 2563จะโตเฉลี่ยประมาณร้อยละและในปี พ(ต่อปี 4.2.ศ.
2573 จะมีจานวนนักท่องเที่ยวถึงประมาณ2ปี)พันล้านคน1.8563 – 2573จะโตประมาณร้อยละต3.3 ่่อปี
2. ในอนาคตแม้ว่าภูมิภาคที่ได้รับความนิยมเดิมอย่างยุโรปหรืออเมริกาจะยังได้รับความนิยมอยู่แต่ความนิยมดังกล่าวอาจจะลดน้อยลง
โดยมีการคาดการณ์ว่าตั้งแต่ปี พ.ศ.2558
จะมีจานวนนักท่องเที่ยวมายังประเทศเกิดใหม่มากกว่าจานวนนักท่องเที่ยวที่จะไปประเทศที่พัฒนาแล้ว
ซึ่งยังมีการคาดการณ์ต่ออีกว่าส่วนแบ่งจานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปยังภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกตะวันออกกลางและแอฟริกา
จะเพิ่มมากขึ้นในขณะที่ส่วนแบ่งจากภูมิภาคยุโรปและอเมริกาจะมีสัดส่วนที่ลดลง
3. ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตมากที่สุดโดยมีการคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นกว่า331ล้านคน
และจะมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงถึง535ล้านคนในปี พ.ศ.2573หรือเติบโตประมาณร้อยละ4.9ต่อปี
๑๐
โดยสรุปในอนาคตอันใกล้นี้ภูมิภาคเอเชียถือว่าเป็นภูมิภาคสาคัญที่ต้องได้รับการจับตามองมากที่สุดภูมิภาคหนึ่ง
เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าจะมีอัตราการเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวที่สูง
ซึ่งจะทาให้สัดส่วนของนักท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียสูงขึ้นเมื่อเทียบกับสัดส่วนของนักท่องเที่ยวจากยุโรปที่เพิ่มขึ้น
แม้ว่าสัดส่วนตลาดโดยรวมจะยังเป็นของภูมิภาคยุโรปอยู่ก็ตาม
สถานการณ์การท่องเที่ยวของโลก
ในภาพรวมของการท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปยังคงเป็นภูมิภาคที่นักท่องเที่ยวยังคงให้ความสนใจมากที่สุดอยู่
แต่หากพิจารณาในช่วงหลายปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าภูมิภาคยุโรปได้รับความนิยมที่ลดน้อยลงในขณะที่ภูมิภาคอื่นโดยเฉพาะเอเชีย
กลับได้รับความนิยมมากขึ้นโดยมีอัตราการเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียเพิ่มสูงมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
สาเหตุส่วนหนึ่งอาจเกิดมาจากปัจจัยในเรื่องของเศรษฐกิจที่ทาให้นักท่องเที่ยวในภูมิภาคต่างๆ
เริ่มมองหาสถานที่ที่มีความคุ้มค่าเพิ่มมากขึ้นส่วนหนึ่งอาจสะท้อนได้จากสัดส่วนของการเดินทางข้ามภูมิภาคที่เพิ่มสูงขึ้น
ข้อมูลรายได้จากการท่องเที่ยวที่แสดงให้เห็นว่ามีรายได้ต่อหัวในภูมิภาคเอเชียที่สูงที่สุดอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่าหลายปีที่ผ่านมา
แสดงให้เห็นถึงความน่าสนใจของการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียที่ทาให้นักท่องเที่ยวในการเดินทางเข้ามายังภูมิภาคเอเชียยินดีที่จะจ่าย
จากข้อมูลของจานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวในภูมิภาค
สามารถกล่าวได้ว่าภูมิภาคเอเชียถือว่าเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของโลกเป็นอย่างมากในปัจจุบันและในอ
นาคตอันใกล้นี้
ตารางที่ 1: จํานวนนักท่องเที่ยวระหว่างปี 2549 - 2555 หน่วย:ล้านคน
ทวีป 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
โลก
อเมริกา
435.7
92.8
529.4
109
676.6
128.2
806.9
133.3
949.1
150.4
994.9
156
1035.3
163.1
ยุโรป 262.7 305.9 388 448.9 485.5 516.4 534.2
เอเชีย/แปซิฟิ ก 55.8 82 110.1 153.6 205.1 218.2 233.6
แอฟริกา
ตะวันออกกลาง
14.8
9.6
18.8
13.
26.2
7 24.1
34.8
36.3
49.9
58.2
49.4
54.9
52.4
52
๑๑
ที่มา: The UnitedNationsWorld TourismOrganization(UNWTO)TourismHighlight2013
หากพิจารณาเป็นรายภูมิภาคจะเห็นได้ว่าภูมิภาคยุโรปมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงที่สุดโดยมีสัดส่วนกว่าร้อยละ52
(จานวนนักท่องเที่ยวประมาณ534ล้านคน)ตามมาด้วยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกในสัดส่วนร้อยละ23(จานวนนักท่องเที่ยวประมาณ
233 ล้านคน)และอเมริกาในสัดส่วนร้อยละ16ตามลาดับ(จานวนนักท่องเที่ยวประมาณ163ล้านคน)อย่างไรก็ตาม
ภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวสูงที่สุด(อัตราการเติบโตเฉลี่ยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2533 –2555)
กลับเป็นภูมิภาคในกลุ่มตะวันออกกลางที่ประมาณร้อยละ8ตามมาด้วยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกที่ประมาณร้อยละ6.7
พัฒนาการของแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมนาเที่ยว
ความหมายของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ทรัพยากรการท่องเที่ยวหมายถึงสถานทีท่องเที่ยวซึ่งรวมถึงสถานทีทีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสถานที่ทีมนุษย์สร้างขึ้น
เพื่อเป็นสถานที่ท่องเทียวกิจกรรมและวัฒนธรรมทีสะท้อนให้เห็นถึงอารยธรรมท้องถิ่นที่มีลักษณะเด่น
และสามารถดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้
ทรัพยากรท่องเที่ยว“หมายถึงสิ่งหรือสถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้นทั้งที่เป็นรูปธรรมสามารถสัมผัสได้
และนามธรรมที่ไม่สามารถสัมผัสได้ ซึ่งสามารถนามาเป็นสินค้าทางการท่องเที่ยวได้ อีกทั้งเป็นมรดกที่ทรงคุณค่าของชาติ ได้แก่
ความสวยงามทางธรรมชาติคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นภาษา ชนเผ่า ประเพณี ประวัติศาสตร์ และการเรียนรู้ต่างๆ”
ความสาคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
1. เป็นสิ่งดึงดูดใจให้มีการเดินทางท่องเที่ยว
2. เป็นที่มาของรายได้
3. ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตและทาให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
4. สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่
5. สะท้อนให้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาบรรพชน
6. ก่อให้เกิดการอนุรักษ์และพัฒนา
ลักษณะของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ลักษณะทีสาคัญมี3ประการคือ
1. ดึงดูดความสนใจ
2. เข้าถึงง่าย
3. สร้างความประทับใจ
องค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวจะเป็นจุดน่าสนใจของนักท่องเที่ยวต้องประกอบด้วยองค์ประกอบหลายๆ อย่างผสมผสานกันมิลล์ (Mill)
และมอร์ริสสัน (Morrison) แหล่งท่องเที่ยวต้องประกอบด้วย สิ่งดึงดูดใจ(Attractions) ในด้านความสวยงามความน่าประทับใจ
๑๒
สิ่งอานวยความสะดวก (Facilities)ในเรื่องที่พักร้านอาหารร้านขายของน่าประทับใจ สิ่งอานวยความสะดวก(Facilities)ในเรื่องที่พัก
ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึกร้านซักรีดหรือบริการอื่นๆ ปัจจัยพื้นฐาน(Infrastructure) ในเรื่องระบบการสื่อสารและสาธารณูปโภค
การขนส่ง(Transportation)และการต้อนรับอย่างมีมิตรไมตรี (Hospitality)ต่อนักท่องเที่ยว(Mill andMorrison, 1995:201-202)
นอกจากนี้มิลล์ (Mill , 1990:22-24)ได้กล่าวคล้ายคลึงกันว่า แหล่งท่องเที่ยวต้องประกอบด้วยองค์ประกอบด้วย
องค์ประกอบพื้นฐาน4 ประการคือ สิ่งดึงดูดใจ สิ่งอานวยความสะดวกการขนส่ง และการต้อนรับอย่างมีมิตรไมตรี
ในการอธิบายเรื่ององค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวออกเป็น4ประการดังกล่าวมาแล้ว
1. สิ่งดึงดูดใจ สิ่งดึงดูดใจเกิดจากการที่มนุษย์มีประสาทสัมผัสที่ดีเยี่ยม เช่น ดวงตาที่รับภาพสีเหมือนสภาพธรรมชาติ
สามารถมองเห็นภาพได้กว้างไกลถึง180 องศามีสมองสามารถรับรู้สิ่งต่างๆ ได้และมีความทรงจามีหูซึ่งได้ยินสิ่งต่างๆ
สภาพของร่างกายมนุษย์ซึ่งมีความพร้อมดังกล่าวแล้วเป็นปัจจัยสาคัญในการกระตุ้นให้มนุษย์เกิดการรับรู้ในแหล่งท่องเที่ยว
ประกอบกับปัจจุบันมีความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีได้พัฒนาให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางด้านการขนส่ง การสื่อสาร
สื่อมวลชนและสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินทางสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสาคัญให้มนุษย์เกิดการรับรู้และต้องการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น
สิ่งดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว มีองค์ประกอบที่สาคัญ4ประการได้แก่ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมชาติพันธุ์และการให้ความบันเทิง(Mill,1990:22)
1.1 แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติทุกๆพื้นที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามประทับใจ
ซึ่งเกิดจากลักษณะของธรรมชาติเช่นเป็นอ่าวแหลมเกาะ หน้าผาโขดหินฯลฯ ภูมิอากาศ
และความสวยงามตามธรรมชาติของพื้นที่นั้นๆ
สภาพธรรมชาติเหล่านี้เป็นสิ่งดึงดูดใจให้มนุษย์เดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ภายใต้เงื่อนไขของความแตกต่าง
ในเรื่องฉากของธรรมชาติภูมิอากาศและกิจกรรมที่จัดขึ้นความน่าสนใจของแหล่งท่องเที่ยวอาจเกิดขึ้นได้ 2ประการคือ
1.1.1 สถานที่น่าสนใจ(Site)เช่น อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทองจังหวัดสุราษฎร์ธานี
อันเป็นบ่อเกิดของทะเลสาบในหุบเขาที่น่าประทับใจและสวยงาม อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงามีภูเขาหมาจูเกาะปันหยีฯลณฯ
จังหวัดภูเก็ตมีแหลมพรหมเทพยื่นออกไปจากหน้าผา มุ่งสู่ทะเลลึก มีต้นตาลขึ้นบริเวณปลายแหลม
ยามดวงอาทิตย์ตกในเวลาเย็นจึงเป็นภาพที่สวยงามอันเกิดจากมุมมองจากที่สูงลงสู่ทะเล
1.1.2 เหตุการณ์น่าสนใจ(Event)ในบางฤดูกาลจะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรม
ของแต่ละสถานที่กิจกรรมนั้นก็กลายเป็นเหตุการณ์ที่น่าสนใจดึงดูดคนมาท่องเที่ยวเช่นประเพณีลอยกระทง
และสงกรานต์จังหวัดเชียงใหม่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานีประเพณีไหลเรือไฟจังหวัดนครพนม ประเพณีชักพระ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในประเทศไทยมีประเพณีต่างๆ ซึ่งปฎิบัติติดต่อกันมาแต่โบราณมากมาย และกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ
ประเพณีดังกล่าวอาจเกิดจากความเชื่อความศรัทธา ที่แตกต่างกัน แต่พอจาแนกประเภทได้ดังนี้
ก.ประเพณีเกิดจากความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีหรือสิ่งลึกลับ(Animism)ก่อให้เกิดประเพณี ฟ้ อนผีมดผีเม็งของภาคเหนือ
การแห่ผีตาโขนของอาเภอด่านซ้ายจังหวัดเลยหรือประเพณีการไหว้ผีบ้านผีป่าผีฝายของชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย
ข. ประเพณีเกิดจากเรื่องธรรมชาติก่อให้เกิดประเพณีการขอฝนเช่นแห่นางแมว
แห่ปลาช่อนแล้วนาปลาช่อนซึ่งหมายถึงพระโพธิสัตว์ปล่อยในแม่น้าทาจังหวัดลาพูนประเพณีบุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร
ค. ประเพณีเกิดจากพุทธศาสนา ก่อให้เกิดประเพณีตักบาตรเทโวประเพณีชักพระประเพณีบวชนาค
ประเพณีปอยส่างลองของชาวไตจังหวัดแม่ฮ่องสอนประเพณีการแข่งกลองหลวงของชาวไทยยอง ในจังหวัดลาพูน
๑๓
1.1.2 เหตุการณ์น่าสนใจ(Event) ในบางฤดูกาลจะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรม
ของแต่ละสถานที่กิจกรรมนั้นก็กลายเป็นเหตุการณ์ที่น่าสนใจดึงดูดคนมาท่องเที่ยวเช่นประเพณีลอยกระทง
และสงกรานต์จังหวัดเชียงใหม่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานีประเพณีไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม ประเพณีชักพระ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในประเทศไทยมีประเพณีต่างๆ ซึ่งปฎิบัติติดต่อกันมาแต่โบราณมากมาย
และกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ประเพณีดังกล่าอาจเกิดจากความเชื่อความศรัทธาที่แตกต่างกัน
แต่พอจาแนกประเภทได้ดังนี้
ก.ประเพณีเกิดจากความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีหรือสิ่งลีลับ(Animism)ก่อให้เกิดประเพณี ฟ้ อนผีมดผีเม็งฟ้ อนผีมด ผีเม็ง
ของภาคเหนือการแห่ผีตาโขนของอาเภอด่านซ้ายจังหวัดเลยหรือประเพณีการไหว้ผีบ้านผีป่า ผีฝาย
ของชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย
ข. ประเพณีเกิดจากเรื่องของธรรมชาติก่อให้เกิดประเพณีการขอฝนเช่นแห่นางแมว
แห่ปลาช่อนแล้วนาปลาช่อนแล้วนาปลาช่อนซึ่งหมายถึงพระโพธิ์สัตว์ปล่อยในแม่น้าทา จังหวัดลาพูนประเพณีบุญบั้งจังหวัดยโสธร
ค. ประเพณีเกิดจากพุทธศาสนา ก่อให้เกิดประเพณีตักบาตรเทโวประเพณีชักพระประเพณีบวชนาคประเพณีปอยส่งลอง
ของชาวไตจังหวัดแม่ฮ่องสอนประเพณีการแข่งขันกลองหลวงของชาวไทยยองในจังหวัดลาพูน
ง. ประเพณีเกิดจากศาสนาพราหมณ์ ก่อให้เกิดพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญหรือประเพณีอื่นๆที่เกี่ยวกับราชสานัก
บ่อเกิดของประเพณี อาจมีสาเหตุอื่นๆ ประกอบมากกว่านี้และประเพณีแต่ละอย่างที่เกิดขึ้นก็มีการผสมผสานระหว่างความเชื่อ
ความศรัทธาหลายๆ อย่างวัฒนธรรมการของชนชาติที่ยาวนานเป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาอดีต
เพื่อเข้าในปัจจุบันและวางรากฐานของอนาคตดังนั้นประเพณีจึงมิได้จัดทาขึ้นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างเดียว
และการจัดประเพณีเพื่อการท่องเที่ยวก็ไม่ควรทาลายรากฐานของวัฒนธรรมเก่าๆ
ความภาคภูมิใจของคนในชาติสาคัญกว่าเงินตราที่ได้มาแล้วต้องนาเงินตราอันนั้นเยียวยาสังคมใหม่ และสภาพจิตใจมนุษย์
ภูมิอากาศเป็นสิ่งดึงดูดใจอย่างหนึ่งในการท่องเที่ยวและเป็นมนต์ขลังทาให้เกิดความประทับใจเรียกร้องให้กลับไปสู่อดีตณ
ที่เก่าอีกครั้งหนึ่งนักท่องเที่ยวส่วนมากไปเที่ยวภาคเหนือในฤดูหนาวเพราะอากาศเย็นท้องฟ้ าแจ่มใสมีดอกไม้สวยงามป่าไม้เขียวขจี
เพราะได้รับฝนอย่างเต็มที่ในฤดูร้อนเพราะในกรณีของต่างประเทศประชาชนในมลรัฐตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา
จะเดินทางไปยังมลรัฐฟลอริดาเพื่ออาบแดดในฤดูร้อนและประชาชนในมลรัฐทางใต้
ซึ่งไม่มีหิมะก็เดินทางไปเล่นสกีที่แถบภูเข่ในมลรัฐโคโลราโดในฤดูหนาวนี้แสดงให้เห็นว่า
ภูมิอากาศเป็นตัวกาหนดวัตถุประสงค์ในการเดินทางของนักท่องเที่ยว
ที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยวเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งในการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเที่ยง
ถ้าที่ตั้งห่างไกลและขาดสิ่งอานวยความสะดวกในการเข้าไปถึงความต้องการเดินทางของนักท่องเที่ยวก็ลดน้อยลง
ถึงแม้ว่าสถานที่ท่องเที่ยวจะมีความประทับใจ
แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติมีความเปราะบางง่าย(Fragility)สาเหตุสาคัญที่สุดเกิดจากมนุษย์ซึ่งหลงเสน่ห์ในธรรมชาติ
ได้ทาลายธรรมชาติได้ทาลายธรรมชาติโดยไม่รู้ตัวหรือบางครั้งก็เจตนาเช่นการเดินทางเข้าไปยังเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า
และพักรวมในเวลาค่าคืนตลอดจนส่งเสียงดังย่อมเป็นการรบกวนสัตว์ทั้งในการพักผ่อนการหลับนอนการหาอาหารหรือ
แม่แต่การผสมพันธุ์ของสัตว์ต่างๆ อุทยานแห่งชาติทางทะเลบางแห่งจัดเตรียมไว้เพื่อรักษาระบบนิเวศและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้าเช่น
เต่าทะเลซึ่งต้องวางไข่ไม่ได้ เพราะมีคนรบกวนแหล่งธรรมชาติควรมีการปิดบางฤดูกาล เพื่อให้มีการพักฟื้น
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว

More Related Content

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 

การท่องเที่ยว

  • 1. ๑ บทนำ 1.แนวคิดเรื่องการท่องเที่ยว  การท่องเที่ยวประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ของบุคคลที่เดินทางและพักอาศัยในสถานที่อื่นที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัยปกติเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ เพื่อธุรกิจและเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ เป็นเวลาติดต่อกันไม่เกิน1ปี  การใช้แนวคิดแบบกว้างนี้ทาให้เกิดความเป็นไปได้ในการวินิจฉัยเพื่อจาแนกการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ และการท่องเที่ยวภายในประเทศ“การท่องเที่ยว”เกี่ยวข้องถึงกิจกรรมทั้งหมดของ“ผู้เยี่ยมเยือนรวมไปถึง“นักท่องเที่ยว (ผู้เยี่ยมเยือนแบบค้างคืนและ“นักทัศนาจร(ผู้มาเยือนและจากสถานที่นั้นไปภายในวันเดียวกัน 2.รูปแบบของการท่องเที่ยว รูปแบบของการท่องเที่ยวแบ่งได้ดังต่อไปนี้: การท่องเที่ยวภายในประเทศหมายถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ การท่องเที่ยวขาเข้าหมายถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักในต่างประเทศและเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในอีกประเทศหนึ่ง การท่องเที่ยวขาออกหมายถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางออกไปยังประเทศอื่น  รูปแบบเดียวกันของการท่องเที่ยวอาจจะอธิบายได้โดยการแทนที่คาว่า “ประเทศ”ด้วยคาว่า “ภูมิภาค” ในกรณีนี้รูปแบบการท่องเที่ยวเหล่านี้จะไม่ได้หมายความถึงประเทศอีกต่อไปแต่จะเป็นภูมิภาคแทน คาว่า “ภูมิภาค” อาจจะหมายความถึงพื้นที่ภายในประเทศนั้นหรือกลุ่มประเทศซึ่งรวมเป็นภูมิภาค  รูปแบบพื้นฐาน 3 ประเภทของการท่องเที่ยว สามารถนามาผสมความหมายรวมกันได้หลายวิธีเพื่อที่จะก่อให้เกิดการแตกแขนงประเภทการท่องเที่ยวดังต่อไปนี้ การท่องเที่ยวในประเทศประกอบด้วยการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวขาเข้า การท่องเที่ยวระดับชาติประกอบด้วยการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวขาออก การท่องเที่ยวระหว่างประเทศประกอบด้วยการท่องเที่ยวขาเข้าและการท่องเที่ยวขาออก คาว่า“ภายในประเทศ”ในบริบทของการท่องเที่ยวได้สงวนเอาความหมายแฝงของ การตลาดดั้งเดิมเอาไว้อันหมายความไปถึงผู้พานักอาศัยที่มีถิ่นพานักอยู่ในประเทศและเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของตนเอง ทาให้มีความหมายผนวกรวมทั้งการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวขาเข้า 3.หน่วยพื้นฐานของการท่องเที่ยว หน่วยพื้นฐานของการท่องเที่ยวมีความหมายถึงปัจเจกบุคคลหรือครอบครัวผู้ซึ่งเป็นประชากรของกิจกรรมการท่องเที่ยวต่างๆ และสามารถนามาใช้ในการสารวจในฐานะที่เป็นหน่วยสถิติ (ถึงอย่างไรก็ตามแนวคิดของหน่วยสถิติอาจมีความหมายในขอบเขตที่กว้างกว่ากันหรือแตกต่างกันดังเช่นหน่วยที่ใช้ในการศึกษา จานวนประชากรที่ใช้ในการศึกษาการประมวลผลการวิเคราะห์)แนวความคิดทั้งหมดของผู้เดินทาง หมายถึงบุคคลใดก็ตามที่เดินทางระหว่างประเทศสองประเทศหรือมากกว่านั้นหรือเดินทางระหว่างสถานที่สองแห่งหรือมากกว่านั้นภายใน ประเทศที่ผู้เดินทางนั้นพานักอาศัยอยู่  ผู้เดินทางระหว่างประเทศหมายถึงบุคคลใดก็ตามที่เดินทางออกนอกประเทศที่ตนพานักอาศัยอยู่ (โดยไม่คานึงถึงวัตถุประสงค์และวิธีการในการเดินทางถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะเดินทางด้วยการเดินเท้าก็ตาม)
  • 2. ๒  ผู้เดินทางภายในประเทศหมายถึงบุคคลใดก็ตามที่เดินทางภายในประเทศที่ตนพานักอาศัยอยู่ (โดยไม่คานึงถึงวัตถุประสงค์และวิธีการในการเดินทางถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะเดินทางด้วยการเดินเท้าก็ตาม) ความแตกต่างระหว่างประเภทของผู้เดินทางซึ่งแบ่งออกกว้างๆได้เป็น2 ประเภทอันได้แก่ -ผู้มาเยือน -ผู้เดินทางประเภทอื่น ผู้เดินทางทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวก็คือผู้มาเยือนโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ นักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือนแบบค้างคืน นักทัศนาจร(ผู้ที่มาเยือนและจากสถานที่นั้นไปภายในวันเดียวกัน สาหรับวัตถุประสงค์ของสถิติการท่องเที่ยวคาว่า “ผู้มาเยือนคือบุคคลใดก็ตามที่เดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังสถานที่อื่นไม่เกิน 1ปี และมีวัตถุประสงค์หลักของการเดินทางที่นอกเหนือไปจากการประกอบอาชีพหรือหารายได้ภายในสถานที่ที่บุคคลนั้นเดินทางไปเยี่ยมเยือ น บรรทัดฐานที่สาคัญ3ประการที่มีรายละเอียดชัดแจ้งเพื่อใช้ในการจาแนกผู้มาเยือนออกจากผู้เดินทางประเภทอื่นได้แก่ การเดินทางจะต้องเป็นการเดินทางไปยังสถานที่ที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัยปกติ และไม่นับรวมการเดินทางประจาไปยังที่ทางานหรือสถานการศึกษาและที่อยู่ภูมิลาเนาของบุคคลนั้นๆ การพักค้างคืนในสถานที่ที่ไปเยี่ยมเยือนนั้นติดต่อกันได้ไม่เกิน1ปี ถ้าผู้มาเยือนพักค้างคืนในสถานที่นั้นเกินระยะเวลาที่กาหนดจะกลายเป็นผู้ที่มีถิ่นพานักอยู่ในสถานที่ที่ไปเยือน วัตถุประสงค์หลักของการเดินทางไปเยี่ยมเยือนสถานที่นั้นต้องนอกเหนือไปจากการประกอบอาชีพหรือหารายได้ภายในสถานที่นั้น ซึ่งจะไม่นับรวมการเคลื่อนไหลของผู้ย้ายถิ่นเพื่อเดินทางไปทางาน 4.ประเภทของสถานพักแรมหมายถึงสถานที่ที่นักเดินทางใช้พักระหว่างเดินทางจาแนกตามลักษณะการใช้บริการ 1.โรงแรมคือ ที่พักแรมที่สร้างขึ้นเฉพาะและแบ่งเป็นห้องพักมีสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักเดินทางและเก็บค่าเช่าเป็นรายห้อง 2. เกสท์เฮ้าส์ คือ บ้านที่ดัดแปลงหรือสร้างขึ้นและแบ่งห้องเป็นที่พักแรมโดยเก็บค่าเช่า 3. บังกาโล คือ ที่พักแรมที่กลุ่มบุคคลหรือสถาบันจัดไว้เพื่อให้นักท่องเที่ยวโดยเก็บค่าเช่า 4. รีสอร์ท คือ ที่พักที่มีลักษณะห้องพักเป็นหลังๆมีบริเวณแวดล้อมด้วยธรรมชาติ 5. บ้านรับรอง คือ ที่พักหน่วยราชการ บริษัท หรือเอกชนจัดไว้เพื่อใช้รับรองหรือพักผ่อน โดยไม่เก็บค่าเช่าเช่น 5.1บ้านรับรองของหน่วยราชการหมายถึงที่พักที่หน่วยราชการจัดสร้างไว้ในจังหวัดต่างๆ เพื่อใช้รับรองแขกของทางราชการหรือผู้เกี่ยวข้องเข้าพัก สถานที่พักในลักษณะนี้มักจะไม่ต้องเสียค่าเช่า 5.2 บ้านรับรองของบริษัทเอกชนหมายถึงที่พักที่บริษัทเอกชนได้จัดสร้างไว้ในจังหวัดต่างๆ เพื่อรับรองหรือให้พนักงานของบริษัทที่เดินทางไปจังหวัดนั้นๆได้ใช้เป็นสวัสดิการของบริษัท 6. บ้านญาติหรือบ้านเพื่อนคือบ้านญาติมิตรของนักท่องเที่ยวที่จัดให้เป็นที่พักแรมโดยไม่เก็บค่าเช่า 7. โมเต็ล คือ ที่พักที่สร้างขึ้นเฉพาะโดยเก็บค่าเช่ามีห้องพักแต่ละห้อง หรือมีห้องพักส่วนหนึ่งที่มีลักษณะและการใช้สอยเช่นเดียวกับโรงแรม แต่เนื่องจากลักษณะการใช้ห้องพักประเภทนี้ในประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ใช่เพื่อการท่องเที่ยว ดังนั้นในการรวบรวมข้อมูลสถานพักแรมจึงไม่นับรวมห้องพักประเภทนี้รวมอยู่ในห้องพักสาหรับนักท่องเที่ยว
  • 3. ๓ 8. ที่พักของหน่วยราชการณแหล่งท่องเที่ยวหมายถึงที่พักของหน่วยราชการต่างๆที่ตั้งอยู่ณ สถานที่ทาการของหน่วยราชการซึ่งอยู่ในบริเวณแหล่งท่องเที่ยวนั้นเพื่อไว้บริการนักท่องเที่ยวได้เข้าพัก โดยการจะเข้าพักแต่ละครั้งจะต้องติดต่อกับหน่วยงานเจ้าของสังกัดก่อนเช่นที่พักของอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ และเขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตและของกรมชลประทาน เป็นต้น 9. ที่พักอื่นๆเช่น -วัด หมายถึงสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนาซึ่งได้จัดบริเวณส่วนหนึ่งให้เป็นที่พักสาหรับผู้เดินทาง และบริการโดยไม่คิดค่าเช่า นอกจากผู้เข้าพักจะทาบุญถวายวัดตามกาลังศรัทธา - หอพักเยาวชนหมายถึงที่พักที่กลุ่มบุคคลจัดไว้เพื่อสมาชิกของกลุ่มมาใช้บริการโดยเสียค่าเช่าในอัตราประหยัด และเปิดให้บุคคลภายนอกมาใช้บริการได้ เช่นYMCA เป็นต้น 5.ประเภทของพาหนะที่ใช้ในการเดินทาง เครื่องบิน รถไฟ รถโดยสารประจาทาง คือรถที่ใช้ขนส่งผู้โดยสารตามเส้นทางที่กาหนดคิดค่าบริการเป็นรายบุคคลและมีที่นั่งเกินกว่า 7คนขึ้นไป ทั้งที่มีเครื่องปรับอากาศและไม่มีเครื่องปรับอากาศ รถบริการนาเที่ยว คือรถที่ใช้บริการท่องเที่ยวซึ่งจัดกาหนดการไว้ล่วงหน้ามีการเก็บค่าบริการเป็นรายบุคคลในลักษณะเหมาจ่าย และมีที่นั่งเกินกว่า7คนขึ้นไป รถยนต์ส่วนบุคคล คือรถยนต์ส่วนตัวของนักเดินทาง หรือรถยนต์ของหน่วยราชการหรือเอกชนที่นักเดินทางใช้โดยไม่มีอัตราค่าบริการ มีขนาดและลักษณะใดก็ได้ พาหนะอื่นๆที่ใช้ในการเดินทางทางน้าและทางทะเล หมายถึงพาหนะที่นักท่องเที่ยว ใช้ในการข้ามฟากไปยังแหล่งท่องเที่ยวอีกแหล่งหนึ่งที่อยู่นอกพื้นดินได้แก่ เรือนาเที่ยวเรือสาราญเรือเช่าโดยสารทางน้า เรือโดยสารตามชายฝั่งทะเลและข้ามมหาสมุทรแบบมีตารางและไม่ตารางเวลาเช่นเรือเฟอร์รี่ เรือเรือเหมาลา 6.หมวดค่าใช้จ่าย จาแนกเป็นหมวดค่าใช้จ่ายหลัก7หมวดดังต่อไปนี้ 1. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าที่พักเช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเป็นค่าเช่า/ค่าบริการโรงแรมเกสท์เฮาส์ รีสอร์ท/บังกะโลที่พักอุทยาน ค่าบารุงวัด(กรณีพักวัด)อื่นๆ 2. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าอาหาร/เครื่องดื่มรวมค่าอาหาร/เครื่องดื่มทุกรายการที่จ่ายระหว่างท่องเที่ยวในจังหวัดที่เดินทางไป 3. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าบริการท่องเที่ยวในพื้นที่เช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อเป็นค่าบริการนาเที่ยวโดยตรง(ค่าไกด์) ค่าผ่านประตูเพื่อเข้าชมพิพิธภัณฑ์อุทยานสวนสัตว์โบราณสถานเป็นต้น 4. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าพาหนะเดินทางในพื้นที่ เช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อเป็นค่าเดินทางระหว่างท่องเที่ยวภายในจังหวัดเช่นรถไฟ ค่ารถโดยสารประทางในจังหวัดTaxi ตุ๊กตุ๊กสามล้อรถม้าเรือโดยสารเรือข้ามฟากรถเช่าเป็นต้นซึ่งไม่รวมค่าโดยสารระหว่างจังหวัด 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าซื้อสินค้าและของที่ระลึกเช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อซื้อสินค้าทั้งสินค้าอุปโภค/บริโภค เพื่อกลับไปยังถิ่นที่อยู่ถาวรของตนแต่ต้องไม่ใช้เพื่อนากลับไปขายต่อเช่นสินค้าประเภทอัญมณี เสื้อผ้าสาเร็จรูป ผ้าไหม สินค้าประเภทเบรนเนมหรือเครื่องหนังเป็นต้น
  • 4. ๔ 6. ค่าใช้จ่ายทางด้านความบันเทิงเช่นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเองเพื่อความสาราญ/บันเทิงเช่น ค่าบริการเชิงสุขภาพกอล์ฟดาน้าล่องแก่งกีฬาต่างๆการชมการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม/การแสดงสินค้า ค่าเช่าอุปกรณ์กีฬาบางชนิดเช่นเจ็ตสกี บานาโบ๊ตเป็นต้น 7. ค่าใช้จ่ายอื่นๆเช่นค่าทาบุญค่ารักษาพยาบาลค่าฟิล์มเป็นต้น ระยะเวลาพานักเฉลี่ย คือ จานวนคืนพักที่นักท่องเที่ยวพักระหว่างเดินทางไปท่องเที่ยวในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งเช่นนายก เดินทางจากกรุงเทพไปท่องเที่ยวในจังหวัดขอนแก่น3คืนโดยพักโรงแรม2คืน พักบ้านญาติ/เพื่อน1 คืนเป็นต้น 7.ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ  สารวจข้อมูลด้านสถานพักแรม ในการดาเนินการรวบรวมข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าพักแรมในสถานประกอบการประเภท โรงแรมเกสท์เฮ้าส์รีสอร์ท บังกะโลนั้นเป็นการดาเนินงานของททท.ภูมิภาคในการจัดส่งส่งแบบสอบถาม ขอความร่วมมือไปยังสถานประกอบการพักแรมสาหรับนักท่องเที่ยวทุกประเภทยกเว้นสถานประกอบการประเภทชั่วคราว(ม่านรูด) ห้องพักที่ให้เช่ารายเดือนหรือห้องพักที่เปิดบริการสาหรับSalemanเพื่อสารวจจานวนผู้เข้าพักแรมรายสัญชาติระยะเวลาพานักเฉลี่ย คนพักต่อห้อง จานวนห้องพักที่ขายได้ในแต่ละเดือนโดยในแต่จังหวัดจะมีประเภทของสถานพักแรมแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการกระจายตัวของแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักแรม โดยการรวบรวมจานวนคนเข้าพักแรมรายสัญชาติ อัตราการเข้าพักเฉลี่ยระยะพานักเฉลี่ยหรือคืนพักเฉลี่ยจานวนคนพักต่อห้องในสถานพักแรมเป็นรายเดือนหรือ รายไตรมาสนั้น ตามแบบสอบถาม อัตราการเข้าพักเฉลี่ยหรือร้อยละของจานวนห้องพักที่ขายได้ในแต่ละเดือนเทียบกับจานวนห้องทั้งหมด อัตราการเข้าพักเฉลี่ยต่อเดือน = จานวนห้องพักที่ขายได้ในเดือนนั้นx100 จานวนวันxจานวนห้องพักทั้งหมด ห้องพักที่ขายได้ คือจานวนห้องพักของสถานพักแรมที่ขายให้กับผู้เข้าพักแรม หรับหลักการแบ่งกลุ่มโรงแรมเพื่อการท่องเที่ยวนั้น ททท. ได้กาหนดการแบ่งตามระดับราคาห้องพักโดยพิจารณาจากราคาประกาศขายต่าสุด เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการวิเคราะห์สถานการณ์และการวางแผนการตลาดเท่านั้นซึ่งสามารถจัดกลุ่มได้ดังนี้ กลุ่ม1 :ราคาตั้งแต่ 2,500 บาทขึ้นไป กลุ่ม2 :ราคาตั้งแต่ 1,500 - 2,499 บาท กลุ่ม3 :ราคาตั้งแต่ 1,000 - 1,499 บาท กลุ่ม4 :ราคาตั้งแต่ 500- 999 บาท กลุ่ม5 :ราคาต่ากว่า 500 บาท ระยะเวลาพานักเฉลี่ยในสถานพักแรม(Stay) คือจานวนคืนพักที่ผู้เข้าพักแรมคนหนึ่งใช้บริการในโรงแรมนั้นแต่ละครั้ง คนพักต่อห้อง(Person/Room:P/R) คือจานวนคนเฉลี่ยที่ใช้บริการห้องพักห้องใดห้องหนึ่งแต่ละครั้ง หรือห้องพักห้องหนึ่งมีคนเข้าพักเฉลี่ยกี่ Pop(GroupN)= {RoomN * ORN * P/RN * จานวนวันในเดือนนั้น} (StayN * 100) 8.การประมาณจานวนนักท่องเที่ยวนักทัศนาจร ตามประเภทพาหนะเดินทาง
  • 5. ๕ 8.1 การประมาณนักท่องเที่ยว ขั้นตอนนี้เป็นการดาเนินการสารวจข้อมูลจากผู้ที่เดินทางเข้าไปในแต่ละจังหวัดโดยการสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวโดยตรง ตามจุดการเดินทาง3จุดคือจุดท่องเที่ยวจุดเดินทางออก(รถไฟเครื่องบินบขส. ท่าเรือ)และจุดพักแรม ประมาณเดือนละ200-400 ตัวอย่างเพื่อทราบพฤติกรรมการเดินทางของผู้เยี่ยมเยือนรายจังหวัด(ตัวอย่างแบบสอบถามแนบ2) และนาสัดส่วนที่ได้มาประมาณการจานวนการเดินทางตามประเภทของพาหนะ(Pop)รวมทั้งเพื่อศึกษาโครงสร้างทั่วไป ลักษณะการเดินทางการใช้จ่ายเฉลี่ยวันพักหลังจากนั้นจึงทาการประมาณจานวนผู้เยี่ยมเยือนดังนี้ 1. เป็นการหาจานวนการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่เดินทางไปเยือนในแต่ละพื้นที่ศึกษา โดยใช้แบบสอบถามณ จุดพักแรมสารวจทุกเดือนทั้งช่วงวันหยุดและวันธรรมดา จากแบบสอบถามณ จุดพักแรมเราจะถามนักท่องเที่ยวว่าท่านเดินทางเข้ามาจังหวัดนี้โดยพาหนะประเภทใด หลังจากนั้นจึงนาจานวนนักท่องเที่ยวที่พักในสถานพักแรมทั้งหมด 2. ประมาณจานวนนักท่องเที่ยวที่พักแรมอื่นๆคือกลุ่มที่พักแรมตามบ้านญาติ/เพื่อนบ้านพักอุทยานบ้านรับรองและอื่นๆนั้น จะใช้แบบสอบถามนักท่องเที่ยว(ค้างคืน)จากจุดท่องเที่ยว/จุดเดินทางออก ซึ่งจะถามนักท่องเที่ยวท่านเดินทางเข้าจังหวัดนี้ด้วยพาหนะประเภทใดและพักแรมที่ไหน เนื่องจากเราไม่มีจานวนนักท่องเที่ยวที่รวบรวมได้จริงของกลุ่มนี้จึงต้องมีการประมาณการเทียบค่าจากนักท่องเที่ยวที่พักแรมในสถานพักแ รม/ตามพาหนะต่างๆ(สาหรับกลุ่มที่เดินทางมากับบริษัทนาเที่ยวนั้นส่วนใหญ่จะเป็นการพักแรมใน โรงแรม พาหนะที่ใช้ในการเดินทางส่วนใหญ่เป็นรถส่วนตัว(รถของบริษัททัวร์)เครื่องบินรถไฟ) 8.2 การประมาณจานวนนักทัศนาจร การประมาณจานวนนักทัศนาจรนั้นเราจะพิจารณาจากประเภทของพาหนะที่นักทัศนาจรใช้ในการเดินทาง ซึ่งสารวจจากผู้เยี่ยมเยือนที่ไม่มีการค้างคืน(นักทัศนาจร)ณจุดเดินทางออก/จุดท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวที่เดินทางไป โดยถามว่าท่านเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวครั้งนี้เดินทางเข้ามาโดยวิธีใด 9.ประมาณจานวนรายได้จากการท่องเที่ยว เป็นขั้นตอนสุดท้ายเพื่อหาคานวณหารายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยวในแต่ละแหล่งท่องเที่ยว โดยในทางปฎิบัติเราไม่สามารถหารายได้จากการท่องเที่ยวได้โดยตรงเราจึงจาเป็นต้องหาจากการใช้จ่ายของ นักท่องเที่ยวแต่ละคนย้อนกลับไปจากค่าใช้จ่ายแต่ละหมวดที่นักท่องเที่ยวนักทัศนาจรใช้จ่ายในแหล่งท่องเที่ยวต่อคนต่อวัน โดยกลุ่มที่จัดการเดินทางเองนั้นเราสามารถสอบถามที่จุดเดินทางออก/จุดท่องเที่ยวเฉลี่ยเป็นต่อคนต่อวันได้ทันที ขณะกลุ่มที่เดินทางมากับบริษัทนาเที่ยวนั้นผู้เยี่ยมเยือนจะตอบได้เฉพาะว่าซื้อทัวร์มาท่องเที่ยวจังหวัดนี้กับบริษัทนาเที่ยวนี้เป็นจานวนเงิน จานวนหนึ่งเท่านั้นจึงต้องมีการเช็คข้อมูลในหมวดค่าที่พัก ค่าบริการนาเที่ยวและค่าพาหนะเดินทางกลับไปยังบริษัทนาเที่ยวอีกรอบว่าคิดค่าใช้จ่ายแต่ละหมวดอย่างไร ขณะที่ค่าใช้จ่ายหมวดอื่นนั้นนักท่องเที่ยวจะเป็นผู้จ่ายเองนอกเหนือจากค่าทัวร์หลังจากนั้นจึงคานวณหารายได้จากการท่องเที่ยวดังนี้ รายได้จากนักท่องเที่ยว=จานวนนักท่องเที่ยว*วันพัก* ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อวัน รายได้จากนักทัศนาจร=จานวนนักทัศนาจร*ค่าใช้จ่ายต่อคน รายได้ของผู้เยี่ยมเยือน=รายได้จากนักท่องเที่ยว+รายได้จากนักทัศนาจร *****************************************
  • 6. ๖ การท่องเที่ยว ภาพรวมของการท่องเที่ยว:ความหมายของการท่องเที่ยว การท องเที่ยวหมายถึงการเดินทางเพื่อผ อนคลายความเครียดแสวงหาประสบการณ แปลกใหม โดยมีเงื่อนไขว าการ เดินทางนั้นเป นการเดินทางเพียงชั่วคราวผู เดินทางจะต องไม ถูกบังคับให เดินทาง ประเภทของการท่องเที่ยวแบ่งออกได้เป็น3ประเภทหลักคือ 1. การท่องเที่ยวเพื่อความเพลิดเพลินและการพักผ่อน:หลีกหนีความจาเจจากสภาพชีวิตประจาวัน 2. การท่องเทียวเพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ:เพื่อร่วมประชุมสัมมนาเจรจาธุรกิจ(เป็นส่วนหนึ่งของงาน) 3. การท่องเทียวเพื่อความสนใจพิเศษ:เป็นการเที่ยวเฉพาะกลุ่มทีมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเช่นการ ท่องเทียวเชิงนิเวศเชิงศิลปวัฒนธรรมเชิงกีฬาความสาคัญของการท่องเที่ยว 1. ความสาคัญต่อเศรษฐกิจ:สร้างรายได้ กระจายรายได้และสร้างงาน 2. ความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม:ได้มีโอกาสสัมผัสเรียนรู้ แลกเปลียนวัฒนธรรมก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน 3. ความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม:เกิดกระแสการรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นตระหนักถึงความสาคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์นโยบายรัฐบาล:ขับเคลื่อนเศรษฐกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยแบ่งตามความสาคัญและสภาพแวดล้อมได้ 12 ประเภทดังนี้ 1. แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มีลักษณะทางธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น โดยอาจมีเรื่องราวทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องโดยการจัดการการท่องเที่ยวในแหล่งนั้นจะต้อง มีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศนั้น มีการจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่นเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดจิตสานึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน 2. แหล่งท่องเที่ยวทางศิลปะวิทยาการหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวหรือกิจกรรมที่สามารถตอบสนองความสนใจพิเศษของนักท่องเที่ยว ซึ่งมีรูปแบบของการท่องเที่ยวที่ชัดเจนเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวแบบใหม่ที่เกิดขึ้นแหล่งท่องเที่ยว ประเภทนี้สามารถเพิ่มเติมได้อีกมากมายตามความนิยมของคนในแต่ละยุคสมัยเมื่อมีการระบุชัดว่ากิจกรรมนั้นๆ สามารถให้ความรู้และดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ ปัจจุบันมีปรากฏอยู่หลายๆแห่งตัวอย่างเช่นพิพิธภัณฑ์เฉพาะทาง แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีและ MICE (Meeting &Incentives &Conventions & Exhibitions)เป็นต้น 3. แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์หมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสาคัญและคุณค่าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและศาสนา รวมถึงสถานที่หรืออาคารสิ่งก่อสร้างที่มีอายุเก่าแก่หรือเคยมีเหตุการณ์ สาคัญเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ เช่นโบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ ชุมชนโบราณกาแพงเมืองคูเมืองพิพิธภัณฑ์วัดศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าทางศิลปะและสถาปัตยกรรม 4. แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ:หมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยวโดยมีทรัพยากรธรรม ชาติเป็นสิ่งดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือนซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้อาจจะเป็นความงดงามตามสภาพธรรมชาติความ แปลกตาของสภาพธรรมชาติสัณฐานที่สาคัญทางธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์หรือเป็นสัญลักษณ์ ของท้องถิ่นนั้นๆ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษหรือสภาพแวดล้อมที่มีคุณค่าทางวิชาการก็ได้
  • 7. ๗ 5. แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการพักผ่อนและเสริมสร้างสุขภาพ ให้ความสนุกสนานรื่นรมบันเทิงและการศึกษาหาความรู้ แม้ไม่มีความสาคัญในแง่ประวัติศาสตร์ โบราณคดีศาสนา ศิลปวัฒนธรรมแต่มีลักษณะเป็นแหล่งท่องเที่ยวร่วมสมัยตัวอย่างเช่นย่านบันเทิงหรือสถานบันเทิงสวนสัตว์ สวนสนุกและสวนสาธารณะลักษณะพิเศษสวนสาธารณะและสนามกีฬา 6แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมหมายถึงแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าทาง ศิลปะและขนบธรรมเนียมประเพณีที่บรรพบุรุษได้สร้างสมและถ่ายทอดเป็นมรดกสืบทอดกันมาแหล่งท่องเที่ยวประเภทนี้ประกอบด้วย งานประเพณี วิถีชีวิตความ เป็นอยู่ของผู้คนการแสดงศิลปวัฒนธรรมสินค้าพื้นเมืองการแต่งกายภาษาชนเผ่าเป็นต้น ตัวอย่างของแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศไทยในประเภทนี้ได้แก่ตลาดน้าดาเนินสะดวกงานแสดงของช้างจังหวัดสุรินทร์ งานร่มบ่อสร้างประเพณีลอยกระทงประเพณีสงกรานต์เป็นต้น 7. แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพน้าพุร้อนธรรมชาติ:ในการจัดทาเกณฑ์มาตรฐานสาหรับแหล่งท่องเที่ยวน้าพุร้อนธรรมชาติ มีจุดประสงค์เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวประเภทน้าพุร้อนธรรมชาติอย่างชัดเจน โดยเน้นในด้านการกาหนดมาตรฐานที่จาเป็นสาหรับการบริการต่างๆ เนื่องจากการท่องเที่ยวประเภทนี้จะต้องคานึงถึงด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวเป็นสาคัญและต้องไม่ส่งผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเนื่องจากน้าพุร้อนจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติประเภทหนึ่งซึ่งหากไม่มีการกาหนดมาตรฐานที่ชัดเจน การดาเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวใดๆอาจส่งผลกระทบต่อแหล่งน้าพุร้อนธรรมชาติได้ นอกจากนี้ การจัดทาเกณฑ์มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพน้าพุร้อนธรรมชาติ ยังมีเป้ าหมายเพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลแหล่งท่องเที่ยวได้นาไปใช้ เป็น เครื่องมือในการตรวจสอบมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวของตนและยังสามารถใช้เป็นข้อมูลที่สาคัญเพื่อประกอบการตัดสินใจ ของนักท่องเที่ยวรวมทั้งเป็นการเพิ่มมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ น้าพุร้อนธรรมชาติของประเทศไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น 8. แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาดหมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีชายหาดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลินและนันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติและอาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาหาความรู้เข้าไปด้วยซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นบริเวณชายหาดได้แก่ การเล่นน้า การอาบแดดกีฬาทางน้าการนั่งพักผ่อนรับประทานอาหาเป็นต้น 9. แหล่งท่องเที่ยวประเภทน้าตก:สถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยวโดยมีน้าตกเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลินและนันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติและ อาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาหาความรู้เข้าไปด้วยซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในแหล่งน้าตกได้แก่ การว่ายน้าการนั่งพักผ่อน รับประทานอาหารการเดินสารวจน้าตกการล่องแก่งการดูนกและการตกปลาเป็นต้น 10.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทถ้า:แหล่งท่องเที่ยวประเภทถ้าหมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีถ้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลินและ
  • 8. ๘ นันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติและอาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาหาความรู้เข้าไปด้วยซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยวประเภทถ้าได้แก่ การเข้าชมบรรยากาศและหินงอกหินย้อยภายในถ้า การศึกษาด้านโบราณคดีของมนุษย์ยุคต่างๆ ที่เคยอาศัยในถ้าการนมัสการพระพุทธรูปการให้อาหารสัตว์การปิกนิกและรับประทานอาหารเป็นต้น 11.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทเกาะการประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวประเภทเกาะสามารถแบ่งได้เป็น3องค์ประกอบ ซึ่งมีจานวนตัวชี้วัดทั้งหมด47ตัวชี้วัดโดยแต่ละตัวชี้วัดมีค่าคะแนนสูงสุดเท่ากับ5คะแนนจึงมีค่าคะแนนรวมทั้งสิ้น235คะแนน โดยการให้คะแนนจะให้ความสาคัญกับองค์ประกอบคุณค่าด้านการท่องเที่ยวและ ความเสี่ยงต่อการถูกทาลายมากที่สุดเนื่องจากเป็นแรงดึงดูดใจสาคัญสาหรับให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวชมแหล่งท่องเที่ยว ส่วนองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการมีความสาคัญของคะแนนรองลงมาและองค์ประกอบด้านศักยภาพในการพัฒนาด้านการท่องเที่ย วมีความสาคัญของคะแนนน้อยที่สุด 12.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติประเภทแก่ง:แหล่งท่องเที่ยวประเภทแก่งหมายถึงสถานที่ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีแก่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาเยือน และมีวัตถุประสงค์เพื่อควาเพลิดเพลินและนันทนาการในรูปแบบที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติโดยมีกิจกรรมการท่องเที่ยวหลักได้แก่ การล่องแก่งการพายเรือการพักแรมและการเดินป่าซึ่งอาจเสริมกิจกรรมเพื่อการศึกษาธรรมชาติเข้าไปด้วยได้แก่การดูนก การสารวจธรรมชาติการศึกษาพันธุ์พืชต่างๆเป็นต้น ประโยชน์จากการท่องเที่ยว คนท้องถิ่นได้รับประโยชน์จากการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวการส่งเสริมท่องเที่ยวช่วยให้เกิดการพัฒนาบริการและ สิ่งอานวยความสะดวกใหม่ให้กับชุมชนรวมทั้งนาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าสู่ชุมชนประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาการท่องเที่ยวอาทิ การยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการปรับปรุงระบบสาธราณสุขและการขนส่งการมีแหล่งสันทนาการและการกีฬาแห่งใหม่การมีร้านอาหาร และ พื้นที่สาธารณะเพิ่มขึ้นรวมถึงการมีตัวเลือกจานวนมากของสินค้าและอาหารที่มีคุณภาพ คุณค่าทางวัฒนธรรมและประเพณีได้รับการทานุบารุงขึ้นมาใหม่การท่องเที่ยวสามารถส่งเสริมการทานุบารุงและ การส่งต่อประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิมรวมทั้งช่วยส่งเสริมการอนุรักษ์และการจัดการอย่างยั่งยืนต่อทรัพยากรทางธรรมชาติ การปกป้ องมรดกของท้องถิ่นและการฟื้นฟูงานฝีมือศิลปะและวัฒนธรรมดั้งเดิมของท้องถิ่นขึ้นมาใหม่ การท่องเที่ยวไม่ได้มีส่วนช่วยด้านการเงินในการอนุรักษ์มรดกท้องถิ่นเพียงอย่างเดียวแต่ยังสนับสนุนทางอ้อมด้วยเช่น การท่องเที่ยวในพื้นที่ห่างไกลในแถบหุบเขาสามารถช่วยให้ชาวเขาตระหนักและฟื้นฟูเพลงท้องถิ่นและการฟ้ อนราแบบดั้งเดิมเอาไว้ได้ การท่องเที่ยวส่งเสริมการมีส่วนร่วมและความภูมิใจของชุมชนการท่องเที่ยวทาให้ชุมชนเรียนรู้คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมแล ะธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อรายได้ การท่องเที่ยวกระตุ้นให้เกิดความภาคภูมิใจในมรดกของท้องถิ่นและของชาติยังผลให้เกิดความใส่ในการอนุรักษ์ การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในด้านการดาเนินงานและ การพัฒนาการท่องเที่ยวเป็นเงื่อนไขสาคัญในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่หลากหลายอย่างยั่งยืน สิ่งเหล่านี้เป็นผลลัพธ์ด้านบวกที่เกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและในทางที่เหมาะสมสิ่งจาเป็นที่ขาดไม่ได้ คือ การมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีทัศนคติเชิงบวกย่อมก่อให้เกิดแรงสนับสนุนที่มากกว่าและโอกาสที่ดีกว่า
  • 9. ๙ ในการพัฒนาและดาเนินการทางการท่องเที่ยวดังนั้นองค์ประกอบสาคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนคือการพัฒนาชุมชน ให้มีส่วนเกี่ยวข้องกับขบวนการตัดสินใจเพื่อพิจารณาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระยะยาวระบบนิเวศน์และ ความเสมอภาคของชุมชน' สถานการณ์การท่องเที่ยวของประเทศไทย ในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตของการท่องเที่ยวทั่วโลกในปี พ.ศ. 2555 ประเทศไทยมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์เช่นเดียวกันโดยมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงถึง 22ล้านคน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าถึงกว่าร้อยละ16และหากคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี 2538เป็นต้นมา จะอยู่ที่ประมาณร้อยละ7.1 โดยที่จะมีนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกเข้ามามากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งอยู่ที่ประมาณ 14.8ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ66ตามมาด้วยภูมิภาคยุโรปที่มีจานวนนักท่องเที่ยวประมาณ5.6ล้านคนหรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25 ของจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในประเทศไทยทั้งหมด นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยนั้นนอกจากเพื่อการท่องเที่ยวแล้วยังมีสัดส่วนของวัตถุประสงค์อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการจัดงานประชุมการทาธุรกิจหรืออื่นๆอย่างการรักษาพยาบาลสูงมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้บทบาทของการท่องเที่ยวจะต้องเชื่อมโยงกับธุรกิจบริการอื่นๆเพิ่มมากขึ้นนักท่องเที่ยวหลักของไทย5 อันดับแรกยังคงเป็นประเทศเอเชียและรัสเซีย ในขณะที่นักท่องเที่ยวจากอเมริกาและยุโรปมีแนวโน้มลดลงอันเป็นผลพวงจากภาวะเศรษฐกิจ นักท่องเที่ยวชาวจีนและรัสเซียเข้ามาประเทศไทยด้วยอัตราการเจริญเติบโตที่สูงมากขึ้นในระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา ส่งผลกระทบในแง่การบริหารจัดการรองรับ ที่ไทยยังขาดความพร้อมภาพรวมทิศทางและแนวโน้มการท่องเที่ยวในอนาคตหน่วยงานองค์การการท่องเที่ยวโลกหรือTheUnited NationsWorldTourismOrganization(UNWTO)ได้ทาการวิเคราะห์แนวโน้มการเติบโตของนักท่องเที่ยวในอนาคตจนถึงปี พ.ศ.2573 ค ).ศ. 2030) ซึ่งอ้างอิงจากข้อมูลในอดีตและปัจจุบันมาคาดการณ์ตัวเลขและแนวโน้มของจานวนนักท่องเที่ยว ดังกล่าวซึ่งจากข้อมูลการวิเคราะห์และการคาดการณ์ในครั้งนี้สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. การเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวจะเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉลี่ยประมาณปีละล้านคน43จนถึงปี พ.ศ.2573 ซึ่งคาดว่าในปี พ.ศ. 2563จะมีจานวนนักท่องเที่ยวอยู่ประมาณพันล้านคน1.4ปี )2553 – 2563จะโตเฉลี่ยประมาณร้อยละและในปี พ(ต่อปี 4.2.ศ. 2573 จะมีจานวนนักท่องเที่ยวถึงประมาณ2ปี)พันล้านคน1.8563 – 2573จะโตประมาณร้อยละต3.3 ่่อปี 2. ในอนาคตแม้ว่าภูมิภาคที่ได้รับความนิยมเดิมอย่างยุโรปหรืออเมริกาจะยังได้รับความนิยมอยู่แต่ความนิยมดังกล่าวอาจจะลดน้อยลง โดยมีการคาดการณ์ว่าตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 จะมีจานวนนักท่องเที่ยวมายังประเทศเกิดใหม่มากกว่าจานวนนักท่องเที่ยวที่จะไปประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งยังมีการคาดการณ์ต่ออีกว่าส่วนแบ่งจานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปยังภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกตะวันออกกลางและแอฟริกา จะเพิ่มมากขึ้นในขณะที่ส่วนแบ่งจากภูมิภาคยุโรปและอเมริกาจะมีสัดส่วนที่ลดลง 3. ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตมากที่สุดโดยมีการคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นกว่า331ล้านคน และจะมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงถึง535ล้านคนในปี พ.ศ.2573หรือเติบโตประมาณร้อยละ4.9ต่อปี
  • 10. ๑๐ โดยสรุปในอนาคตอันใกล้นี้ภูมิภาคเอเชียถือว่าเป็นภูมิภาคสาคัญที่ต้องได้รับการจับตามองมากที่สุดภูมิภาคหนึ่ง เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าจะมีอัตราการเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวที่สูง ซึ่งจะทาให้สัดส่วนของนักท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียสูงขึ้นเมื่อเทียบกับสัดส่วนของนักท่องเที่ยวจากยุโรปที่เพิ่มขึ้น แม้ว่าสัดส่วนตลาดโดยรวมจะยังเป็นของภูมิภาคยุโรปอยู่ก็ตาม สถานการณ์การท่องเที่ยวของโลก ในภาพรวมของการท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปยังคงเป็นภูมิภาคที่นักท่องเที่ยวยังคงให้ความสนใจมากที่สุดอยู่ แต่หากพิจารณาในช่วงหลายปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าภูมิภาคยุโรปได้รับความนิยมที่ลดน้อยลงในขณะที่ภูมิภาคอื่นโดยเฉพาะเอเชีย กลับได้รับความนิยมมากขึ้นโดยมีอัตราการเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียเพิ่มสูงมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด สาเหตุส่วนหนึ่งอาจเกิดมาจากปัจจัยในเรื่องของเศรษฐกิจที่ทาให้นักท่องเที่ยวในภูมิภาคต่างๆ เริ่มมองหาสถานที่ที่มีความคุ้มค่าเพิ่มมากขึ้นส่วนหนึ่งอาจสะท้อนได้จากสัดส่วนของการเดินทางข้ามภูมิภาคที่เพิ่มสูงขึ้น ข้อมูลรายได้จากการท่องเที่ยวที่แสดงให้เห็นว่ามีรายได้ต่อหัวในภูมิภาคเอเชียที่สูงที่สุดอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่าหลายปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นถึงความน่าสนใจของการท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียที่ทาให้นักท่องเที่ยวในการเดินทางเข้ามายังภูมิภาคเอเชียยินดีที่จะจ่าย จากข้อมูลของจานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวในภูมิภาค สามารถกล่าวได้ว่าภูมิภาคเอเชียถือว่าเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของโลกเป็นอย่างมากในปัจจุบันและในอ นาคตอันใกล้นี้ ตารางที่ 1: จํานวนนักท่องเที่ยวระหว่างปี 2549 - 2555 หน่วย:ล้านคน ทวีป 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 โลก อเมริกา 435.7 92.8 529.4 109 676.6 128.2 806.9 133.3 949.1 150.4 994.9 156 1035.3 163.1 ยุโรป 262.7 305.9 388 448.9 485.5 516.4 534.2 เอเชีย/แปซิฟิ ก 55.8 82 110.1 153.6 205.1 218.2 233.6 แอฟริกา ตะวันออกกลาง 14.8 9.6 18.8 13. 26.2 7 24.1 34.8 36.3 49.9 58.2 49.4 54.9 52.4 52
  • 11. ๑๑ ที่มา: The UnitedNationsWorld TourismOrganization(UNWTO)TourismHighlight2013 หากพิจารณาเป็นรายภูมิภาคจะเห็นได้ว่าภูมิภาคยุโรปมีจานวนนักท่องเที่ยวสูงที่สุดโดยมีสัดส่วนกว่าร้อยละ52 (จานวนนักท่องเที่ยวประมาณ534ล้านคน)ตามมาด้วยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกในสัดส่วนร้อยละ23(จานวนนักท่องเที่ยวประมาณ 233 ล้านคน)และอเมริกาในสัดส่วนร้อยละ16ตามลาดับ(จานวนนักท่องเที่ยวประมาณ163ล้านคน)อย่างไรก็ตาม ภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยวสูงที่สุด(อัตราการเติบโตเฉลี่ยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2533 –2555) กลับเป็นภูมิภาคในกลุ่มตะวันออกกลางที่ประมาณร้อยละ8ตามมาด้วยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกที่ประมาณร้อยละ6.7 พัฒนาการของแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมนาเที่ยว ความหมายของทรัพยากรการท่องเที่ยว ทรัพยากรการท่องเที่ยวหมายถึงสถานทีท่องเที่ยวซึ่งรวมถึงสถานทีทีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสถานที่ทีมนุษย์สร้างขึ้น เพื่อเป็นสถานที่ท่องเทียวกิจกรรมและวัฒนธรรมทีสะท้อนให้เห็นถึงอารยธรรมท้องถิ่นที่มีลักษณะเด่น และสามารถดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้ ทรัพยากรท่องเที่ยว“หมายถึงสิ่งหรือสถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้นทั้งที่เป็นรูปธรรมสามารถสัมผัสได้ และนามธรรมที่ไม่สามารถสัมผัสได้ ซึ่งสามารถนามาเป็นสินค้าทางการท่องเที่ยวได้ อีกทั้งเป็นมรดกที่ทรงคุณค่าของชาติ ได้แก่ ความสวยงามทางธรรมชาติคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นภาษา ชนเผ่า ประเพณี ประวัติศาสตร์ และการเรียนรู้ต่างๆ” ความสาคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว 1. เป็นสิ่งดึงดูดใจให้มีการเดินทางท่องเที่ยว 2. เป็นที่มาของรายได้ 3. ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตและทาให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 4. สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ 5. สะท้อนให้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาบรรพชน 6. ก่อให้เกิดการอนุรักษ์และพัฒนา ลักษณะของทรัพยากรการท่องเที่ยว ลักษณะทีสาคัญมี3ประการคือ 1. ดึงดูดความสนใจ 2. เข้าถึงง่าย 3. สร้างความประทับใจ องค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวจะเป็นจุดน่าสนใจของนักท่องเที่ยวต้องประกอบด้วยองค์ประกอบหลายๆ อย่างผสมผสานกันมิลล์ (Mill) และมอร์ริสสัน (Morrison) แหล่งท่องเที่ยวต้องประกอบด้วย สิ่งดึงดูดใจ(Attractions) ในด้านความสวยงามความน่าประทับใจ
  • 12. ๑๒ สิ่งอานวยความสะดวก (Facilities)ในเรื่องที่พักร้านอาหารร้านขายของน่าประทับใจ สิ่งอานวยความสะดวก(Facilities)ในเรื่องที่พัก ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึกร้านซักรีดหรือบริการอื่นๆ ปัจจัยพื้นฐาน(Infrastructure) ในเรื่องระบบการสื่อสารและสาธารณูปโภค การขนส่ง(Transportation)และการต้อนรับอย่างมีมิตรไมตรี (Hospitality)ต่อนักท่องเที่ยว(Mill andMorrison, 1995:201-202) นอกจากนี้มิลล์ (Mill , 1990:22-24)ได้กล่าวคล้ายคลึงกันว่า แหล่งท่องเที่ยวต้องประกอบด้วยองค์ประกอบด้วย องค์ประกอบพื้นฐาน4 ประการคือ สิ่งดึงดูดใจ สิ่งอานวยความสะดวกการขนส่ง และการต้อนรับอย่างมีมิตรไมตรี ในการอธิบายเรื่ององค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวออกเป็น4ประการดังกล่าวมาแล้ว 1. สิ่งดึงดูดใจ สิ่งดึงดูดใจเกิดจากการที่มนุษย์มีประสาทสัมผัสที่ดีเยี่ยม เช่น ดวงตาที่รับภาพสีเหมือนสภาพธรรมชาติ สามารถมองเห็นภาพได้กว้างไกลถึง180 องศามีสมองสามารถรับรู้สิ่งต่างๆ ได้และมีความทรงจามีหูซึ่งได้ยินสิ่งต่างๆ สภาพของร่างกายมนุษย์ซึ่งมีความพร้อมดังกล่าวแล้วเป็นปัจจัยสาคัญในการกระตุ้นให้มนุษย์เกิดการรับรู้ในแหล่งท่องเที่ยว ประกอบกับปัจจุบันมีความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีได้พัฒนาให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางด้านการขนส่ง การสื่อสาร สื่อมวลชนและสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินทางสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสาคัญให้มนุษย์เกิดการรับรู้และต้องการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น สิ่งดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว มีองค์ประกอบที่สาคัญ4ประการได้แก่ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมชาติพันธุ์และการให้ความบันเทิง(Mill,1990:22) 1.1 แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติทุกๆพื้นที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามประทับใจ ซึ่งเกิดจากลักษณะของธรรมชาติเช่นเป็นอ่าวแหลมเกาะ หน้าผาโขดหินฯลฯ ภูมิอากาศ และความสวยงามตามธรรมชาติของพื้นที่นั้นๆ สภาพธรรมชาติเหล่านี้เป็นสิ่งดึงดูดใจให้มนุษย์เดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ภายใต้เงื่อนไขของความแตกต่าง ในเรื่องฉากของธรรมชาติภูมิอากาศและกิจกรรมที่จัดขึ้นความน่าสนใจของแหล่งท่องเที่ยวอาจเกิดขึ้นได้ 2ประการคือ 1.1.1 สถานที่น่าสนใจ(Site)เช่น อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทองจังหวัดสุราษฎร์ธานี อันเป็นบ่อเกิดของทะเลสาบในหุบเขาที่น่าประทับใจและสวยงาม อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงามีภูเขาหมาจูเกาะปันหยีฯลณฯ จังหวัดภูเก็ตมีแหลมพรหมเทพยื่นออกไปจากหน้าผา มุ่งสู่ทะเลลึก มีต้นตาลขึ้นบริเวณปลายแหลม ยามดวงอาทิตย์ตกในเวลาเย็นจึงเป็นภาพที่สวยงามอันเกิดจากมุมมองจากที่สูงลงสู่ทะเล 1.1.2 เหตุการณ์น่าสนใจ(Event)ในบางฤดูกาลจะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรม ของแต่ละสถานที่กิจกรรมนั้นก็กลายเป็นเหตุการณ์ที่น่าสนใจดึงดูดคนมาท่องเที่ยวเช่นประเพณีลอยกระทง และสงกรานต์จังหวัดเชียงใหม่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานีประเพณีไหลเรือไฟจังหวัดนครพนม ประเพณีชักพระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในประเทศไทยมีประเพณีต่างๆ ซึ่งปฎิบัติติดต่อกันมาแต่โบราณมากมาย และกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ ประเพณีดังกล่าวอาจเกิดจากความเชื่อความศรัทธา ที่แตกต่างกัน แต่พอจาแนกประเภทได้ดังนี้ ก.ประเพณีเกิดจากความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีหรือสิ่งลึกลับ(Animism)ก่อให้เกิดประเพณี ฟ้ อนผีมดผีเม็งของภาคเหนือ การแห่ผีตาโขนของอาเภอด่านซ้ายจังหวัดเลยหรือประเพณีการไหว้ผีบ้านผีป่าผีฝายของชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย ข. ประเพณีเกิดจากเรื่องธรรมชาติก่อให้เกิดประเพณีการขอฝนเช่นแห่นางแมว แห่ปลาช่อนแล้วนาปลาช่อนซึ่งหมายถึงพระโพธิสัตว์ปล่อยในแม่น้าทาจังหวัดลาพูนประเพณีบุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร ค. ประเพณีเกิดจากพุทธศาสนา ก่อให้เกิดประเพณีตักบาตรเทโวประเพณีชักพระประเพณีบวชนาค ประเพณีปอยส่างลองของชาวไตจังหวัดแม่ฮ่องสอนประเพณีการแข่งกลองหลวงของชาวไทยยอง ในจังหวัดลาพูน
  • 13. ๑๓ 1.1.2 เหตุการณ์น่าสนใจ(Event) ในบางฤดูกาลจะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรม ของแต่ละสถานที่กิจกรรมนั้นก็กลายเป็นเหตุการณ์ที่น่าสนใจดึงดูดคนมาท่องเที่ยวเช่นประเพณีลอยกระทง และสงกรานต์จังหวัดเชียงใหม่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานีประเพณีไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม ประเพณีชักพระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในประเทศไทยมีประเพณีต่างๆ ซึ่งปฎิบัติติดต่อกันมาแต่โบราณมากมาย และกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ประเพณีดังกล่าอาจเกิดจากความเชื่อความศรัทธาที่แตกต่างกัน แต่พอจาแนกประเภทได้ดังนี้ ก.ประเพณีเกิดจากความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีหรือสิ่งลีลับ(Animism)ก่อให้เกิดประเพณี ฟ้ อนผีมดผีเม็งฟ้ อนผีมด ผีเม็ง ของภาคเหนือการแห่ผีตาโขนของอาเภอด่านซ้ายจังหวัดเลยหรือประเพณีการไหว้ผีบ้านผีป่า ผีฝาย ของชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย ข. ประเพณีเกิดจากเรื่องของธรรมชาติก่อให้เกิดประเพณีการขอฝนเช่นแห่นางแมว แห่ปลาช่อนแล้วนาปลาช่อนแล้วนาปลาช่อนซึ่งหมายถึงพระโพธิ์สัตว์ปล่อยในแม่น้าทา จังหวัดลาพูนประเพณีบุญบั้งจังหวัดยโสธร ค. ประเพณีเกิดจากพุทธศาสนา ก่อให้เกิดประเพณีตักบาตรเทโวประเพณีชักพระประเพณีบวชนาคประเพณีปอยส่งลอง ของชาวไตจังหวัดแม่ฮ่องสอนประเพณีการแข่งขันกลองหลวงของชาวไทยยองในจังหวัดลาพูน ง. ประเพณีเกิดจากศาสนาพราหมณ์ ก่อให้เกิดพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญหรือประเพณีอื่นๆที่เกี่ยวกับราชสานัก บ่อเกิดของประเพณี อาจมีสาเหตุอื่นๆ ประกอบมากกว่านี้และประเพณีแต่ละอย่างที่เกิดขึ้นก็มีการผสมผสานระหว่างความเชื่อ ความศรัทธาหลายๆ อย่างวัฒนธรรมการของชนชาติที่ยาวนานเป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาอดีต เพื่อเข้าในปัจจุบันและวางรากฐานของอนาคตดังนั้นประเพณีจึงมิได้จัดทาขึ้นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างเดียว และการจัดประเพณีเพื่อการท่องเที่ยวก็ไม่ควรทาลายรากฐานของวัฒนธรรมเก่าๆ ความภาคภูมิใจของคนในชาติสาคัญกว่าเงินตราที่ได้มาแล้วต้องนาเงินตราอันนั้นเยียวยาสังคมใหม่ และสภาพจิตใจมนุษย์ ภูมิอากาศเป็นสิ่งดึงดูดใจอย่างหนึ่งในการท่องเที่ยวและเป็นมนต์ขลังทาให้เกิดความประทับใจเรียกร้องให้กลับไปสู่อดีตณ ที่เก่าอีกครั้งหนึ่งนักท่องเที่ยวส่วนมากไปเที่ยวภาคเหนือในฤดูหนาวเพราะอากาศเย็นท้องฟ้ าแจ่มใสมีดอกไม้สวยงามป่าไม้เขียวขจี เพราะได้รับฝนอย่างเต็มที่ในฤดูร้อนเพราะในกรณีของต่างประเทศประชาชนในมลรัฐตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา จะเดินทางไปยังมลรัฐฟลอริดาเพื่ออาบแดดในฤดูร้อนและประชาชนในมลรัฐทางใต้ ซึ่งไม่มีหิมะก็เดินทางไปเล่นสกีที่แถบภูเข่ในมลรัฐโคโลราโดในฤดูหนาวนี้แสดงให้เห็นว่า ภูมิอากาศเป็นตัวกาหนดวัตถุประสงค์ในการเดินทางของนักท่องเที่ยว ที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยวเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งในการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเที่ยง ถ้าที่ตั้งห่างไกลและขาดสิ่งอานวยความสะดวกในการเข้าไปถึงความต้องการเดินทางของนักท่องเที่ยวก็ลดน้อยลง ถึงแม้ว่าสถานที่ท่องเที่ยวจะมีความประทับใจ แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติมีความเปราะบางง่าย(Fragility)สาเหตุสาคัญที่สุดเกิดจากมนุษย์ซึ่งหลงเสน่ห์ในธรรมชาติ ได้ทาลายธรรมชาติได้ทาลายธรรมชาติโดยไม่รู้ตัวหรือบางครั้งก็เจตนาเช่นการเดินทางเข้าไปยังเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า และพักรวมในเวลาค่าคืนตลอดจนส่งเสียงดังย่อมเป็นการรบกวนสัตว์ทั้งในการพักผ่อนการหลับนอนการหาอาหารหรือ แม่แต่การผสมพันธุ์ของสัตว์ต่างๆ อุทยานแห่งชาติทางทะเลบางแห่งจัดเตรียมไว้เพื่อรักษาระบบนิเวศและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้าเช่น เต่าทะเลซึ่งต้องวางไข่ไม่ได้ เพราะมีคนรบกวนแหล่งธรรมชาติควรมีการปิดบางฤดูกาล เพื่อให้มีการพักฟื้น