SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
 
 
 
 
 
 
คำขวัญประจำภาคเหนือ .......... สวยศิลป์ล้านนา เสน่หาทะเลหมอก ทุ่งไม้ดอกสดสวย  ........... ........ ร่ำรวยป่าไม้ งามหลายน้ำตก มรดกประเพณี ชนเผ่ามีมาก  .............. ......  หลากผ้าทอมือ เลื่องลือฟ้อนเล็บ เก็บภาพขันโตก เสน่ห์โลกถิ่นเหนือ ......  คำขวัญประจำภาคเหนือ
ภาคเหนือ ประวัติความเป็นมา บริเวณภาคเหนือตอนบน ของประเทศไทยซึ่งรวมไปถึง ดินแดนบางส่วนของประเทศพม่า จีน ลาว เคยเป็นที่ตั้งของชนกลุ่มหนึ่งที่มีการปกครองเป็นแคว้นอิสระ ในชื่อที่เรียกกันว่า ล้านนากลุ่มบ้านเมืองกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันทั้งในทางการเมือง เชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี และศิลปวัฒนธรรม มีเมืองเชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และมีความเจริญรุ่งเรืองมากในช่วง   พุทธศตวรรษที่  20-21  และได้เสื่อมสลายลงและตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของพม่าในช่วงพุทธศตวรรษที่  22  แต่ได้พยายามกอบกู้เอกราชได้บ้างเป็นครั้งคราว จนถึงพุทธศตวรรษที่  24  ได้ตกเป็นเมืองขึ้นต่อกรุงรัตนโกสินทร์ และได้ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของ ประเทศสยาม ประวัติความเป็นมา
ภาคเหนือมีลักษณะภูมิประเทศที่พื้นที่เป็นภูเขามากกว่าทุกภาค ซึ่งเป็นร้อยละ  78  ของพื้นที่ทั้งหมดในภาคเหนือ   สามารถแบ่งเขตภูมิลักษณ์ได้  3  เขต   1. เขตทิวเขาและภูเขา   2. เขตที่ราบและหุบเขา            3. เขตแอ่งที่ราบ   ลักษณะภูมิประเทศ
มีพื้นที่ประมาณ  93,690,850   ตร . กม .   หรือประมาณ  18.26   ของเนื้อที่ประเทศไทย      ใหญ่เป็นอันดับ   2  ของประเทศ ทิศเหนือ           ติดต่อกับ       ประเทศพม่าและลาว             ทิศใต้              ติดต่อกับ        ภาคกลาง    ทิศตะวันออก      ติดต่อกับ        ประเทศลาว    ทิศตะวันตก         ติดต่อกับ       ประเทศพม่า ภูมิลักษณ์ภาคเหนือ ภูมิลักษณ์ภาคเหนือ
ภาคเหนือมีโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ค่อนข้างซับซ้อน   เนื่องจากจากมีหินตั้งแต่มหายุคที่เก่าแก่ที่สุด จนถึงมหายุคที่ใหม่ที่สุด     ภาคเหนือเกิดจากการยกตัวของเปลือกโลกในมหายุด  Palaozoic   มีโครงสร้างใหญ่ๆเป็นหินแกรนิต ดังนั้นจึงมีความอุดมสมบูรณ์ด้านแร่ธาตุมาก   ในภาคเหนือจะพบหินทรายและหินปูนเป็นจำนวนมาก   รวมถึงหินอัคนีประเภท บะซอลต์ แกรนิต หรือหินแปรประเภท หินไนส์   โครงสร้างทางธรณีวิทยา   โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ภาคเหนือมีลักษณะภูมิอากาศจัดอยู่ในเขตโซนร้อน   แบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูกาล อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของภาคเหนือประมาณ  25   องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุด   ในเดือนเมษายนประมาณ  42   องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคมประมาณ  15   องศาเซลเซียส   ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย   1,230  มิลลิเมตร / ปี โดยมีวันที่ฝนตกปีละประมาณ  110   วัน   เขตที่มีฝนตกน้อยมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย  800-1,000   มิลลิเมตร / ปี   ส่วนเขตที่ฝนตกชุกจะมีปริมาณฝนสูงสุดถึง  2,000   มิลลิเมตร / ปี ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ
ภาคเหนือได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม  2   ชนิด คือ 1 . ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงกลางเดือนตุลาคม ไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์   และบางปีอาจเลยไปถึงกลางเดือนมีนาคม   จะพัดเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย   จัดเป็นช่วงฤดูหนาวมีอากาศแห้งแล้ง   2. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงปลายเดือนกันยายน   พัดพาเอาความชื้นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรจัดเป็นช่วงฤดูฝน  
วัฒนธรรม ประเพณี     ประเพณี  " ยี่เป็ง "   เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนาที่จัดทำขึ้นในวันเพ็ญเดือน  2  ของชาวล้านนา   เป็นภาษาคำเมืองในภาคเหนือ คำว่า  " ยี่ "  แปลว่า สอง และคำว่า  " เป็ง "  ตรงกับคำว่า   " เพ็ญ "  หรือพระจันทร์เต็มดวง   ซึ่งชาวไทยในภาคเหนือจะนับเดือนทางจันทรคติเร็วกว่าไทยภาคกลาง  2   เดือน   เดือน  2   ของไทยล้านนา    ประเพณียี่เป็งจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น  13   ค่ำ ซึ่งถือว่าเป็น  " วันดา "    หรือวันจ่ายของเตรียมไปทำบุญเลี้ยงพระที่วัด และผู้มีศรัทธาก็จะพากันไปถือศีล ฟังธรรม และทำบุญเลี้ยงพระที่วัด   มีการทำกระทงขนาดใหญ่ตั้งไว้ที่ลานวัด    ประเพณียี่เป็ง
งานประเพณีพื้นบ้านในวันเพ็ญเดือน ๑๒   ของชาวล้านนาจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีความเชื่อในการปล่อย   โคมลอยซึ่งทำด้วยกระดาษสาติดบนโครงไม้ไผ่แล้วจุดตะเกียงไฟตรงกลางเพื่อให้ไอความร้อนพาโคมลอยขึ้นไปในอากาศเป็นการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกและเรื่องร้ายๆต่างๆ   ให้ไปพ้นจากตัว   ประเพณีลอยโคม
ประเพณีแข่งเรือล้านนาจะถูกจัดขึ้น เพื่อความสนุกสนานรื่นเริงและเพื่อเชื่อม   ความสามัคคีแล้วยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม   ประเพณี   การแข่งเรือแบบล้านนาในงานจะมีการแข่งขันเรือหลายประเภทคือ เรือใหญ่   เรือกลาง และเรือสวยงาม   โดยเรือที่เข้าแข่งขันทุกลำต้องแต่งหัวเรือเป็นรูปพญานาค   เพื่อคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของเรือแข่งจังหวัดน่าน นอกจากนั้นจะมีการตีฆ้อง   ล่องน่าน - ตีตานแข่งเรือ ซึ่งเป็นประเพณีดั้งเดิมของจังหวัด      ประเพณีแข่งเรือล้านนา
ประเพณีที่งดงามของชาวล้านนาจังหวัดลำปางที่จัดขึ้นในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี   ในงานจะมีการแห่สลุงหลวงหรือขันน้ำตามประเพณีโบราณไปรอบเมือง   เพื่อรับน้ำขมิ้นส้มป่อยจากประชาชนไปสรงแด่พระแก้วดอนเต้า   พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง   ประเพณีแห่สลุงหลวง
ประชากรในภาคเหนือส่วนมากประกอบอาชีพทางการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์และทำป่าไม้ เกษตรกรรมในภาคเหนือจำแนกออกได้                         เกษตรกรรม เกษตรกรรม
เป็นอาชีพหลักของประชากรในภาคเหนือ พืชผลที่สำคัญ   ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีการปลูกตามที่ราบลุ่มที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์ บางแห่งปลูกได้ปีละ  2   ครั้ง นอกจากนี้ยังมีพืชเศรษฐกิจที่ปลูกได้ดีและกระทำกันหนาแน่นในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบหุบเขา   ได้แก่ ยาสูบ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ข้าวฟ่าง ใบชา หอม กระเทียม  การทำนาในภาคเหนือ นิยมการทำนาดำ   เนื่องจากพื้นที่เล็กและเป็นที่เชิงเขา   ดังนั้นต้องมีการสร้างคันนาและเหมืองฝายกันน้ำ   ถือว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในภาคเหนือ   การเพาะปลูก การเพาะปลูก
เป็นอาชีพที่มีความสำคัญรองจาการเพาะปลูก   ภูมิประเทศภาคเหนือเป็นภูเขา   หุบเขาและที่ราบระหว่างภูเขาทำให้พื้นดินมีหญ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์ตลอดปี   สัตว์ที่เลี้ยงมาก ได้แก่ โค กระบือ สุกร   โคเลี้ยงกันมากันโคนมและโคเนื้อ เพื่อผลิตน้ำนมดิบป้อนตลาดภาคเหนือ   การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์
ภาคเหนือมีการประมงน้ำจืดตามแม่น้ำ ลำคลอง หนอง   และบึง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำตามธรรมชาติ และการประมงตามแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น   การประมง การประมง
พื้นที่ของภาคเหนือนั้นมีโครงสร้างทางธรณีฐานเป็นยุคหินเก่าจึงมีทรัพยากรแร่ธาตุหลายชนิด   เช่น พลวง วุลแฟลม ดีบุก ลิกไนต์ แมงกานีส หินน้ำมัน เป็นต้น   แร่ที่มีการขุดพบและนำมาใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ก็มีแร่อื่นๆ ที่พบได้ในหลายจังหวัด   แบ่งเป็นแร่โลหะ และแร่อโลหะ   การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่
อุตสาหกรรมในภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่พึ่งพิงฐานทรัพยากรและมีประเภทอุตสาหกรรมไม่มากนักแต่ก็เริ่มมีความสำคัญมากขึ้น   เป็นลำดับสัดส่วนอุตสาหกรรมต่อผลิตภัณฑ์ภาคเหนือ      เช่น อุตสาหกรรมชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหาร   อุตสาหกรรมถลุงแร่สังกะสี และอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เป็นต้น   อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม
การแบ่งเขตการปกครอง ภูมิประเทศของภาคเหนือเต็มไปขุนเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน โดยเฉพาะบริเวณตอนเหนือสุด เช่น  จังหวัดเชียงราย   เชียงใหม่   แม่ฮ่องสอน  และ น่าน  โดยมีจุดสูงสุดของภาค  ( และของประเทศ )  อยู่ที่ ดอยอินทนนท์  จังหวัดเชียงใหม่ ทางตอนเหนือของภาคนั้นจะมีภาษาไทยที่มีสำเนียงเป็นของตนเองเรียกว่า  คำเมือง ดอยทางภาคเหนือ
จังหวัด ในภาคเหนือ แบ่งตามความคุ้นเคยของชาวไทย และตาม ราชบัณฑิตยสถาน  จะประกอบไปด้วย  9  จังหวัด ได้แก่ เชียงราย   ( โยนกเชียงแสน )  เชียงใหม่   ( นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ )  น่าน   ( นันทบุรีศรีนครน่าน )  พะเยา   ( ภูกามยาว )  แพร่   ( เวียงโกศัย )  แม่ฮ่องสอน   ลำปาง   ( เขลางค์นคร )  ลำพูน   ( หริภุญชัย )  อุตรดิตถ์
นอกจากการแบ่งตามราชบัณฑิตยสถานแล้ว ยังมีหน่วยงานที่จัดแบ่งภูมิภาคของประเทศไทยที่สำคัญอีกหน่วยงานหนึ่งคือ  คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  กำหนดให้ภาคเหนือประกอบด้วย  17  จังหวัดได้แก่  อุตรดิตถ์   ตาก   พิษณุโลก   สุโขทัย   เพชรบูรณ์   พิจิตร   กำแพงเพชร   นครสวรรค์   อุทัยธานี   แพร่   แม่ฮ่องสอน   ลำปาง   ลำพูน   เชียงราย   เชียงใหม่   น่าน   พะเยา
9  จังหวัดแรกในการแบ่งเช่นนี้อาจเรียกว่า  ภาคเหนือตอนบน  ซึ่งส่วนใหญ่เคยเป็นที่ตั้งของ อาณาจักรล้านนา มาก่อน  ( สำหรับ จังหวัดอุตรดิตถ์ และ จังหวัดตาก เคยเป็นบางส่วน )  และมีภาษาถิ่นเป็น คำเมือง  ส่วนจังหวัดที่เหลืออาจเรียกว่า  ภาคเหนือตอนล่าง  ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ จังหวัดพิษณุโลก และ จังหวัดนครสวรรค์  อันเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สำคัญ
ความเชื่อ ความเชื่อในเรื่องพระพุทธศาสนา   ความเชื่อเรื่องการเกิด   ความเชื่อเรื่องการแก่   ความเชื่อเรื่องการตาย ความเชื่อเรื่องการขนทรายเข้าวัด   ความเชื่อเรื่องการทานก๋วยสลากฯ   ความเชื่อเรื่องตุง และการถวายโคมไฟ   ความเชื่อเรื่องโชคลาภ   ความเชื่อการให้ทาน   ความเชื่อเรื่องการปล่อยโคมลอย  ความเชื่อ
พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา   พิธีกรรมการสู่ขวัญ   พิธีกรรมการขอฝน   พิธีกรรมเมื่อมีการเกิด   พิธีกรรมเมื่อถึงวัยชรา   พิธีกรรมเกี่ยวกับการตาย พิธีกรรม   พิธีกรรม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เทือกเขาที่สำคัญของภาคเหนือ
เทศบาลนครในภาคเหนือ   เทศบาลนครเชียงใหม่    เทศบาลนครเชียงราย   เทศบาลนครลำปาง   เทศบาลนครพิษณุโลก   เทศบาลนครนครสวรรค์   เทศบาลนครในภาคเหนือ
            อาหารภาคเหนือ     อาหารภาคเหนือ ส่วนใหญ่รสชาติ ไม่จัด  ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหาร   ความหวาน จะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้นๆ  เช่น   ผัก    ปลา    และนิยมใช้   ถั่วเน่าในการปรุงอาหาร              น้ำพริกอ่อง  น้ำพริกหนุ่ม       คนเหนือมีน้ำพริกรับประทานหลายชนิด อาทิ น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง   ผักที่ใช้จิ้มส่วนมากเป็นผักนึ่ง
           ส่วนอาหารที่รู้จักกันดีได้แก่    ขนมจีนน้ำเงี้ยว   ที่มีเครื่องปรุงสำคัญ   ขาดไม่ได้คือ    ดอกงิ้ว   ซึ่งเป็นดอกนุ่มที่ตากแห้ง    ถือเป็นเครื่องเทศพื้นบ้านที่มีกลิ่นหอม    หรืออย่างตำขนุน  แกงขนุน  ที่มีส่วนผสมเป็นผักชนิดอื่น     เช่น   ใบชะพลู ชะอม และมะเขือส้ม   ขนมจีนน้ำเงี้ยว
http://th.wikipedia.org/wiki แหล่งอ้างอิง http://www.marut23.ob.tc/pn.htm
ผู้จัดทำ สิ้นสุดการนำเสนอ

More Related Content

What's hot

ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางtonsocial
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวsiriyakon14
 
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดsangkeetwittaya stourajini
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (17)

ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
สุราษฏร์ธานี
สุราษฏร์ธานีสุราษฏร์ธานี
สุราษฏร์ธานี
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 

Similar to ภาคเหนือเจ้า3

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าjarudee
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxpinglada1
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxpinglada1
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านkrunoony
 
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือZeeZa Blackslott
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวToeykhanittha
 
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายOraya Saekhu
 
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdflouiskuplouiskup
 

Similar to ภาคเหนือเจ้า3 (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
 
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
7
77
7
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
จังหวัดลำปาง
 จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง
จังหวัดลำปาง
 
Pp
PpPp
Pp
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว
 
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
 
3
33
3
 
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 

ภาคเหนือเจ้า3

  • 1.  
  • 2.  
  • 3.  
  • 4.  
  • 5.  
  • 6.  
  • 7. คำขวัญประจำภาคเหนือ .......... สวยศิลป์ล้านนา เสน่หาทะเลหมอก ทุ่งไม้ดอกสดสวย ........... ........ ร่ำรวยป่าไม้ งามหลายน้ำตก มรดกประเพณี ชนเผ่ามีมาก .............. ...... หลากผ้าทอมือ เลื่องลือฟ้อนเล็บ เก็บภาพขันโตก เสน่ห์โลกถิ่นเหนือ ...... คำขวัญประจำภาคเหนือ
  • 8. ภาคเหนือ ประวัติความเป็นมา บริเวณภาคเหนือตอนบน ของประเทศไทยซึ่งรวมไปถึง ดินแดนบางส่วนของประเทศพม่า จีน ลาว เคยเป็นที่ตั้งของชนกลุ่มหนึ่งที่มีการปกครองเป็นแคว้นอิสระ ในชื่อที่เรียกกันว่า ล้านนากลุ่มบ้านเมืองกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันทั้งในทางการเมือง เชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี และศิลปวัฒนธรรม มีเมืองเชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และมีความเจริญรุ่งเรืองมากในช่วง   พุทธศตวรรษที่ 20-21 และได้เสื่อมสลายลงและตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของพม่าในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 แต่ได้พยายามกอบกู้เอกราชได้บ้างเป็นครั้งคราว จนถึงพุทธศตวรรษที่ 24 ได้ตกเป็นเมืองขึ้นต่อกรุงรัตนโกสินทร์ และได้ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของ ประเทศสยาม ประวัติความเป็นมา
  • 9. ภาคเหนือมีลักษณะภูมิประเทศที่พื้นที่เป็นภูเขามากกว่าทุกภาค ซึ่งเป็นร้อยละ 78 ของพื้นที่ทั้งหมดในภาคเหนือ สามารถแบ่งเขตภูมิลักษณ์ได้ 3 เขต 1. เขตทิวเขาและภูเขา 2. เขตที่ราบและหุบเขา           3. เขตแอ่งที่ราบ ลักษณะภูมิประเทศ
  • 10. มีพื้นที่ประมาณ 93,690,850 ตร . กม .   หรือประมาณ 18.26 ของเนื้อที่ประเทศไทย     ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ ทิศเหนือ          ติดต่อกับ       ประเทศพม่าและลาว             ทิศใต้              ติดต่อกับ      ภาคกลาง   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ      ประเทศลาว   ทิศตะวันตก       ติดต่อกับ       ประเทศพม่า ภูมิลักษณ์ภาคเหนือ ภูมิลักษณ์ภาคเหนือ
  • 11. ภาคเหนือมีโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ค่อนข้างซับซ้อน เนื่องจากจากมีหินตั้งแต่มหายุคที่เก่าแก่ที่สุด จนถึงมหายุคที่ใหม่ที่สุด   ภาคเหนือเกิดจากการยกตัวของเปลือกโลกในมหายุด Palaozoic มีโครงสร้างใหญ่ๆเป็นหินแกรนิต ดังนั้นจึงมีความอุดมสมบูรณ์ด้านแร่ธาตุมาก ในภาคเหนือจะพบหินทรายและหินปูนเป็นจำนวนมาก รวมถึงหินอัคนีประเภท บะซอลต์ แกรนิต หรือหินแปรประเภท หินไนส์ โครงสร้างทางธรณีวิทยา โครงสร้างทางธรณีวิทยา
  • 12. ภาคเหนือมีลักษณะภูมิอากาศจัดอยู่ในเขตโซนร้อน แบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูกาล อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของภาคเหนือประมาณ 25 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุด ในเดือนเมษายนประมาณ 42 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคมประมาณ 15 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,230 มิลลิเมตร / ปี โดยมีวันที่ฝนตกปีละประมาณ 110 วัน เขตที่มีฝนตกน้อยมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 800-1,000 มิลลิเมตร / ปี ส่วนเขตที่ฝนตกชุกจะมีปริมาณฝนสูงสุดถึง 2,000 มิลลิเมตร / ปี ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ
  • 13. ภาคเหนือได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ชนิด คือ 1 . ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงกลางเดือนตุลาคม ไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ และบางปีอาจเลยไปถึงกลางเดือนมีนาคม จะพัดเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย จัดเป็นช่วงฤดูหนาวมีอากาศแห้งแล้ง 2. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงปลายเดือนกันยายน พัดพาเอาความชื้นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรจัดเป็นช่วงฤดูฝน  
  • 14. วัฒนธรรม ประเพณี     ประเพณี " ยี่เป็ง " เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนาที่จัดทำขึ้นในวันเพ็ญเดือน 2 ของชาวล้านนา เป็นภาษาคำเมืองในภาคเหนือ คำว่า " ยี่ " แปลว่า สอง และคำว่า " เป็ง " ตรงกับคำว่า " เพ็ญ " หรือพระจันทร์เต็มดวง ซึ่งชาวไทยในภาคเหนือจะนับเดือนทางจันทรคติเร็วกว่าไทยภาคกลาง 2 เดือน เดือน 2 ของไทยล้านนา    ประเพณียี่เป็งจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 13 ค่ำ ซึ่งถือว่าเป็น " วันดา "   หรือวันจ่ายของเตรียมไปทำบุญเลี้ยงพระที่วัด และผู้มีศรัทธาก็จะพากันไปถือศีล ฟังธรรม และทำบุญเลี้ยงพระที่วัด มีการทำกระทงขนาดใหญ่ตั้งไว้ที่ลานวัด   ประเพณียี่เป็ง
  • 15. งานประเพณีพื้นบ้านในวันเพ็ญเดือน ๑๒ ของชาวล้านนาจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีความเชื่อในการปล่อย โคมลอยซึ่งทำด้วยกระดาษสาติดบนโครงไม้ไผ่แล้วจุดตะเกียงไฟตรงกลางเพื่อให้ไอความร้อนพาโคมลอยขึ้นไปในอากาศเป็นการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกและเรื่องร้ายๆต่างๆ ให้ไปพ้นจากตัว ประเพณีลอยโคม
  • 16. ประเพณีแข่งเรือล้านนาจะถูกจัดขึ้น เพื่อความสนุกสนานรื่นเริงและเพื่อเชื่อม ความสามัคคีแล้วยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี   การแข่งเรือแบบล้านนาในงานจะมีการแข่งขันเรือหลายประเภทคือ เรือใหญ่ เรือกลาง และเรือสวยงาม   โดยเรือที่เข้าแข่งขันทุกลำต้องแต่งหัวเรือเป็นรูปพญานาค เพื่อคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของเรือแข่งจังหวัดน่าน นอกจากนั้นจะมีการตีฆ้อง ล่องน่าน - ตีตานแข่งเรือ ซึ่งเป็นประเพณีดั้งเดิมของจังหวัด     ประเพณีแข่งเรือล้านนา
  • 17. ประเพณีที่งดงามของชาวล้านนาจังหวัดลำปางที่จัดขึ้นในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ในงานจะมีการแห่สลุงหลวงหรือขันน้ำตามประเพณีโบราณไปรอบเมือง เพื่อรับน้ำขมิ้นส้มป่อยจากประชาชนไปสรงแด่พระแก้วดอนเต้า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ประเพณีแห่สลุงหลวง
  • 19. เป็นอาชีพหลักของประชากรในภาคเหนือ พืชผลที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีการปลูกตามที่ราบลุ่มที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์ บางแห่งปลูกได้ปีละ 2 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีพืชเศรษฐกิจที่ปลูกได้ดีและกระทำกันหนาแน่นในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบหุบเขา ได้แก่ ยาสูบ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ข้าวฟ่าง ใบชา หอม กระเทียม การทำนาในภาคเหนือ นิยมการทำนาดำ เนื่องจากพื้นที่เล็กและเป็นที่เชิงเขา ดังนั้นต้องมีการสร้างคันนาและเหมืองฝายกันน้ำ ถือว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในภาคเหนือ การเพาะปลูก การเพาะปลูก
  • 20. เป็นอาชีพที่มีความสำคัญรองจาการเพาะปลูก ภูมิประเทศภาคเหนือเป็นภูเขา หุบเขาและที่ราบระหว่างภูเขาทำให้พื้นดินมีหญ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์ตลอดปี สัตว์ที่เลี้ยงมาก ได้แก่ โค กระบือ สุกร โคเลี้ยงกันมากันโคนมและโคเนื้อ เพื่อผลิตน้ำนมดิบป้อนตลาดภาคเหนือ การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์
  • 21. ภาคเหนือมีการประมงน้ำจืดตามแม่น้ำ ลำคลอง หนอง และบึง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำตามธรรมชาติ และการประมงตามแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น การประมง การประมง
  • 22. พื้นที่ของภาคเหนือนั้นมีโครงสร้างทางธรณีฐานเป็นยุคหินเก่าจึงมีทรัพยากรแร่ธาตุหลายชนิด เช่น พลวง วุลแฟลม ดีบุก ลิกไนต์ แมงกานีส หินน้ำมัน เป็นต้น แร่ที่มีการขุดพบและนำมาใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ก็มีแร่อื่นๆ ที่พบได้ในหลายจังหวัด แบ่งเป็นแร่โลหะ และแร่อโลหะ การทำเหมืองแร่ การทำเหมืองแร่
  • 23. อุตสาหกรรมในภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่พึ่งพิงฐานทรัพยากรและมีประเภทอุตสาหกรรมไม่มากนักแต่ก็เริ่มมีความสำคัญมากขึ้น   เป็นลำดับสัดส่วนอุตสาหกรรมต่อผลิตภัณฑ์ภาคเหนือ     เช่น อุตสาหกรรมชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมถลุงแร่สังกะสี และอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เป็นต้น อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม
  • 24. การแบ่งเขตการปกครอง ภูมิประเทศของภาคเหนือเต็มไปขุนเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน โดยเฉพาะบริเวณตอนเหนือสุด เช่น จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และ น่าน โดยมีจุดสูงสุดของภาค ( และของประเทศ ) อยู่ที่ ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ทางตอนเหนือของภาคนั้นจะมีภาษาไทยที่มีสำเนียงเป็นของตนเองเรียกว่า คำเมือง ดอยทางภาคเหนือ
  • 25. จังหวัด ในภาคเหนือ แบ่งตามความคุ้นเคยของชาวไทย และตาม ราชบัณฑิตยสถาน จะประกอบไปด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย ( โยนกเชียงแสน ) เชียงใหม่ ( นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ ) น่าน ( นันทบุรีศรีนครน่าน ) พะเยา ( ภูกามยาว ) แพร่ ( เวียงโกศัย ) แม่ฮ่องสอน ลำปาง ( เขลางค์นคร ) ลำพูน ( หริภุญชัย ) อุตรดิตถ์
  • 26. นอกจากการแบ่งตามราชบัณฑิตยสถานแล้ว ยังมีหน่วยงานที่จัดแบ่งภูมิภาคของประเทศไทยที่สำคัญอีกหน่วยงานหนึ่งคือ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กำหนดให้ภาคเหนือประกอบด้วย 17 จังหวัดได้แก่ อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา
  • 27. 9 จังหวัดแรกในการแบ่งเช่นนี้อาจเรียกว่า ภาคเหนือตอนบน ซึ่งส่วนใหญ่เคยเป็นที่ตั้งของ อาณาจักรล้านนา มาก่อน ( สำหรับ จังหวัดอุตรดิตถ์ และ จังหวัดตาก เคยเป็นบางส่วน ) และมีภาษาถิ่นเป็น คำเมือง ส่วนจังหวัดที่เหลืออาจเรียกว่า ภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ จังหวัดพิษณุโลก และ จังหวัดนครสวรรค์ อันเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สำคัญ
  • 28. ความเชื่อ ความเชื่อในเรื่องพระพุทธศาสนา ความเชื่อเรื่องการเกิด ความเชื่อเรื่องการแก่ ความเชื่อเรื่องการตาย ความเชื่อเรื่องการขนทรายเข้าวัด ความเชื่อเรื่องการทานก๋วยสลากฯ ความเชื่อเรื่องตุง และการถวายโคมไฟ ความเชื่อเรื่องโชคลาภ ความเชื่อการให้ทาน ความเชื่อเรื่องการปล่อยโคมลอย ความเชื่อ
  • 29. พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา พิธีกรรมการสู่ขวัญ พิธีกรรมการขอฝน พิธีกรรมเมื่อมีการเกิด พิธีกรรมเมื่อถึงวัยชรา พิธีกรรมเกี่ยวกับการตาย พิธีกรรม พิธีกรรม
  • 30.
  • 31. เทศบาลนครในภาคเหนือ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครเชียงราย เทศบาลนครลำปาง เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครในภาคเหนือ
  • 32.            อาหารภาคเหนือ    อาหารภาคเหนือ ส่วนใหญ่รสชาติ ไม่จัด  ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหาร ความหวาน จะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้นๆ เช่น   ผัก   ปลา    และนิยมใช้ ถั่วเน่าในการปรุงอาหาร          น้ำพริกอ่อง น้ำพริกหนุ่ม      คนเหนือมีน้ำพริกรับประทานหลายชนิด อาทิ น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง ผักที่ใช้จิ้มส่วนมากเป็นผักนึ่ง
  • 33.            ส่วนอาหารที่รู้จักกันดีได้แก่   ขนมจีนน้ำเงี้ยว   ที่มีเครื่องปรุงสำคัญ ขาดไม่ได้คือ   ดอกงิ้ว   ซึ่งเป็นดอกนุ่มที่ตากแห้ง    ถือเป็นเครื่องเทศพื้นบ้านที่มีกลิ่นหอม   หรืออย่างตำขนุน  แกงขนุน  ที่มีส่วนผสมเป็นผักชนิดอื่น    เช่น ใบชะพลู ชะอม และมะเขือส้ม   ขนมจีนน้ำเงี้ยว