SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ตารางที่ 4 ตัวอย่างของเว็บบริการที่จัดโดยบริษัทชั้นนาเพื่อลูกจ้างของพวกเขา
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
บริษัท เว็บบริการที่จัดให้ .
เจนเนอรัล มอเตอร์ ระบบบริการตนเองรวมทั้ง(เช็คเงินค่าจ้าง ที่อยู่ที่ทันสมัยและติดต่อสารสนเทศและการทบทวนผลประโยชน์ทางบัญชี
การเงินออนไลน์)โปรแกรมรีไทน์อัตโนมัติ
ซิสโก้ บริการตนเอง (เครื่องใช้สานักงาน, โทรศัพท์เคลื่อนที่)
โปรแกรมรักษาสุขภาพ,โปรแกรมผลประโยชน์
ฝอร์ดมอเตอร์ โปรแกรมรักษาสุขภาพ(สารสนเทศทางยา, จัดให้มีเครือข่ายรักษาสุขภาพ )
เอสทีไมโครอีเล็คโทรนิค ท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับระบบงาน, การแจ้งราคาหุ้น ปฏิทินกลุ่ม
บีที ระบบการเรียนทางอีเล็คโทรนิค(การเรียนออนไลน์...)
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3.2.1.3 การค้นหา เอกสารที่ผู้ริเริ่มเป็นลูกจ้างหุ้นส่วน
ลูกค้าและคู่แข่งขันเป็นผู้มีความสาคัญทางสารสนเทศมากสามารถทาให้องค์การเหลืออยู่ทั่วไปสถานแพร่หลายในที่มากม
าย ด้วยเหตุผลนี้การรวมกันค้นหาความสามารถตรงกันข้ามในคลังสารสนเทศที่มากมายเป็นสิ่งจาเป็น
3.2.1.4 ทาให้เป็นตัวของตัวเอง
ไม่เพียงแต่ความสามารถของผู้ใช้ที่จะปรับปรุงตัวประสานและสิทธิพิเศษโดยเฉพาะของพวกเขาแต่เป็นความสามารถของ
ระบบเช่นเดียวกันที่ใช้สารสนเทศที่เต็มไปด้วยพลังส่งรายละเอียดพิเศษให้ผู้ใช้เพื่อจุดประสงค์ที่จะให้เกี่ยวพันกับสารสนเท
ศมากที่สุดเพื่อการปฏิบัติงานของพวกเขาการทาให้เป็นตัวของตัวเองรวมทั้งผลักและดึงเทคโนโลยี
3.2.1.5 การรวมตัวกัน
ความสามารถในการเสนอการรวมเข้าด้วยกันของสารสนเทศบริษัทที่รวมสารสนเทศจากคลังขององค์การที่แตกต่างกัน
แทนที่จะมีสารสนเทศองค์การที่มีแหล่งที่มาตรงข้ามกันภายในองค์การ
3.2.1.6 การทางานร่วมกัน
ช่องทางเข้าสู่การทางานร่วมกันสามารถที่จะให้องค์การมีส่วนร่วมความสามารถในการริเริ่มที่แบ่งปันชุมชน
เพราะเขาเสนอสถานที่ชุมนุมที่เป็นธรรมชาติสาหรับการทางานร่วมกันออนไลน์
โดยการรวบรวมจัดวางรายละเอียดและการบริการที่สมาชิมในกลุ่มมีการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ
การร่วมกันทางานสามารถมีข้อกาหนดเสนอหนทางเข้าสู่การบริการเช่นการปรึกษาหารือที่ต่อเนื่องเครื่องมือ
เครื่องมือโครงการการจัดการเช่นบัญชีรายชื่องานปฏิทินการแบ่งเอกสารหรือส่งข้อความแทน
3.2.2. ความสามารถในการสนับสนุน
เครื่องมือที่สาคัญเหล่านี้จาเป็นสาหรับการทาหน้าที่ที่ดีของช่องทางเข้าสู่การทางานรวมกันและประกอบด้วยความปลอดภั
ย ประวัติย่อและการวัด
3.2.2.1 ความปลอดภัย ความสามารถที่จะเข้าถึงความปลอดภัยมีหลากหลายระดับของแหล่งที่มาซึ่งขัดแย้งกัน
การควบคุมความปลอดภัยเป็นเรื่องใหญ่มากที่ท้าทายสาหรับหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน
3.2.2.2 ประวัติย่อ เทคนิคเป้ าหมายในการส่งสารสนเทศให้เป็นส่วนตัวถึงผู้ใช้ขึ้นอยู่กับประวัติย่อ 2
เทคนิคที่สามารถใช้ได้ : ประวัติย่อที่เปิดเผยบนพื้นฐานสิทธิพิเศษของผู้ใช้
หรือประวัติย่อที่เปิดเผยบนพื้นฐานของข้อมูลที่ได้รับจากทรัพยากรมนุษย์
3.2.2.3 ความสามารถในการขยายระบบเครือข่าย
ความสะดวกนี้สามารถขยายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ใช้หรือสามารถปรับปรุงให้เหมาะสมกับปัญหาพื้นที่
3.2.2.4 เว็บบริการ ระดับที่กว้างของการบริการที่แน่นอนว่าสามารถจัดให้ผู้ใช้จัดลาดับจากการวิเคราะห์
ข่าวจากตลาดอีเล็คโทรนิคซึ่งบริษัทเสนอลดราคาผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถต่อรองกับผู้ขายแล้วให้ลูกจ้าง ตารางที่
4 แสดงบางตัวอย่างของเว็บบริการที่บริษัทจัดให้ลูกจ้างของตน
3.3 ช่องทางสนับสนุนขั้นตอนความรู้
การวิเคราะห์แสดงประโยชน์หลายอย่างของช่องทางการรวมกลุ่ม
แต่เราคิดว่าหน้าที่ที่สาคัญที่สุดของช่องทางอยู่ที่ความสามารถที่จะเกิดในเวลาเดียวกันและสนับสนุนระยะการพัฒนาควา
มรู้
เราคิดว่าช่องทางการทางานร่วมกันของเทคโนโลยีถ้าสร้างถูกต้องควบคุมการให้สัญญาที่จะเป็นมันสมองขององค์การที่สา
มารถจัดหาลูกจ้างกับความรู้ทั้งหมดและสารสนเทศที่สาคัญต้องการความสาเร็จในการทางานร่วมกัน
เครื่องมือของช่องทางเข้าจะถูกมองเหมือนระบบกลไกใหญ่ขึ้นและการเชื่อมต่อภายในแหล่งที่มา ดังนั้น
สารสนเทศสามารถทาให้กระจายกลมกลืนกับความต้องการขององค์การสาหรับบุคคลและทีมการจัดการ
และมีการตอบสนองเร็วต่อการเปลี่ยนแปลง วงจรชีวิตของพื้นฐานความรู้แสดงในภาพที่1
เราวิเคราะห์ว่าความแตกต่างที่ไม่สาคัญของช่องทางเข้าสามารถสนับสนุนขั้นตอนที่เป็นหัวใจของวงจรชีวิตของความรู้
3.3.1 การก่อให้เกิดความรู้
การก่อให้เกิดความรู้ต้องการเครื่องมือที่สามารถมีผลที่ได้รับ,
การรวมกันของความคิดที่ต่างกันและการสร้างความรู้ต่อไปนี้จะเน้นช่องทางเข้าที่ไม่สาคัญตามตารางที่5
สนับสนุนขั้นตอนที่ก่อให้เกิดความรู้
3.3.2 ขั้นตอนการเก็บรักษา
ในขั้นนี้องค์การควรจะแบ่งประเภทกรองความรู้และเพิ่มไปในหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ขององค์การ
ความรู้ที่เก็บรักษาไว้ทาด้วยมือพื้นฐานข้อมูลกรณีศึกษา
รายงานและเหตุการณ์ต่างๆในขั้นตอนทางานร่วมกันและกฎเกณฑ์ทั่วไปทาขึ้นหนึ่งคอลัมน์ของกิจกรรมหลัก
คอลัมน์อื่นประกอบด้วยความรู้ที่เก็บรักษาไว้ในสมองของลูกจ้างเป็นพันๆคนผู้ทิ้งไว้แต่ละคนเมื่อสิ้นสุดการทางานแต่ละวั
นในองค์การ หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันรวมทั้งส่วนประกอบต่างๆที่สนับสนุนขั้นตอนเก็บรักษา (ตารางที่6)
ตารางที่ 15 ส่วนประกอบของหนทางเข้าที่ไม่สาคัญสนับสนุนการเกิดความรู้
ส่วนประกอบ คาอธิบาย การขอให้อธิบาย .
การสื่อสาร/ ผู้ใช้ชุดเครื่องมือใช้สาหรับ การใช้การติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ(การสื่อสารที่ใช่ถี่ๆมักจะถูกจัดให้เพิ่ม
การส่งข้อความ การสื่อสารกับบุคคลอื่น รวมทั้ง ประสิทธิภาพ)
เว็บฐานอี-เมล์การแสดง การศึกษา/ความสามารถใช้เครื่องมือและขั้นตอน
ความเห็นต่อกรรมการ การรวมตัวกันของเครื่องมือที่มีอยู่ในธุรกิจทางเข้าสู่การนาเสนอ
เครื่องมือพูดคุยและส่งข้อความด่วน
ระบบงานที่แบ่งปัน เส้นทางหลักมากต้องแบ่งปันและ การจัดการของวิธีการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานในการจัดส่งผ่านข้อมูลระหว่าง
อยู่ร่วมกันในระบบที่มีระยะทาง เครื่องคอมพิวเตอร์และความกว้างของช่วงคลื่นและสัญญาณในเครือข่าย
รวมทั้งการพบปะกันในที่เว็บ คอมพิวเตอร์ที่ถูกบังคับ
พื้นฐานใช้สะดวก ต้องใช้ให้การจัดเอกสารเพิ่มขึ้น(ไม่ใช่การแทนที่)และเห็นชอบกับกระแสงาน
ทาให้แน่ใจว่า เป็นมาตรฐาน”รูปลักษณ์และการใช้งาน”สาหรับทางเข้าสู่
ระบบงาน
การสร้างชุมชน สร้างชุมชนเสมือนจริง ควบคุมการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของชุมชน บางแห่งต้องควบคุมที่เป็นจุดรวม
(โอกาสทางานร่วมกัน) จัดเตรียมผู้นาชุมชน ชี้ตัวคนพิเศษที่จะนาชุมชน(เช่นเป็นประธานในที่ประชุม)
ชุมชนอาจกลับมามีความขัดแย้งกับแผนผังองค์การและมีเส้นทางอานาจ
ชุมชนอาจเป็นตัวแทนสาคัญที่เปลี่ยนวัฒนธรรม
ตารางที่ 6 ส่วนประกอบของหนทางสู่ทางเข้าที่ไม่สาคัญสนับสนุนขั้นตอนการเก็บรักษา
ส่วนประกอบ คาอธิบาย คาขอให้อธิบาย .
การเก็บรักษา นี่เป็นบริการหลักเป็นประเพณีที่บริการโดย การเก็บรักษาและบริการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจะทาให้เห็นเด่นชัด
ผู้เชี่ยวชาญในระบบและประสิทธิภาพของ และแทรกข่าวใหม่ที่สาคัญในชั้นที่แตกต่างของระบบการจัดการความรู้
คอมพิวเตอร์ที่ทางานได้เท่าเทียมมันสมองมนุษย์ ร่วมกัน
จุดมุ่งหมายของการเปลี่ยนแปลงสารสนเทศไปเป็น
ความรู้ที่มีค่าโดยเตรียมผู้ช่วยเหลือที่มีสติปัญญาให้ผู้ใช้
และเกิดขึ้นร่วมกับความสาเร็จของงาน
การเก็บข้อมูล ความสามารถในการจัดการด้วยคนหรือดัชนี ระบุเอกสารถูกต้องให้ผู้อ่าน
สารสนเทศอัตโนมัติ(ทั้งรายละเอียดและคาขยายความ)
จัดให้ง่ายต่อการใช้ส่วนประกอบการสร้างวิธีปฏิบัติ
วงจรชีวิตการจัดการ รวมทั้งความสามารถในการเก็บรักษาข้อมูล ค่อยๆสั่งสอนให้แต่ละคนมีความรับผิดชอบในการ
อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ เก็บรักษาสารสนเทศส่วนตัว
ทันทีตลอดเวลา
3.3.3 ขั้นตอนทาให้กระจาย
ความรู้ต้องการกระจายและแบ่งปันตลอดทั้งองค์การ
ก่อนที่จะสามารถใช้ประโยชน์ระดับองค์การ(โนนากะ&ทาเคชิ1995)
อะไรที่ขยายความสาเร็จอย่างมั่นคงในการขยายความรู้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมองค์การและปริมาณความรู้ที่มีประโยชน์ในกา
รปฏิบัติงานที่สามารถทาให้มั่นคง
หนทางเข้าสู่ทางเข้าในการทางานร่วมกันรวมทั้งส่วนประกอบต่างๆที่สนับสนุนขั้นตอนการกระจาย (ตารางที่7)
3.3.4 ขั้นตอนการใช้
ในขั้นระบบงาน ความรู้ของผู้ทางานในองค์การอาจจะใช้ความรู้จากการค้นคืนในการปฏิบัติเช่นแก้ปัญหา
ตัดสินใจ การวิจัยแนวความคิดและการเรียนรู้ ระบบงานความรู้เป็นงานที่จาเป็นที่สุดของการจัดการความรู้
หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันรวมทั้งส่วนประกอบมากมายที่สะดวกในขั้นตอนมาใช้ (ตารางที่8)
การวิจัยชี้ว่าหลายบริษัทยังเริ่มต้นที่ความพยายามหาทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน
และประสบการณ์แสดงว่าความต้องการของพวกเขาที่จะมีหลากหลายเท่าธุรกิจของเขาตามจริง
มีองค์ประกอบหลายอย่างที่จะยับยั้งการรับความรู้เรื่องหนทางเข้ามาใช้โดยบริษัท
และการทาระบบความรู้เรื่องการจัดการให้เป็นผลสาเร็จไม่ใช่การชักนาด้วยความเต็มใจอัตโนมัติที่จะแบ่งปันข้อมูลสารสน
เทศและสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีสติปัญญาใหม่(กอทท์ชอล์ค2000) รายงานเคพีเอ็มจีพบว่า
ขณะที่องค์การหลายแห่งมีความจาเป็นที่ต้องใช้เทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานในที่สนับสนุนการจัดการความรู้ ในระบบที่ไม่
มีศูนย์รวมเป็นหนึ่งเดียว(พาร์ลบาย 1997) ในอีกทางหนึ่ง
บริษัทอาจจะไม่ได้รับประโยชน์เต็มศักยภาพของเทคโนโลยีที่พวกเขาผ่านขั้นตอนเรียบร้อย
4.องค์ประกอบที่ขัดขวางการใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน
มีส่วนประกอบ3 ลาดับ: ลักษณะของผู้บริหาร
เทคนิคและสังคมที่กระตุ้นหรือขัดขวางในความสาเร็จของการใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน(ดูรูปที่2)
ตารางที่ 7 ส่วนประกอบที่ไม่สาคัญของหนทางเข้าสู่การสนับสนุนขั้นตอนการกระจาย
ส่วนประกอบ คาอธิบาย คาขอให้อธิบาย .
ประวัติย่อ ส่วนประกอบสาคัญที่จัดเตรียม การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวพันกับบุคคล
กรองสารสนเทศสาหรับสไตล์การทางาน
ของแต่ละคน การนาส่งพฤติกรรมของคน
ที่มีความเป็นตัวขิงตัวเองสูง ในอีกทางหนึ่ง
ประวัติย่อยอมให้จัดประเภทว่า”สารสนเทศ
ที่ถูกต้องถึงคนที่ถูกต้อง” การเผชิญหน้าที่เปิดเผยซึ่งแสดงเป็นนัยประวัติย่อ
ความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะประกาศความ
ชานาญเฉพาะด้านในพื้นที่ที่ได้ให้
ทาประวัติย่อของผู้ใช้ให้ทันสมัย
สนับสนุน/ดึง เทคโนโลยี นาส่งผ่านทางเว็บที่กระจายเว็บรายละเอียด ตัดสินใจทาเอกสารที่ถูกต้องให้ผู้อ่าน
การจัดการ,สนับสนุนการนาส่ง, อี-เมล์
แจ้งให้ทราบ เป็นต้น
การรวมกันจัดการเอกสารกับส่วนประกอบการจัดการ
การพิมพ์ รวมทั้งความสามารถในการจัดหาหรือพิมพ์ ตั้งข้อกาหนดให้ใช้ส่วนประกอบในการสร้างที่ง่าย
เอกสารในรูปแบบที่สลับกันรวมทั้ง HTML, สร้างกระบวนการบังคับ เพื่อที่ว่าผู้พิมพ์สามารถสร้างสมดุล
PDF,XML เป็นต้น ”เสรีภาพ”ในตนเอง,คุณภาพ,ความลับ,การเห็นด้วยและอื่นๆ
4.1 ลักษณะของผู้บริหาร
องค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งที่ขัดขวางหนทางเข้าที่ได้รับมาเป็นค่าใช้จ่ายของการมีประสิทธิภาพ
วิธีที่เป็นค่าใช้จ่ายของการมีประสิทธิภาพ เพราะเทคโนโลยีหนทางเข้าใช้ตัวแทนเทียม
การพัฒนาโปรแกรมที่เล็กพบและจัดสารสนเทศมากกว่าเงินเดือนลูกจ้าง ค่าใช้จ่ายหนทางเข้ารวมทั้งค่าใช้จ่ายฮาร์ดแวร์
ค่าใช้จ่ายใบอนุญาตซอฟแวร์ค่าใช้จ่ายพัฒนาซอฟแวร์ ค่าใช้จ่ายออกแบบค่าใช้จ่ายรวมระบบและบารุงรักษา
การ์ทเนอร์กรุ๊ปประมาณในปี 1999ว่า
ทางเข้าสู่ธุรกิจที่ไม่สาคัญใช้เต็มสถานที่ค่าใช้จ่ายระหว่าง1ล้านเหรียญและ3ล้านเหรียญ
หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันต้องการแสดงอาร์โอไอ ในทางเดียวกันเท่ากับโครงการไอทีอื่นๆ
เป็นพิเศษตั้งแต่ซื้อหนทางเข้าที่ปัจจุบันมองเห็นได้ชัดเช่นเดียวกับกลยุทธการลงทุนและความต้องการข
องซีอีโอที่ต้องการความพอใจที่ใหญ่กว่าและผลผลิตของการใช้จ่ายดอลลาร์หรือโครงการที่ริเริ่มขึ้น หลังจากคิดค่าใช้จ่าย
ผู้จัดการจะรับกลยุทธ์ที่สมบูรณ์เพื่อสนับสนุนระยะที่ประสบผลสาเร็จที่รวมการสื่อสารและการอบรม ในกรณีมากมาย
ผู้ใช้ไม่คาดคิดถึงการคงอยู่ของเทคโนโลยี หรือไม่ทราบว่าจะใช้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ(คอนนัลลี่2000)
ซึ่งมีความกดดันอย่างชัดเจนความจริงการขาดกลยุทธ์สนับสนุนประสิทธิภาพของทางเข้าให้ได้ผล
เพื่อแก้ไขปัญหานี้และกระตุ้นลูกจ้างให้มีส่วนร่วมในพื้นฐานความรู้
ผู้จัดการบางคนมีจุดหมายที่จะให้ทุนเพื่อกระตุ้นคนงานในกรณีมากมาย
การใช้เงินกระตุ้นโดยตรงไม่ปรากฏว่ามีประสิทธิภาพ
ตารางที่ 8 ส่วนประกอบของหนทางเข้าที่ไม่สาคัญสนับสนุนขั้นตอนระบบงาน
ส่วนประกอบ คาอธิบาย การขอให้อธิบาย .
การรวมกัน ความสามารถเข้าระบบคอมพิวเตอร์ การรวมกับข้อมูลที่เพิ่งเข้ามาเข้าไปในโครงสร้างคลังข้อมูล
และดัชนีสารสนเทศจากการแยก
ข้อมูลที่เก็บรักษาไว้ เช่นไฟล์เซิฟเวอร์
ฐานข้อมูลระบบธุรกิจระบบกรุ๊ปแวร์
เอกสารในคลังและในเว็บ การเลือกและจัดอย่างสวยงามของรายละเอียดที่พอใจความสมบูรณ์ของธุรกิจ
กระบวนการ ความสามารถของกระบวนการธุรกิจ การรวมสารสนเทศจากแหล่งที่มาของระบบสารสนเทศภายในอีอาร์พี, ซีอาร์
อัตโนมัติ อัตโนมัติเช่น กาหนดเส้นทางและ เอ็ม, ระบบที่สืบทอดกันมาฐานข้อมูล เท็กซ์ไฟล์และรวมกันไปสู่หนทางการ
การหมุนเวียนงาน รวมกลุ่ม
วงจรชีวิต รวมทั้งความสามารถในการเก็บ สิ่งที่ระบุและการสร้างที่มีความสัมพันธ์กับรายงานธุรกิจ
การจัดการ รักษาข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ มีความสาคัญที่จะสอนให้รับผิดชอบสาหรับแต่ละคนที่เก็บรักษาไว้เป็น
ทาให้ใช้สะดวกจาการเก็บข้อมูล สารสนเทศส่วนตัว
ตลอดเวลา .
รูปที่ 2การทาให้เป็นผลสาเร็จที่น่าสนใจของช่องทางเข้าสู่การทางาน เมื่อสังคมเทคนิคและผู้บริหารตัดกัน
เว็นเจอร์,แมคเดอมุทท์ และซินเดอร์ (2002) สังเกตว่าคนให้ค่าของความพอใจ
ได้มาจากการให้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมอย่างเป็นทางการหรือการมอบหมายเหตุที่ใหญ่กว่าไม่ใช้เพราะพวกเขาไ
ด้รางวัลเป็น“หัวผักกาดแดง”เขาเสนอตัวอย่างของเทคนิคการซีรอคผู้มีค่าที่ใช้ชื่อในการโพสท์ใน”ไลท์”
ก่อนผู้มองดูเป็นพันเกินกว่าเงินทุนเล็กๆที่กระตุ้น
4.2.ทางเทคนิค
อธิบายสังคม” วัฒนธรรมองค์การ ความไว้วางใจ ความพึงพอใจ การมอบหมายงาน
“ลักษณะของผู้บริหาร” ค่าใช้จ่ายกว่าจะได้ผลสาเร็จ กลยุทธ์ ผู้นา ระบบรางวัล
“ทางเทคนิค” ออกแบบ การใช้ แบ่งเป็นส่วนๆ
ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ความยากอย่างอื่นของบริษัทคือการเผชิญหน้าขณะที่ใช้เทคนิคในการเพิกเฉยต่อเทคโนโลยีที่ต้องการและการปฏิบัติของผู้
ใช้ที่มีเหตุผลในการใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีประสิทธิภาพสาคัญขึ้นอยู่กับ:
 ออกแบบไม่ดี
บ่อยๆที่เทคโนโลยีไม่ได้ออกแบบสาหรับคนทางานความจริงทาแต่ค่อนข้างทาสาหรับที่งานเทคโนโลยีคิดว่าเขาคว
รทา (ไฮกิ้น1999)
 ใช้ได้ไม่ดี คนจะใช้เทคโนโลยีถ้าจัดให้ : ทางง่ายที่จะระบุตาแหน่งสารสนเทศที่ต้องการ มีประสิทธิภาพ
และการนาส่งบริการมีคุณภาพ(กริฟฟิท1999)
 ล้มเหลวที่จะจับตัวกลางของข้อความ เทคโนโลยีสามารถมีทางมีประสิทธิภาพที่จะเร่งสารสนเทศรอบองค์การ
โดยเฉพาะการกระจายทางภูมิศาสตร์ อย่างไรก็ตามมันไม่ใช่ตัวกลางที่มั่งคั่งลึกๆลงๆป สารสนเทศที่เงียบๆ
ทางที่ดีที่จะแบ่งปันสามารถใช้เทคโนโลยีติดต่อคนที่เชี่ยวชาญและปล่อยให้เขาแลกเปลี่ยนสารสนเทศ(ดรูคเกอร์
2001)
เหตุผลอย่างอื่นเบื้องหลังการใช้ให้มีประสิทธิภาพของหนทางเข้าผู้ใช้ยกมาอ้างบ่อยว่าขาดเวลาในการค้นหา
สารสนเทศ นี่คือสิ่งสาคัญทางเข้าสามารถแสดงได้ 2บทบาท
บทบาทแรกมีหน้าที่ที่อดทนและแสดงเป็นที่บรรจุความรู้ที่เกี่ยวพันกับองค์การ
ผู้ใช้อาจมีข้อสงสัยซึ่งมีผู้ต้องการสารสนเทศพิเศษ บทบาทที่2
หนทางเข้าอาจได้รับระบบที่กระตือรือร้นที่จะกระจายความรู้ให้คนไม่ว่าที่ไหนที่พวกเขาต้องการทางาน หน้าที่ที่ 2
ไม่ใช่เพียงสะดวกสบายแต่คิดว่าสาคัญสาหรับผู้ใช้เพราะเขาไม่รู้ว่าพื้นฐานความรู้จะบรรจุความรู้ปัจจุบันที่จะช่วยพวกเขา
นอกจากนั้นสงสัยว่าทางเข้าที่เมื่อผู้ใช้คิดว่าใช้เวลามากไปทาให้สิ้นเปลือง
(เท่ากับการรบกวนผู้ใช้ที่ทางานขั้นต้นและใช้เวลาในการค้นหาและค้นหารายการในแฟ้ มข้อมูล)
สาหรับหนกระตือรือร้นจัดให้ผู้ใช้ที่จะทางเข้าที่สามารถนาความรู้มาใช้ประโยชน์ที่ต้องการเพื่อรู้ว่า
ผู้ใช้กาลังทาอยู่ในปัจจุบัน
4.3 อธิบายสังคม
เหตุวิกฤติอย่างอื่นที่สามารถกระตุ้นหรือขัดขวาง
ประสิทธิภาพในการใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันคือสิ่งแวดล้อมในสังคมที่คนปฏิบัติอยู่
ระดับของความเชื่อถือที่ยังคงมีอยู่ระหว่างองค์การหน่วยงานย่อย
และลูกจ้างที่มีผลกระทบอย่างมากต่อความรู้ที่หมุนเวียนระหว่างส่วนบุคคลและจากส่วนบุคคลไปสู่หนทางที่มั่นคง
(เดอลอง &ฟาเฮ2000) ดังนั้น
บริษัทที่จะจ่ายความคิดที่ตั้งใจที่จะสนับสนุนมาตรฐานและความประพฤติปฏิบัติที่ปรากฏชัดความเชื่อใจเป็นสิ่งที่สาคัญแ
ละมีค่าในองค์การ ในองค์การที่มีสังคมในทางบวกมีปฏิกิริยากับวัฒนธรรมซึ่งทั้งสองฝ่ าย
การจัดการและสังคมของลูกจ้างจะมีปฏิกิริยาบ่อยซึ่งกันและกัน คนจะแบ่งปันความรู้
ขณะที่องค์การโฆษณาพฤติกรรมของแต่ละบุคคล คนที่ไม่เต็มใจที่จะให้ไป
ความรู้ที่มีค่าที่สุดเพราะจะมีความรู้สึกว่าเสี่ยงอันตราย ดังนั้น
สิ่งที่สาคัญว่าเขาจะต้องคิดในความคิดเห็นต่างๆของการแบ่งปันความรู้ว่าจะจูงใจแต่ละบุคคลที่จะให้แบ่งปันความรู้ที่เขาเ
ชื่อว่าเป็นคุณค่าของพวกเขาที่มีอยู่ในองค์การ
ตามจริงผู้ที่ปฏิบัติงานใดๆเป็นอาชีพเริ่มที่จะตระหนักว่าคนและวัฒนธรรมของที่ทางานอยู่ขับเคลื่อนองค์ประกอบที่ชัดเจน
ที่จะสาเร็จหรือล้มเหลวของระบบการจัดการความรู้ ด้วยสิ่งที่อยู่ในใจ
เป็นสิ่งสาคัญที่จะคิดว่าจานวนเรื่องที่วิกฤตหรือออกแบบวัตถุประสงค์เมื่อวางที่จะหาหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันสมบูร
ณ์
5.ความคิดเห็นสาหรับการทาให้เป็นผลสาเร็จ
เราสามารถเสนอความเห็นเพื่อที่จะกาหนดขอบเขตทาให้สมบูรณ์
และดาเนินการให้มีผลบังคับใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน
5.1 การมอบหมายงานและการสนับสนุนซีอีโอ
ผู้เขียนหลายคนแนะนาว่าการมอบหมายงานของผู้นาเป็นกุญแจที่ท้าทายความสาเร็จของการจัดการความรู้
(โนนากะ&ทาเคชิ1995) หากการจัดการจ่ายสิ่งสาคัญของแหล่งที่มาไม่ว่าขายหรือพัฒนาและทาให้เป็นผลสาเร็จเช่น
เทคโนโลยีลูกจ้างสามารถอธิบายนี่คือสัญญาณของการจัดการที่สนับสนุนความคิดนี้และปฏิบัติตามนี้ อย่างไรก็ตาม
มาร์ตินสัน(1991)ยอมรับความจริง ถ้าลูกจ้างเข้าใจว่าการจัดการไม่ได้ผูกมัดที่จะทาเทคโนโลยีใหม่นี้ให้ได้ผล
แล้วการริเริ่มโฆษณาวัฒนธรรมการแบ่งปันความรู้ที่แข็งแรงไม่สมควรที่จะประสบความสาเร็จ
5.2 การจูงใจและการมอบหมายงานสาหรับการรับเทคโนโลยีเหล่านี้
ความเข้าใจว่าแรงจูงใจคนที่จะนามาใช้กับความชานาญเฉพาะด้านคือกุญแจที่จะเลี่ยงการโกงของการสร้างเทคโนโลยีที่น่
าประหลาดใจที่ไม่มีใครใช้ บ่อยครั้งที่วิกฤตจานวนมากของลูกจ้างจบลงโดยไม่ใช้ระบบงาน
เพราะเขาไม่มั่นใจระบบงานว่าจะให้ประโยชน์เขาผู้จัดการจะไม่สมมุติว่าเขารู้ว่าอะไรที่ลูกจ้างต้องการ
เขาจะวิจัยความต้องการและ
และผู้ที่มีความสามารถพิเศษมักไม่พอใจลูกจ้างของตนเขาจะทาเช่นนี้กับลูกค้าและจะสร้างสิ่งที่น่าสนใจมากเสนอว่า
ลูกจ้างสนับสนุนการใช้เครื่องมือใหม่ทางออนไลน์
5.3 การเชื่อมโยงความรู้และกระบวนการธุรกิจ
กลายเป็นการตกลงที่ใหญ่ว่ากิจกรรมการจัดการความรู้ จะรวมกันวันต่อวันในกระบวนการธุรกิจทาให้แน่ใจว่า
ขั้นตอนการปรับปรุงและทาให้เรียนรู้ง่ายและค่อยๆพัฒนา “องค์การแห่งความทรงจา”
หนทางเข้าจะเสนอสิ่งแวดล้อมที่รวมกันในขั้นตอนธุรกิจที่มีขั้นตอนความรู้และกระตือรือร้นที่จะสนับสนุนคนงานใช้และเพิ่
มแหล่งที่มาของความรู้โดยสร้าง
มาตรฐานสาหรับการรวบรวมความรู้ กระบวนการและการนาเสนอ
5.4 วัฒนธรรมการแบ่งปันสารสนเทศ
เป็นวัฒนธรรมขององค์การที่จะสนับสนุนหรือขัดขวางการสร้างความรู้และโอนทั้งภายในและลูกค้า ดังนั้น
การสนับสนุนหรือออกคาสั่งให้แบ่งปันความรู้ สนับสนุนการจูงใจให้แบ่งปันความรู้ต้องเกิดขึ้นก่อน
5.5 เรียนรู้จากความล้มเหลว
บริษัทต้องทบทวนความสาเร็จและความล้มเหลว ประเมินพวกเขาเป็นระบบและบันทึกบทเรียนจากลูกจ้างเท่าที่หาได้
หลายบริษัทอย่างไมโครซอฟจะติดตามขั้นตอนนี้เพื่อชี้และโอนการปฏิบัติภายในที่ดีที่สุด ขั้นตอนนี้อ้างถึงว่าเป็น “ทบทวน
สันทายานะ”โดยนักปรัชญาจอร์จ สันทายานะผู้คิดค้นสานวนใหม่ๆ”ผู้ที่ไม่จาอดีตที่ผ่านมาจะทาความผิดซ้าอีก “
(การ์วิน1994)
5.6 สิ่งกระตุ้นที่ไม่มีตัวตน
ในทางของมัลฮอทรา(2002)เราคิดว่ารูปแบบของการกระตุ้นจะคิดว่าสถาบันจะควบคุมการให้เงินเป็นรางวัล
และสิ่งกระตุ้นที่ไม่เพียงพอและไม่จาเป็นทาให้แน่ใจว่าพฤติกรรมการต้องการแบ่งปันความรู้
แทนที่เขาจะแทนสิ่งกระตุ้นที่ไม่มีตัวตนและยอมรับ
บริษัทควรให้ผู้ชนะมีจริยธรรมใหม่และคุณค่าว่าอยู่ที่หัวใจของพื้นฐานความรู้ทางธุรกิจ
โดยหลักใหม่ของความเข้าใจจริยธรรมอย่างง่ายๆที่เวอร์นาอัลลีเรียก หลักของการแลกเปลี่ยนที่ยุติธรรม
“ทาให้คนรู้สึกว่าเขาจะได้รับความเป็นธรรมสาหรับสติปัญญานวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์
ประสลการณที่นามาใช้ในการทางาน”
6.สรุป
บทความนี้พื้นฐานอยู่บนการวิเคราะห์กรณีศึกษา8เรื่องที่รับมาตั้งแต่เริ่มสาหรับหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน
ศูนย์รวมอยู่ที่ผลประโยชน์และความท้าทายในการเสนอเครื่องมือ
หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันดูเหมือนนาเสนอศักยภาพที่องค์การซึ่งมั่งคั่งและมีการแบ่งปันสารสนเทศสาหรับการก่อให้เ
กิด แลกเปลี่ยนและใช้ความรู้
ความรู้และระบบที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันจะสร้างการทบทวนในองค์การที่มีคนที่มีสติปัญญา
แต่การพัฒนาหนทางเข้าสู่การร่วมกันทางานและสร้างวิกฤติของผู้ใช้ต้องการที่จะทาให้สาเร็จซึ่งไม่ใช่เรื่องง่าย
ให้ความเสี่ยงกับหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันล้มเหลวที่จะได้รับผลประโยชน์ที่คาดหวัง
งานที่สาคัญสาหรับการวิจัยการจัดการความรู้คือการสนับสนุนความรู้ที่จะสนับสนุนผู้วิจัยและผู้ที่ปฏิบัติงานใดๆเป็นอาชีพ
ในในความพยายามที่จะพัฒนาให้สาเร็จและหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันประสบผลสาเร็จ
บทความนี้สนับสนุนการวิจัยโดยการเรียนที่มีอุปสรรคในหนทางของความสาเร็จและแนะนาความคิดเห็นของบางคนสาหรั
บการประสบความสาเร็จ
แสดงความขอบคุณ
เราขอแสดงความขอบคุณต่อศาสตราจารย์อัลโดโรมันโด
ผู้อานวยการของโรงเรียนการจัดการธุรกิจอีเล็คโทรนิคสาหรับความช่วยเหลืออย่างมากมาย
----------------------------------------------------------

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanshun minzstar
 

Viewers also liked (10)

การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
Kuamkid stamp
Kuamkid stampKuamkid stamp
Kuamkid stamp
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 
Kms
KmsKms
Kms
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์  พิชญกุลนางสาวธัญภัทร์  พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
 

ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม

  • 1. ตารางที่ 4 ตัวอย่างของเว็บบริการที่จัดโดยบริษัทชั้นนาเพื่อลูกจ้างของพวกเขา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บริษัท เว็บบริการที่จัดให้ . เจนเนอรัล มอเตอร์ ระบบบริการตนเองรวมทั้ง(เช็คเงินค่าจ้าง ที่อยู่ที่ทันสมัยและติดต่อสารสนเทศและการทบทวนผลประโยชน์ทางบัญชี การเงินออนไลน์)โปรแกรมรีไทน์อัตโนมัติ ซิสโก้ บริการตนเอง (เครื่องใช้สานักงาน, โทรศัพท์เคลื่อนที่) โปรแกรมรักษาสุขภาพ,โปรแกรมผลประโยชน์ ฝอร์ดมอเตอร์ โปรแกรมรักษาสุขภาพ(สารสนเทศทางยา, จัดให้มีเครือข่ายรักษาสุขภาพ ) เอสทีไมโครอีเล็คโทรนิค ท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับระบบงาน, การแจ้งราคาหุ้น ปฏิทินกลุ่ม บีที ระบบการเรียนทางอีเล็คโทรนิค(การเรียนออนไลน์...) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3.2.1.3 การค้นหา เอกสารที่ผู้ริเริ่มเป็นลูกจ้างหุ้นส่วน ลูกค้าและคู่แข่งขันเป็นผู้มีความสาคัญทางสารสนเทศมากสามารถทาให้องค์การเหลืออยู่ทั่วไปสถานแพร่หลายในที่มากม าย ด้วยเหตุผลนี้การรวมกันค้นหาความสามารถตรงกันข้ามในคลังสารสนเทศที่มากมายเป็นสิ่งจาเป็น 3.2.1.4 ทาให้เป็นตัวของตัวเอง ไม่เพียงแต่ความสามารถของผู้ใช้ที่จะปรับปรุงตัวประสานและสิทธิพิเศษโดยเฉพาะของพวกเขาแต่เป็นความสามารถของ ระบบเช่นเดียวกันที่ใช้สารสนเทศที่เต็มไปด้วยพลังส่งรายละเอียดพิเศษให้ผู้ใช้เพื่อจุดประสงค์ที่จะให้เกี่ยวพันกับสารสนเท ศมากที่สุดเพื่อการปฏิบัติงานของพวกเขาการทาให้เป็นตัวของตัวเองรวมทั้งผลักและดึงเทคโนโลยี 3.2.1.5 การรวมตัวกัน ความสามารถในการเสนอการรวมเข้าด้วยกันของสารสนเทศบริษัทที่รวมสารสนเทศจากคลังขององค์การที่แตกต่างกัน แทนที่จะมีสารสนเทศองค์การที่มีแหล่งที่มาตรงข้ามกันภายในองค์การ 3.2.1.6 การทางานร่วมกัน ช่องทางเข้าสู่การทางานร่วมกันสามารถที่จะให้องค์การมีส่วนร่วมความสามารถในการริเริ่มที่แบ่งปันชุมชน เพราะเขาเสนอสถานที่ชุมนุมที่เป็นธรรมชาติสาหรับการทางานร่วมกันออนไลน์ โดยการรวบรวมจัดวางรายละเอียดและการบริการที่สมาชิมในกลุ่มมีการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ การร่วมกันทางานสามารถมีข้อกาหนดเสนอหนทางเข้าสู่การบริการเช่นการปรึกษาหารือที่ต่อเนื่องเครื่องมือ เครื่องมือโครงการการจัดการเช่นบัญชีรายชื่องานปฏิทินการแบ่งเอกสารหรือส่งข้อความแทน
  • 2. 3.2.2. ความสามารถในการสนับสนุน เครื่องมือที่สาคัญเหล่านี้จาเป็นสาหรับการทาหน้าที่ที่ดีของช่องทางเข้าสู่การทางานรวมกันและประกอบด้วยความปลอดภั ย ประวัติย่อและการวัด 3.2.2.1 ความปลอดภัย ความสามารถที่จะเข้าถึงความปลอดภัยมีหลากหลายระดับของแหล่งที่มาซึ่งขัดแย้งกัน การควบคุมความปลอดภัยเป็นเรื่องใหญ่มากที่ท้าทายสาหรับหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน 3.2.2.2 ประวัติย่อ เทคนิคเป้ าหมายในการส่งสารสนเทศให้เป็นส่วนตัวถึงผู้ใช้ขึ้นอยู่กับประวัติย่อ 2 เทคนิคที่สามารถใช้ได้ : ประวัติย่อที่เปิดเผยบนพื้นฐานสิทธิพิเศษของผู้ใช้ หรือประวัติย่อที่เปิดเผยบนพื้นฐานของข้อมูลที่ได้รับจากทรัพยากรมนุษย์ 3.2.2.3 ความสามารถในการขยายระบบเครือข่าย ความสะดวกนี้สามารถขยายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ใช้หรือสามารถปรับปรุงให้เหมาะสมกับปัญหาพื้นที่ 3.2.2.4 เว็บบริการ ระดับที่กว้างของการบริการที่แน่นอนว่าสามารถจัดให้ผู้ใช้จัดลาดับจากการวิเคราะห์ ข่าวจากตลาดอีเล็คโทรนิคซึ่งบริษัทเสนอลดราคาผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถต่อรองกับผู้ขายแล้วให้ลูกจ้าง ตารางที่ 4 แสดงบางตัวอย่างของเว็บบริการที่บริษัทจัดให้ลูกจ้างของตน 3.3 ช่องทางสนับสนุนขั้นตอนความรู้ การวิเคราะห์แสดงประโยชน์หลายอย่างของช่องทางการรวมกลุ่ม แต่เราคิดว่าหน้าที่ที่สาคัญที่สุดของช่องทางอยู่ที่ความสามารถที่จะเกิดในเวลาเดียวกันและสนับสนุนระยะการพัฒนาควา มรู้ เราคิดว่าช่องทางการทางานร่วมกันของเทคโนโลยีถ้าสร้างถูกต้องควบคุมการให้สัญญาที่จะเป็นมันสมองขององค์การที่สา มารถจัดหาลูกจ้างกับความรู้ทั้งหมดและสารสนเทศที่สาคัญต้องการความสาเร็จในการทางานร่วมกัน เครื่องมือของช่องทางเข้าจะถูกมองเหมือนระบบกลไกใหญ่ขึ้นและการเชื่อมต่อภายในแหล่งที่มา ดังนั้น สารสนเทศสามารถทาให้กระจายกลมกลืนกับความต้องการขององค์การสาหรับบุคคลและทีมการจัดการ และมีการตอบสนองเร็วต่อการเปลี่ยนแปลง วงจรชีวิตของพื้นฐานความรู้แสดงในภาพที่1 เราวิเคราะห์ว่าความแตกต่างที่ไม่สาคัญของช่องทางเข้าสามารถสนับสนุนขั้นตอนที่เป็นหัวใจของวงจรชีวิตของความรู้ 3.3.1 การก่อให้เกิดความรู้
  • 3. การก่อให้เกิดความรู้ต้องการเครื่องมือที่สามารถมีผลที่ได้รับ, การรวมกันของความคิดที่ต่างกันและการสร้างความรู้ต่อไปนี้จะเน้นช่องทางเข้าที่ไม่สาคัญตามตารางที่5 สนับสนุนขั้นตอนที่ก่อให้เกิดความรู้ 3.3.2 ขั้นตอนการเก็บรักษา ในขั้นนี้องค์การควรจะแบ่งประเภทกรองความรู้และเพิ่มไปในหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ขององค์การ ความรู้ที่เก็บรักษาไว้ทาด้วยมือพื้นฐานข้อมูลกรณีศึกษา รายงานและเหตุการณ์ต่างๆในขั้นตอนทางานร่วมกันและกฎเกณฑ์ทั่วไปทาขึ้นหนึ่งคอลัมน์ของกิจกรรมหลัก คอลัมน์อื่นประกอบด้วยความรู้ที่เก็บรักษาไว้ในสมองของลูกจ้างเป็นพันๆคนผู้ทิ้งไว้แต่ละคนเมื่อสิ้นสุดการทางานแต่ละวั นในองค์การ หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันรวมทั้งส่วนประกอบต่างๆที่สนับสนุนขั้นตอนเก็บรักษา (ตารางที่6) ตารางที่ 15 ส่วนประกอบของหนทางเข้าที่ไม่สาคัญสนับสนุนการเกิดความรู้ ส่วนประกอบ คาอธิบาย การขอให้อธิบาย . การสื่อสาร/ ผู้ใช้ชุดเครื่องมือใช้สาหรับ การใช้การติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ(การสื่อสารที่ใช่ถี่ๆมักจะถูกจัดให้เพิ่ม การส่งข้อความ การสื่อสารกับบุคคลอื่น รวมทั้ง ประสิทธิภาพ) เว็บฐานอี-เมล์การแสดง การศึกษา/ความสามารถใช้เครื่องมือและขั้นตอน ความเห็นต่อกรรมการ การรวมตัวกันของเครื่องมือที่มีอยู่ในธุรกิจทางเข้าสู่การนาเสนอ เครื่องมือพูดคุยและส่งข้อความด่วน ระบบงานที่แบ่งปัน เส้นทางหลักมากต้องแบ่งปันและ การจัดการของวิธีการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานในการจัดส่งผ่านข้อมูลระหว่าง อยู่ร่วมกันในระบบที่มีระยะทาง เครื่องคอมพิวเตอร์และความกว้างของช่วงคลื่นและสัญญาณในเครือข่าย รวมทั้งการพบปะกันในที่เว็บ คอมพิวเตอร์ที่ถูกบังคับ พื้นฐานใช้สะดวก ต้องใช้ให้การจัดเอกสารเพิ่มขึ้น(ไม่ใช่การแทนที่)และเห็นชอบกับกระแสงาน ทาให้แน่ใจว่า เป็นมาตรฐาน”รูปลักษณ์และการใช้งาน”สาหรับทางเข้าสู่ ระบบงาน การสร้างชุมชน สร้างชุมชนเสมือนจริง ควบคุมการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของชุมชน บางแห่งต้องควบคุมที่เป็นจุดรวม (โอกาสทางานร่วมกัน) จัดเตรียมผู้นาชุมชน ชี้ตัวคนพิเศษที่จะนาชุมชน(เช่นเป็นประธานในที่ประชุม) ชุมชนอาจกลับมามีความขัดแย้งกับแผนผังองค์การและมีเส้นทางอานาจ ชุมชนอาจเป็นตัวแทนสาคัญที่เปลี่ยนวัฒนธรรม
  • 4. ตารางที่ 6 ส่วนประกอบของหนทางสู่ทางเข้าที่ไม่สาคัญสนับสนุนขั้นตอนการเก็บรักษา ส่วนประกอบ คาอธิบาย คาขอให้อธิบาย . การเก็บรักษา นี่เป็นบริการหลักเป็นประเพณีที่บริการโดย การเก็บรักษาและบริการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจะทาให้เห็นเด่นชัด ผู้เชี่ยวชาญในระบบและประสิทธิภาพของ และแทรกข่าวใหม่ที่สาคัญในชั้นที่แตกต่างของระบบการจัดการความรู้ คอมพิวเตอร์ที่ทางานได้เท่าเทียมมันสมองมนุษย์ ร่วมกัน จุดมุ่งหมายของการเปลี่ยนแปลงสารสนเทศไปเป็น ความรู้ที่มีค่าโดยเตรียมผู้ช่วยเหลือที่มีสติปัญญาให้ผู้ใช้ และเกิดขึ้นร่วมกับความสาเร็จของงาน การเก็บข้อมูล ความสามารถในการจัดการด้วยคนหรือดัชนี ระบุเอกสารถูกต้องให้ผู้อ่าน สารสนเทศอัตโนมัติ(ทั้งรายละเอียดและคาขยายความ) จัดให้ง่ายต่อการใช้ส่วนประกอบการสร้างวิธีปฏิบัติ วงจรชีวิตการจัดการ รวมทั้งความสามารถในการเก็บรักษาข้อมูล ค่อยๆสั่งสอนให้แต่ละคนมีความรับผิดชอบในการ อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ เก็บรักษาสารสนเทศส่วนตัว ทันทีตลอดเวลา 3.3.3 ขั้นตอนทาให้กระจาย ความรู้ต้องการกระจายและแบ่งปันตลอดทั้งองค์การ ก่อนที่จะสามารถใช้ประโยชน์ระดับองค์การ(โนนากะ&ทาเคชิ1995) อะไรที่ขยายความสาเร็จอย่างมั่นคงในการขยายความรู้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมองค์การและปริมาณความรู้ที่มีประโยชน์ในกา รปฏิบัติงานที่สามารถทาให้มั่นคง หนทางเข้าสู่ทางเข้าในการทางานร่วมกันรวมทั้งส่วนประกอบต่างๆที่สนับสนุนขั้นตอนการกระจาย (ตารางที่7) 3.3.4 ขั้นตอนการใช้
  • 5. ในขั้นระบบงาน ความรู้ของผู้ทางานในองค์การอาจจะใช้ความรู้จากการค้นคืนในการปฏิบัติเช่นแก้ปัญหา ตัดสินใจ การวิจัยแนวความคิดและการเรียนรู้ ระบบงานความรู้เป็นงานที่จาเป็นที่สุดของการจัดการความรู้ หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันรวมทั้งส่วนประกอบมากมายที่สะดวกในขั้นตอนมาใช้ (ตารางที่8) การวิจัยชี้ว่าหลายบริษัทยังเริ่มต้นที่ความพยายามหาทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน และประสบการณ์แสดงว่าความต้องการของพวกเขาที่จะมีหลากหลายเท่าธุรกิจของเขาตามจริง มีองค์ประกอบหลายอย่างที่จะยับยั้งการรับความรู้เรื่องหนทางเข้ามาใช้โดยบริษัท และการทาระบบความรู้เรื่องการจัดการให้เป็นผลสาเร็จไม่ใช่การชักนาด้วยความเต็มใจอัตโนมัติที่จะแบ่งปันข้อมูลสารสน เทศและสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีสติปัญญาใหม่(กอทท์ชอล์ค2000) รายงานเคพีเอ็มจีพบว่า ขณะที่องค์การหลายแห่งมีความจาเป็นที่ต้องใช้เทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานในที่สนับสนุนการจัดการความรู้ ในระบบที่ไม่ มีศูนย์รวมเป็นหนึ่งเดียว(พาร์ลบาย 1997) ในอีกทางหนึ่ง บริษัทอาจจะไม่ได้รับประโยชน์เต็มศักยภาพของเทคโนโลยีที่พวกเขาผ่านขั้นตอนเรียบร้อย 4.องค์ประกอบที่ขัดขวางการใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน มีส่วนประกอบ3 ลาดับ: ลักษณะของผู้บริหาร เทคนิคและสังคมที่กระตุ้นหรือขัดขวางในความสาเร็จของการใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน(ดูรูปที่2) ตารางที่ 7 ส่วนประกอบที่ไม่สาคัญของหนทางเข้าสู่การสนับสนุนขั้นตอนการกระจาย ส่วนประกอบ คาอธิบาย คาขอให้อธิบาย . ประวัติย่อ ส่วนประกอบสาคัญที่จัดเตรียม การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวพันกับบุคคล กรองสารสนเทศสาหรับสไตล์การทางาน ของแต่ละคน การนาส่งพฤติกรรมของคน ที่มีความเป็นตัวขิงตัวเองสูง ในอีกทางหนึ่ง ประวัติย่อยอมให้จัดประเภทว่า”สารสนเทศ ที่ถูกต้องถึงคนที่ถูกต้อง” การเผชิญหน้าที่เปิดเผยซึ่งแสดงเป็นนัยประวัติย่อ ความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะประกาศความ ชานาญเฉพาะด้านในพื้นที่ที่ได้ให้ ทาประวัติย่อของผู้ใช้ให้ทันสมัย สนับสนุน/ดึง เทคโนโลยี นาส่งผ่านทางเว็บที่กระจายเว็บรายละเอียด ตัดสินใจทาเอกสารที่ถูกต้องให้ผู้อ่าน การจัดการ,สนับสนุนการนาส่ง, อี-เมล์
  • 6. แจ้งให้ทราบ เป็นต้น การรวมกันจัดการเอกสารกับส่วนประกอบการจัดการ การพิมพ์ รวมทั้งความสามารถในการจัดหาหรือพิมพ์ ตั้งข้อกาหนดให้ใช้ส่วนประกอบในการสร้างที่ง่าย เอกสารในรูปแบบที่สลับกันรวมทั้ง HTML, สร้างกระบวนการบังคับ เพื่อที่ว่าผู้พิมพ์สามารถสร้างสมดุล PDF,XML เป็นต้น ”เสรีภาพ”ในตนเอง,คุณภาพ,ความลับ,การเห็นด้วยและอื่นๆ 4.1 ลักษณะของผู้บริหาร องค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งที่ขัดขวางหนทางเข้าที่ได้รับมาเป็นค่าใช้จ่ายของการมีประสิทธิภาพ วิธีที่เป็นค่าใช้จ่ายของการมีประสิทธิภาพ เพราะเทคโนโลยีหนทางเข้าใช้ตัวแทนเทียม การพัฒนาโปรแกรมที่เล็กพบและจัดสารสนเทศมากกว่าเงินเดือนลูกจ้าง ค่าใช้จ่ายหนทางเข้ารวมทั้งค่าใช้จ่ายฮาร์ดแวร์ ค่าใช้จ่ายใบอนุญาตซอฟแวร์ค่าใช้จ่ายพัฒนาซอฟแวร์ ค่าใช้จ่ายออกแบบค่าใช้จ่ายรวมระบบและบารุงรักษา การ์ทเนอร์กรุ๊ปประมาณในปี 1999ว่า ทางเข้าสู่ธุรกิจที่ไม่สาคัญใช้เต็มสถานที่ค่าใช้จ่ายระหว่าง1ล้านเหรียญและ3ล้านเหรียญ หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันต้องการแสดงอาร์โอไอ ในทางเดียวกันเท่ากับโครงการไอทีอื่นๆ เป็นพิเศษตั้งแต่ซื้อหนทางเข้าที่ปัจจุบันมองเห็นได้ชัดเช่นเดียวกับกลยุทธการลงทุนและความต้องการข องซีอีโอที่ต้องการความพอใจที่ใหญ่กว่าและผลผลิตของการใช้จ่ายดอลลาร์หรือโครงการที่ริเริ่มขึ้น หลังจากคิดค่าใช้จ่าย ผู้จัดการจะรับกลยุทธ์ที่สมบูรณ์เพื่อสนับสนุนระยะที่ประสบผลสาเร็จที่รวมการสื่อสารและการอบรม ในกรณีมากมาย ผู้ใช้ไม่คาดคิดถึงการคงอยู่ของเทคโนโลยี หรือไม่ทราบว่าจะใช้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ(คอนนัลลี่2000) ซึ่งมีความกดดันอย่างชัดเจนความจริงการขาดกลยุทธ์สนับสนุนประสิทธิภาพของทางเข้าให้ได้ผล เพื่อแก้ไขปัญหานี้และกระตุ้นลูกจ้างให้มีส่วนร่วมในพื้นฐานความรู้ ผู้จัดการบางคนมีจุดหมายที่จะให้ทุนเพื่อกระตุ้นคนงานในกรณีมากมาย การใช้เงินกระตุ้นโดยตรงไม่ปรากฏว่ามีประสิทธิภาพ ตารางที่ 8 ส่วนประกอบของหนทางเข้าที่ไม่สาคัญสนับสนุนขั้นตอนระบบงาน ส่วนประกอบ คาอธิบาย การขอให้อธิบาย . การรวมกัน ความสามารถเข้าระบบคอมพิวเตอร์ การรวมกับข้อมูลที่เพิ่งเข้ามาเข้าไปในโครงสร้างคลังข้อมูล และดัชนีสารสนเทศจากการแยก ข้อมูลที่เก็บรักษาไว้ เช่นไฟล์เซิฟเวอร์ ฐานข้อมูลระบบธุรกิจระบบกรุ๊ปแวร์
  • 7. เอกสารในคลังและในเว็บ การเลือกและจัดอย่างสวยงามของรายละเอียดที่พอใจความสมบูรณ์ของธุรกิจ กระบวนการ ความสามารถของกระบวนการธุรกิจ การรวมสารสนเทศจากแหล่งที่มาของระบบสารสนเทศภายในอีอาร์พี, ซีอาร์ อัตโนมัติ อัตโนมัติเช่น กาหนดเส้นทางและ เอ็ม, ระบบที่สืบทอดกันมาฐานข้อมูล เท็กซ์ไฟล์และรวมกันไปสู่หนทางการ การหมุนเวียนงาน รวมกลุ่ม วงจรชีวิต รวมทั้งความสามารถในการเก็บ สิ่งที่ระบุและการสร้างที่มีความสัมพันธ์กับรายงานธุรกิจ การจัดการ รักษาข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ มีความสาคัญที่จะสอนให้รับผิดชอบสาหรับแต่ละคนที่เก็บรักษาไว้เป็น ทาให้ใช้สะดวกจาการเก็บข้อมูล สารสนเทศส่วนตัว ตลอดเวลา . รูปที่ 2การทาให้เป็นผลสาเร็จที่น่าสนใจของช่องทางเข้าสู่การทางาน เมื่อสังคมเทคนิคและผู้บริหารตัดกัน เว็นเจอร์,แมคเดอมุทท์ และซินเดอร์ (2002) สังเกตว่าคนให้ค่าของความพอใจ ได้มาจากการให้เหตุผลของผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมอย่างเป็นทางการหรือการมอบหมายเหตุที่ใหญ่กว่าไม่ใช้เพราะพวกเขาไ ด้รางวัลเป็น“หัวผักกาดแดง”เขาเสนอตัวอย่างของเทคนิคการซีรอคผู้มีค่าที่ใช้ชื่อในการโพสท์ใน”ไลท์” ก่อนผู้มองดูเป็นพันเกินกว่าเงินทุนเล็กๆที่กระตุ้น 4.2.ทางเทคนิค อธิบายสังคม” วัฒนธรรมองค์การ ความไว้วางใจ ความพึงพอใจ การมอบหมายงาน “ลักษณะของผู้บริหาร” ค่าใช้จ่ายกว่าจะได้ผลสาเร็จ กลยุทธ์ ผู้นา ระบบรางวัล “ทางเทคนิค” ออกแบบ การใช้ แบ่งเป็นส่วนๆ ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 8. ความยากอย่างอื่นของบริษัทคือการเผชิญหน้าขณะที่ใช้เทคนิคในการเพิกเฉยต่อเทคโนโลยีที่ต้องการและการปฏิบัติของผู้ ใช้ที่มีเหตุผลในการใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีประสิทธิภาพสาคัญขึ้นอยู่กับ:  ออกแบบไม่ดี บ่อยๆที่เทคโนโลยีไม่ได้ออกแบบสาหรับคนทางานความจริงทาแต่ค่อนข้างทาสาหรับที่งานเทคโนโลยีคิดว่าเขาคว รทา (ไฮกิ้น1999)  ใช้ได้ไม่ดี คนจะใช้เทคโนโลยีถ้าจัดให้ : ทางง่ายที่จะระบุตาแหน่งสารสนเทศที่ต้องการ มีประสิทธิภาพ และการนาส่งบริการมีคุณภาพ(กริฟฟิท1999)  ล้มเหลวที่จะจับตัวกลางของข้อความ เทคโนโลยีสามารถมีทางมีประสิทธิภาพที่จะเร่งสารสนเทศรอบองค์การ โดยเฉพาะการกระจายทางภูมิศาสตร์ อย่างไรก็ตามมันไม่ใช่ตัวกลางที่มั่งคั่งลึกๆลงๆป สารสนเทศที่เงียบๆ ทางที่ดีที่จะแบ่งปันสามารถใช้เทคโนโลยีติดต่อคนที่เชี่ยวชาญและปล่อยให้เขาแลกเปลี่ยนสารสนเทศ(ดรูคเกอร์ 2001) เหตุผลอย่างอื่นเบื้องหลังการใช้ให้มีประสิทธิภาพของหนทางเข้าผู้ใช้ยกมาอ้างบ่อยว่าขาดเวลาในการค้นหา สารสนเทศ นี่คือสิ่งสาคัญทางเข้าสามารถแสดงได้ 2บทบาท บทบาทแรกมีหน้าที่ที่อดทนและแสดงเป็นที่บรรจุความรู้ที่เกี่ยวพันกับองค์การ ผู้ใช้อาจมีข้อสงสัยซึ่งมีผู้ต้องการสารสนเทศพิเศษ บทบาทที่2 หนทางเข้าอาจได้รับระบบที่กระตือรือร้นที่จะกระจายความรู้ให้คนไม่ว่าที่ไหนที่พวกเขาต้องการทางาน หน้าที่ที่ 2 ไม่ใช่เพียงสะดวกสบายแต่คิดว่าสาคัญสาหรับผู้ใช้เพราะเขาไม่รู้ว่าพื้นฐานความรู้จะบรรจุความรู้ปัจจุบันที่จะช่วยพวกเขา นอกจากนั้นสงสัยว่าทางเข้าที่เมื่อผู้ใช้คิดว่าใช้เวลามากไปทาให้สิ้นเปลือง (เท่ากับการรบกวนผู้ใช้ที่ทางานขั้นต้นและใช้เวลาในการค้นหาและค้นหารายการในแฟ้ มข้อมูล) สาหรับหนกระตือรือร้นจัดให้ผู้ใช้ที่จะทางเข้าที่สามารถนาความรู้มาใช้ประโยชน์ที่ต้องการเพื่อรู้ว่า ผู้ใช้กาลังทาอยู่ในปัจจุบัน 4.3 อธิบายสังคม เหตุวิกฤติอย่างอื่นที่สามารถกระตุ้นหรือขัดขวาง ประสิทธิภาพในการใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันคือสิ่งแวดล้อมในสังคมที่คนปฏิบัติอยู่ ระดับของความเชื่อถือที่ยังคงมีอยู่ระหว่างองค์การหน่วยงานย่อย และลูกจ้างที่มีผลกระทบอย่างมากต่อความรู้ที่หมุนเวียนระหว่างส่วนบุคคลและจากส่วนบุคคลไปสู่หนทางที่มั่นคง (เดอลอง &ฟาเฮ2000) ดังนั้น บริษัทที่จะจ่ายความคิดที่ตั้งใจที่จะสนับสนุนมาตรฐานและความประพฤติปฏิบัติที่ปรากฏชัดความเชื่อใจเป็นสิ่งที่สาคัญแ
  • 9. ละมีค่าในองค์การ ในองค์การที่มีสังคมในทางบวกมีปฏิกิริยากับวัฒนธรรมซึ่งทั้งสองฝ่ าย การจัดการและสังคมของลูกจ้างจะมีปฏิกิริยาบ่อยซึ่งกันและกัน คนจะแบ่งปันความรู้ ขณะที่องค์การโฆษณาพฤติกรรมของแต่ละบุคคล คนที่ไม่เต็มใจที่จะให้ไป ความรู้ที่มีค่าที่สุดเพราะจะมีความรู้สึกว่าเสี่ยงอันตราย ดังนั้น สิ่งที่สาคัญว่าเขาจะต้องคิดในความคิดเห็นต่างๆของการแบ่งปันความรู้ว่าจะจูงใจแต่ละบุคคลที่จะให้แบ่งปันความรู้ที่เขาเ ชื่อว่าเป็นคุณค่าของพวกเขาที่มีอยู่ในองค์การ ตามจริงผู้ที่ปฏิบัติงานใดๆเป็นอาชีพเริ่มที่จะตระหนักว่าคนและวัฒนธรรมของที่ทางานอยู่ขับเคลื่อนองค์ประกอบที่ชัดเจน ที่จะสาเร็จหรือล้มเหลวของระบบการจัดการความรู้ ด้วยสิ่งที่อยู่ในใจ เป็นสิ่งสาคัญที่จะคิดว่าจานวนเรื่องที่วิกฤตหรือออกแบบวัตถุประสงค์เมื่อวางที่จะหาหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันสมบูร ณ์ 5.ความคิดเห็นสาหรับการทาให้เป็นผลสาเร็จ เราสามารถเสนอความเห็นเพื่อที่จะกาหนดขอบเขตทาให้สมบูรณ์ และดาเนินการให้มีผลบังคับใช้หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน 5.1 การมอบหมายงานและการสนับสนุนซีอีโอ ผู้เขียนหลายคนแนะนาว่าการมอบหมายงานของผู้นาเป็นกุญแจที่ท้าทายความสาเร็จของการจัดการความรู้ (โนนากะ&ทาเคชิ1995) หากการจัดการจ่ายสิ่งสาคัญของแหล่งที่มาไม่ว่าขายหรือพัฒนาและทาให้เป็นผลสาเร็จเช่น เทคโนโลยีลูกจ้างสามารถอธิบายนี่คือสัญญาณของการจัดการที่สนับสนุนความคิดนี้และปฏิบัติตามนี้ อย่างไรก็ตาม มาร์ตินสัน(1991)ยอมรับความจริง ถ้าลูกจ้างเข้าใจว่าการจัดการไม่ได้ผูกมัดที่จะทาเทคโนโลยีใหม่นี้ให้ได้ผล แล้วการริเริ่มโฆษณาวัฒนธรรมการแบ่งปันความรู้ที่แข็งแรงไม่สมควรที่จะประสบความสาเร็จ 5.2 การจูงใจและการมอบหมายงานสาหรับการรับเทคโนโลยีเหล่านี้ ความเข้าใจว่าแรงจูงใจคนที่จะนามาใช้กับความชานาญเฉพาะด้านคือกุญแจที่จะเลี่ยงการโกงของการสร้างเทคโนโลยีที่น่ าประหลาดใจที่ไม่มีใครใช้ บ่อยครั้งที่วิกฤตจานวนมากของลูกจ้างจบลงโดยไม่ใช้ระบบงาน เพราะเขาไม่มั่นใจระบบงานว่าจะให้ประโยชน์เขาผู้จัดการจะไม่สมมุติว่าเขารู้ว่าอะไรที่ลูกจ้างต้องการ เขาจะวิจัยความต้องการและ และผู้ที่มีความสามารถพิเศษมักไม่พอใจลูกจ้างของตนเขาจะทาเช่นนี้กับลูกค้าและจะสร้างสิ่งที่น่าสนใจมากเสนอว่า ลูกจ้างสนับสนุนการใช้เครื่องมือใหม่ทางออนไลน์
  • 10. 5.3 การเชื่อมโยงความรู้และกระบวนการธุรกิจ กลายเป็นการตกลงที่ใหญ่ว่ากิจกรรมการจัดการความรู้ จะรวมกันวันต่อวันในกระบวนการธุรกิจทาให้แน่ใจว่า ขั้นตอนการปรับปรุงและทาให้เรียนรู้ง่ายและค่อยๆพัฒนา “องค์การแห่งความทรงจา” หนทางเข้าจะเสนอสิ่งแวดล้อมที่รวมกันในขั้นตอนธุรกิจที่มีขั้นตอนความรู้และกระตือรือร้นที่จะสนับสนุนคนงานใช้และเพิ่ มแหล่งที่มาของความรู้โดยสร้าง มาตรฐานสาหรับการรวบรวมความรู้ กระบวนการและการนาเสนอ 5.4 วัฒนธรรมการแบ่งปันสารสนเทศ เป็นวัฒนธรรมขององค์การที่จะสนับสนุนหรือขัดขวางการสร้างความรู้และโอนทั้งภายในและลูกค้า ดังนั้น การสนับสนุนหรือออกคาสั่งให้แบ่งปันความรู้ สนับสนุนการจูงใจให้แบ่งปันความรู้ต้องเกิดขึ้นก่อน 5.5 เรียนรู้จากความล้มเหลว บริษัทต้องทบทวนความสาเร็จและความล้มเหลว ประเมินพวกเขาเป็นระบบและบันทึกบทเรียนจากลูกจ้างเท่าที่หาได้ หลายบริษัทอย่างไมโครซอฟจะติดตามขั้นตอนนี้เพื่อชี้และโอนการปฏิบัติภายในที่ดีที่สุด ขั้นตอนนี้อ้างถึงว่าเป็น “ทบทวน สันทายานะ”โดยนักปรัชญาจอร์จ สันทายานะผู้คิดค้นสานวนใหม่ๆ”ผู้ที่ไม่จาอดีตที่ผ่านมาจะทาความผิดซ้าอีก “ (การ์วิน1994) 5.6 สิ่งกระตุ้นที่ไม่มีตัวตน ในทางของมัลฮอทรา(2002)เราคิดว่ารูปแบบของการกระตุ้นจะคิดว่าสถาบันจะควบคุมการให้เงินเป็นรางวัล และสิ่งกระตุ้นที่ไม่เพียงพอและไม่จาเป็นทาให้แน่ใจว่าพฤติกรรมการต้องการแบ่งปันความรู้ แทนที่เขาจะแทนสิ่งกระตุ้นที่ไม่มีตัวตนและยอมรับ บริษัทควรให้ผู้ชนะมีจริยธรรมใหม่และคุณค่าว่าอยู่ที่หัวใจของพื้นฐานความรู้ทางธุรกิจ โดยหลักใหม่ของความเข้าใจจริยธรรมอย่างง่ายๆที่เวอร์นาอัลลีเรียก หลักของการแลกเปลี่ยนที่ยุติธรรม “ทาให้คนรู้สึกว่าเขาจะได้รับความเป็นธรรมสาหรับสติปัญญานวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ ประสลการณที่นามาใช้ในการทางาน” 6.สรุป บทความนี้พื้นฐานอยู่บนการวิเคราะห์กรณีศึกษา8เรื่องที่รับมาตั้งแต่เริ่มสาหรับหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกัน ศูนย์รวมอยู่ที่ผลประโยชน์และความท้าทายในการเสนอเครื่องมือ หนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันดูเหมือนนาเสนอศักยภาพที่องค์การซึ่งมั่งคั่งและมีการแบ่งปันสารสนเทศสาหรับการก่อให้เ
  • 11. กิด แลกเปลี่ยนและใช้ความรู้ ความรู้และระบบที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันจะสร้างการทบทวนในองค์การที่มีคนที่มีสติปัญญา แต่การพัฒนาหนทางเข้าสู่การร่วมกันทางานและสร้างวิกฤติของผู้ใช้ต้องการที่จะทาให้สาเร็จซึ่งไม่ใช่เรื่องง่าย ให้ความเสี่ยงกับหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันล้มเหลวที่จะได้รับผลประโยชน์ที่คาดหวัง งานที่สาคัญสาหรับการวิจัยการจัดการความรู้คือการสนับสนุนความรู้ที่จะสนับสนุนผู้วิจัยและผู้ที่ปฏิบัติงานใดๆเป็นอาชีพ ในในความพยายามที่จะพัฒนาให้สาเร็จและหนทางเข้าสู่การทางานร่วมกันประสบผลสาเร็จ บทความนี้สนับสนุนการวิจัยโดยการเรียนที่มีอุปสรรคในหนทางของความสาเร็จและแนะนาความคิดเห็นของบางคนสาหรั บการประสบความสาเร็จ แสดงความขอบคุณ เราขอแสดงความขอบคุณต่อศาสตราจารย์อัลโดโรมันโด ผู้อานวยการของโรงเรียนการจัดการธุรกิจอีเล็คโทรนิคสาหรับความช่วยเหลืออย่างมากมาย ----------------------------------------------------------