SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชสมัยรัชกาลปัจจุบันมีใจความดังนี้
ประวัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยเปิดเป็นความพยายามที่รัฐบาลจะขยายโอกาส เพื่อการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด
แนวคิดนี้ได้เคยนามาใช้แล้วในประเทศไทยโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองซึ่งตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2476
ได้จัดการศึกษาระบบ"ตลาดวิชา"รับนักศึกษาโดยไม่มีการสอบคัดเลือกไม่บังคับให้เข้าฟังบรรยายแต่ยังคงใช้วิธีการจัดการศึกษา
ในลักษณะเดียวกับมหาวิทยาลัยทั่วไปคือใช้ชั้นเรียนเป็นหลักนักศึกษาอาจศึกษาได้ด้วยตนเองหรืออาจเข้าฟังบรรยาย
หรือไปพบอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยได้ ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้
เปลี่ยนมาเป็นระบบจากัดการรับนักศึกษาเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ
ในปี พ.ศ. 2514ได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแบบตลาดวิชาขึ้นอีกแห่งหนึ่งคือมหาวิทยาลัยรามคาแหง
ซึ่งเปิดหลักสูตรการศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระยะที่เปิดสอนในระบบตลาดวิชา
และสามารถรับนักศึกษาได้เป็นจานวนมากแต่ยังคงจัดการศึกษาโดยอาศัยชั้นเรียนเป็นหลักเช่นเดียวกันทาให้มากวิทยาลัย
รามคาแหงประสบปัญหาต่างๆเป็นอันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอาคารสถานที่เรียน
ไม่สามารถขยายให้เพียงพอกับจานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นทุกๆปี
หากมหาวิทยาลัยรามคาแหงจะขยายการจัดการศึกษาที่ดาเนินการอยู่นี้ให้เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียนแล้ว
รัฐบาลและมหาวิทยาลัยจะต้องรับภาระหนักในด้านการลงทุนซึ่งเพิ่มขึ้นทุกปี ไม่มีวันสิ้นสุดเพื่อเป็นการขยายและกระจายโอกาส
ทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยใช้ทรัพยากรที่มีจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นอีกแห่งหนึ่งมีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด
รัฐบาลจึงดาเนินการดาเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อ"มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช"ตามพระนามเดิมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่7 เมื่อครั้งทรงดารงพระอิสริยยศเป็น"กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา"และพระราชทาน
พระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่7ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์
นามาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกรุงสุโขทัยเป็นตราประจามหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่ 5 กันยายนพ.ศ.2521 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธย
ในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยจึงกาหนดวันที่5กันยายนของทุกปีเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย
ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมีอานาจให้ปริญญา
และประกาศนียบัตรที่มีศักดิ์และสิทธิเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยของรัฐอื่นๆทุกประการ
ในวันที่ 24 ตุลาคมพ.ศ.2521 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยชุดแรกรวมทั้งได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งศาสตราจารย์ดร.วิจิตรศรีสอ้าน
ให้ดารงตาแหน่งอธิการบดีคนแรกหลังจากได้ใช้เวลาเตรียมการด้านต่างๆเพื่อให้พร้อมที่จะเปิดสอนเป็นเวลาประมาณ2ปี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจึงได้เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อวันที่1ธันวาคมพ.ศ.2523 สาขาวิชาที่เปิดสอน3สาขาวิชาคือ
สาขาวิชาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ และสาขาวิชาวิทยาการจัดการ
ต่อมา มหาวิทยาลัยได้ขยายการเปิดรับนักศึกษาเพิ่มขึ้นตามลาดับดังนี้
ปีการศึกษา2524เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพสาขาวิชานิติศาสตร์
ปีการศึกษา2525เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ และสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์
(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์)
ปีการศึกษา2526เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์
ปีการศึกษา2527เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์
ปีการศึกษา2538เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปีการศึกษา2544เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ รวมเป็น12สาขาวิชา
การจัดการการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยระบบการศึกษาทางไกลได้รับความสาเร็จและได้รับการยอมรับในมาตรฐานเทียบเท่ากับมห
าวิทยาลัยของรัฐ
จึงได้ขยายการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ที่จะศึกษาต่อในระดับสูงกว่าปริญญาตรี
โดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงมีนโยบายให้เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในระดับปริญญาโท
ตามลาดับดังนี้
ปีการศึกษา2536เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาศึกษาศาสตร์
ปีการศึกษา2542เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
ปีการศึกษา2543เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการจัดการสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
และสาขาวิชาส่งเสริมเกษตรและสหกรณ์
ปีการศึกษา2544เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
ปีการศึกษา2545เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
ปีการศึกษา2546เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ และสาขาวิชานิเทศศาสตร์
ปีการศึกษา2548เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
ปีการศึกษา2552สาขาวิชานิติศาสตร์
นอกจากนี้มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนระดับปริญญาเอก ตามลาดับดังนี้
ปีการศึกษา2549เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาศึกษาศาสตร์
ปีการศึกษา2551เปิดหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการจัดการ
ปีการศึกษา2553เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชานิเทศศาสตร์
และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตแขนงวิชาส่งเสริมการเกษตรวิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
:: สัญลักษณ์ ปณิธานวิสัยทัศน์พันธกิจ
ตราประจามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์เรียงกันภายใต้พระมหามงกุฏนามาประกอบกับส่วนยอดของเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์
ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกรุงสุโขทัยเป็นตราประจามหาวิทยาลัย
ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
ร่วมแรงร่วมใจ
ใฝ่ คุณธรรม
นาสิ่งใหม่
เรียรู้ได้ทุกที่
สีประจามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกาหนดให้ สีเขียวและสีทองเป็นสีประจามหาวิทยาลัยสีเขียวเป็นสีประจาวันพุธ
ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
สีทอง เป็นสีแห่งความเป็นสิริมงคล
ต้นไม้ประจามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกาหนดให้ ต้นปาริชาตหรือต้นทองหลางลายเป็นต้นไม้ประจามหาวิทยาลัยเนื่องจากมีใบเป็นสีเขียว
และเส้นใบเป็นสีทองตรงกับสีเขียวทองซึ่งเป็นสีประจามหาวิทยาลัย
ปณิธาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในฐานะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิดยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต
มุ่งพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไปเพิ่มพูนวิทยฐานะแก่
ผู้ประกอบอาชีพและขยายโอกาสทางการศึกษาต่อสาหรับผู้สาเร็จมัธยมศึกษา
เพื่อสนองความต้องการของบุคคลและสังคมด้วยการจัดระบบการเรียนการสอนทางไกลซึ่งใช้สื่อการสอนทางไปรษณีย์
วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และวิธีการอื่นที่ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียนตามปกติ
พันธกิจ
1. ผลิตบัณฑิต
2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับของประเทศ
3. พัฒนาชุมชนองค์กรและสถาบันในสังคมเพื่อนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้
4. วิจัย ส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ และภูมิปัญญาไทย
5. อนุรักษ์ ส่งเสริมและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม
วิสัยทัศน์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเป็นมหาวิทยาลัยเปิดที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลชั้นนาของโลก
ให้การศึกษาตลอดชีวิตสาหรับทุกคน
เป้ าประสงค์/วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนามสธ.ให้เป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลชั้นนาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมนาความรู้และจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตอบสนองต่อการพัฒนาสังคมและประเทศ
เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยพัฒนาสู่ระบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์
:: การบริหาร
:: บุคลากร
บุคลากรมหาวิทยาลัย
บุคลากรของมหาวิทยาลัย ประกอบด ้วย ข ้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างประจางบประมาณแผ่นดินและเงินรายได ้
ลูกจ้างชั่วคราวงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได ้ รายละเอียดข ้อมูล ดังนี้
บุคลากร
ประเภท จานวน (คน)
ข ้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
พนักงานมหาวิทยาลัย
ลูกจ ้างประจางบประมาณแผ่นดิน
ลูกจ ้างประจาเงินรายได ้
ลูกจ ้างประจาลักษณะพิเศษ
ผู้ทรงคุณวุฒิ(เงินรายได ้)
ลูกจ ้างชั่วคราวรายเดือนเงินรายได ้
พนักงานชั่วคราว ตาแหน่งอาจารย์ประจาพิเศษ
ลูกจ ้างชั่วคราวชาวต่างประเทศ (รายปี-งบประมาณแผ่นดิน)
ลูกจ ้างชั่วคราวชาวต่างประเทศ (รายปี-งบประมาณเงินรายได ้)
ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษตาแหน่งอาจารย์(งบประมาณแผ่นดิน)
858
332
114
292
96
8
648
21
1
1
1
รวม 2,372
ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ประเภท จานวน (คน)
สายวิชาการ
สายสนับสนุนวิชาการ
220
638
รวม 858
พนักงานมหาวิทยาลัย
ประเภท จานวน (คน)
สายวิชาการ
สายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทั่วไป
132
200
รวม 332
ข ้อมูล ณ วันที่ 22 มกราคม 2557
การจัดการความรู้
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วิสัยทัศน์(VISSION)
มสธ.เป็นต้นแบบของการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (STOUKMBest Practices)
พันธกิจ:(MISSION)
• สร้างระบบการจัดการความรู้ ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรของมสธ.ที่ยั่งยืน
• ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาระบบและกระบวนการ
ทางานให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
• พัฒนาฐานความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อสนับสนุนต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย
สนับสนุนแผนยุทธศาสตร์
ของมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์มสธ.
เป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลชั้นนาของโลกที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลโดยมุ่งขยายโอกาสทางการศึกษา
และยึดหลักการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและให้บริการที่มีคุณภาพ
พันธกิจ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์รวมถึงพัฒนาชุมชนองค์กรสถาบันในสังคมเพื่อนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้และสังคมฐานความรู้
วิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลชั้นนาของโลกที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลโดยมุ่งขยายโอกาสทางการศึกษาและยึดหลักการศึกษาต่อเนื่
องตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและให้บริการที่คุณภาพ
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ (VISSION)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้นแบบของการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อ
มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (STOUKMBestPractices)
พันธกิจ(MISSION)
1.สร้างระบบการจัดการความรู้ ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรของมสธ.ที่
2.ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาระบบและกระบวนการ
ทางานให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
3. พัฒนาฐานความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อสนับสนุนต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

More Related Content

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 

การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช