SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
iisd: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
http://www.iisd.org
ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการจัดการความรู้
บันทึกย่อการวางแผนในการสื่อสารของสถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
ฮีทเตอร์ กรีซ ผู้อานวยการการสื่อสารความรู้
2005
2005 สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
จัดพิมพ์โดย สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนะนาความก้าวหน้าของนโยบายการค้าระหว่างประเทศและการลงทุน
นโยบายทางเศรษฐกิจการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศมาตรฐานในการวัด ตัวชี้วัด
และการจัดการโดยทรัพยากรธรรมชาติโดยการสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
เรารายงานการเจรจาต่อรองระหว่างประเทศและความรู้เรื่องกาไรจากการเป็นนายหน้ารวมทั้งโครงการที่ทางานร่วมกันขอ
งหุ้นส่วนทั่วโลก ส่งผลมากกว่าการวิจัยที่เคร่งครัดการสร้างศักยภาพในประเทศที่กาลังพัฒนา
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่ดีขึ้นระหว่างเหนือและใต้
วิสัยทัศน์ของไอไอเอสดียังคงใช้สนับสนุนอยู่ทั้งหมด ภาระหน้าที่คือผู้ชนะเลิศที่นาสิ่งใหม่ๆเข้ามา
ให้โอกาสสังคมที่จะอยู่ช่วยเหลือกัน ไอไอเอสดีจดทะเบียนเป็นองค์กรการกุศลในแคนาดาและมี501
สาขาในสหรัฐอเมริกา ไอไอเอสดี ได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติงานหลักจากรัฐบาลแคนาดา
ถึงแม้ว่าจะมีข้อกาหนดของหน่วยงานการพัฒนาระหว่างประเทศของแคนาดา(ซีไอดีเอ)
ศูนย์วิจัยการพัฒนาระหว่างประเทศ(ไอดีอาร์ซี)และสิ่งแวดล้อมแคนาดาและจากรัฐมานิตาโบ
สถาบันจะได้รับทุนโครงการต่างๆจากรัฐทั้งในและนอกแคนาดาจากสหประชาชาติ มูลนิธิและภาคเอกชน
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
161 ถนนพอร์เทตตะวันออก, ชั้น6
วินนิเพค,มานิโตบา แคนาดา
โทรศัพท์+1(204)958-7700
โทรสาร +1(204)958-7710
อีเมล :info@iisd.ca
เว็บไซด์ :http://www.iisd.org/
บันทึกย่อนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการเตรียมตัวศึกษาความรู้เกี่ยวกับการตอบคาถามของโลกถ้าต้องการทราบฉบับเต็ม
ให้ไปที่ hhtp//www.iisd.org/publications/pub.aspx?pno=778
ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการจัดการความรู้ให้แข็งแกร่ง
มีการถกเถียงกันว่า
ในการจัดการความรู้สามารถสร้างมาตรฐานหรือบรรทัดฐานของกลยุทธการจัดการความรู้ได้หรือไม่
และมาตรฐานควรเป็นเช่นไร อย่างไรก็ตามกลยุทธ์การจัดการความรู้จานวนมากที่สอดคล้องกันระหว่างองค์การต่างๆ
โดยไม่ใส่ใจโครงสร้างและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.การริเริ่มความรู้อย่างมีเหตุผล
การเลือกใช้ภาษาที่มีเหตุผลและกลยุทธ์ของการจัดการความรู้ของแต่ละสถาบันแตกต่างกันอย่างไม่น่าแปลกใจ
ในบางกรณี วิกฤติการณ์ทาให้เกิดการมีส่วนร่วม (วิกฤติเศรษฐกิจหรือการเปลี่ยนแปลงผู้นา) ในกรณีอื่นๆ
ความพยายามที่จะแข่งขันกันให้มีกาไรมากขึ้น เช่น ศูนย์กลางสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นส่วนกลางและตะวันออกในยุโรป
(อาร์อีซี) เป็นที่รู้กันว่าการทางานเพิ่มการแข่งขันทุนของสิ่งแวดล้อม และต้องการกลยุทธ์ที่สามารถชี้ได้ว่า
เป็นความชานาญเฉพาะด้าน และนาความรู้ที่จะดาเนินการได้อย่างรวดเร็วมากกว่าศักยภาพในการแข่งขัน ในกรณีหนึ่ง
องค์การยอมรับความรู้ในเรื่องการผูกขาดและกลับมาเป็นประเด็น การเกษียณอายุของพนักงาน
การผลัดเปลี่ยนพนักงานนามาซึ่งความสูญเสียของระบบการจัดระเบียบข้อบังคับที่สามารถนามาประยุกต์เป็นโครงการให
ม่ ในบางกรณี กิจการอาจเริ่มคาถามที่เป็นส่วนสาคัญเกี่ยวกับหน้าที่การงานในโลก
ซึ่งตอบโต้กับการเจริญเติบโตของวิกฤติการณ์เกี่ยวกับความช่วยเหลือของการมีประสิทธิภาพ
แรงจูงใจที่ชัดเจนจากผู้ริเริ่มแนะนาการจัดการความรู้
[เช่นกรณีของอาร์อีซีและโปรแกรมการพัฒนาของสหประชาชาติ(ยูเอ็นดีพี)]ซึ่งมีผลสาเร็จอย่างเข้มแข็งด้วยเครื่องมือ
การขาดการมีส่วนร่วมของความเข้าใจในการริเริ่มของการจัดการความรู้ เครื่องมือน้อยกว่าความสาเร็จ
2.ความสาเร็จของการจัดการความรู้เชื่อมต่อทั้งภารกิจและการปฏิบัติ
การจัดการความรู้อาจถูกสั่งการด้วยแผนกลยุทธ์ขององค์การ เป็นคาตอบให้พนักงานทั้งหมด
คาถามที่ว่าความรู้คืออะไรแผนการจัดการความรู้จะผูกโดยตรงไปที่การปฏิบัติ
จากการทบทวนการพัฒนาระหว่างประเทศของแคนาดา(ซีไอดีเอ)
และธนาคารโลกมีชื่อเสียงแพร่หลายในการไม่เชื่อมต่อการมีส่วนแบ่งปันความรู้และการปฏิบัติจริงในแต่ละวันขององค์การ
ในระหว่างการพัฒนาขององค์การสหประชาชาติบางครั้งมีความสาเร็จเกิดขึ้นจากการปรับตัวในธุรกิจนั้นอย่างกว้างขวาง
ซึ่งมีการพัฒนามากกว่าภาคสนามการบริหารทรัพยากรของท้องถิ่น(เอสยูอาร์เอฟ)ที่กลับกลายมาเป็นวิธีการที่มีเหตุผล
โดยทั่วไปจะเห็นความสาเร็จของการมีเครื่องมือมากกว่าการปฏิบัติด้วยความรู้พื้นฐาน
3.กาหนดวัตถุประสงค์ในระดับที่ถูกต้อง
ต่างจากการค้นคว้าของสถาบันและสมาชิกขององค์การ
การพัฒนาของกิจการที่สนับสนุนจะให้ความสาคัญมากกว่าความตั้งใจที่จะเริ่มต้นกลยุทธ์ความรู้ที่เคลื่อนไหว
ขณะที่เริ่มกลยุทธการวางแผนดูเหมือนว่าประกอบด้วยการวางแผนมาตรฐานขององค์การ
ประสบการณ์เหมือนจะปิดกั้นความเคลื่อนไหวของกลยุทธ์ที่มีส่วนร่วม
นี่อาจจะเป็นการสะท้อนของกับดักที่พยายามเป็นองค์ประกอบของการมีส่วนร่วม
บางครั้งเป็นเรื่องใหญ่ในการลงทุนที่จะพัฒนากลยุทธ์เวทีนโยบายวิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน
ในการจัดส่งข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ และออกไปเป็นองค์การที่สมบูรณ์ เพียงแต่ระบบล้มเหลวทั้งหมด
จุดเริ่มต้นของความผิดพลาดคือบรรทัดฐานอย่างหนึ่ง การทางานที่แบ่งปันความรู้จะดีที่สุด
เมื่อใกล้กับระดับความมีส่วนร่วมและการรวมเข้าด้วยกัน
การสร้างประสิทธิภาพเพื่อรวบรวมและสื่อสารความรู้ที่โครงการ/กิจกรรม/ระดับปฏิบัติงาน
ก่อนที่จะเริ่มต้นรวบรวมขึ้นเป็นระบบของบริษัทและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกลยุทธการตลาด หัวหน้าความรู้มีความเห็นว่า
“ความรู้ที่หมุนเวียนเป็นสถานะพิเศษและขณะที่มีโครงสร้างระบบและการนาข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งสาคัญ
เขาอาจจะถูกออกแบบและสนับสนุนกับวัตถุประสงค์พิเศษด้วยความตั้งใจ”
และกรรมการผู้จัดการของสมาคมสารสนเทศ(เอพีซี)ยืนยันว่า “ความรู้หมุนเวียนดีกว่ากิจกรรมที่มีข้อจากัดให้ทันเวลา
สั้นกว่ามีวัตถุประสงค์ของโครงการที่ดีกว่า”
การค้นคว้าและสมาชิกขององค์การที่มีชื่อเสียงจะแตกต่างจากการจัดการความรู้ของกิจการที่สนับสนุนอาร์อีซี,
เอพีซี และสถาบันพลังงานและการค้นคว้า(ทีอีอาร์ไอ)ที่พยายามจะหาการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ
ผู้ชนะจะเป็นผู้จัดการใน ระดับกลางและเป็นเจ้าหน้าที่
ผู้ที่เรียกร้องสิ่งที่ดีกว่าเข้าถึงโครงการและการวางแผนสารสนเทศการเริ่มต้นจุดที่เอาใจใส่เป็นการจับความรู้ที่เปิดเผย
ในทางที่เป็นระบบสาหรับใช้ภายใน องค์การเหล่านี้มีโครงการที่มีคุณภาพโครงการที่ขับเคลื่อนได้ ดังนั้น
เขามีเวลาน้อยสาหรับแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและกลยุทธ์ของการจัดการความรู้ เขากาหนดระบบที่ต้องการ
ศูนย์รวมความรู้ในเบื้องต้นทาอย่างไรจึงจะคล่อง(นาความรู้ไปใช้โดยคนอื่น)
ดีกว่าการสนับสนุนการมีส่วนร่วมความรู้เป็นการภายในความเชี่ยวชาญเรื่องความรู้สู่สารสนเทศภายนอก
4.เข้าใจพื้นฐานที่เป็นส่วนประกอบของการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้เป็นจานวนมากอาจถูกทาให้ลดลง โดยสิ่งต่อไปนี้:
การใช้อีเมล์อย่างดีและเว็บไซด์ที่ถูกออกแบบอย่างดี
เกี่ยวข้องกับความรู้ของประชาชนที่จะวางแผนและคงรักษาการปฏิบัติภายในระหว่างกันแอละกับผู้ดูภายนอก
ปัจจัยความสาเร็จของการจัดการเรียนรู้ที่ดีจึงเป็นกลยุทธ์ที่เหลืออยู่และความล้มเหลวอาจเกิดจากสิ่งต่อไปนี้
เอ) การจัดการเรียนรู้ภายใน
องค์การจัดการสารสนเทศภายในระหว่างส่วนต่างๆที่เป็นกลยุทธของการจัดการการเรียนรู้
จะจัดการอย่างไรกับการจัดเก็บข้อมูลและการแบ่งปันความรู้ของผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาโยพนักงานและหุ้นส่วน
ในบางองค์การ จุดศูนย์รวมห้องโครงสร้างการสื่อสารเป็นเครือข่ายความรู้ สนับสนุนโดยระบบบริการ
จดหมายข่าว และเว็บไซด์สาหรับแลกเปลี่ยนสื่อสารในอินเตอร์เน็ต
ในการค้นคว้าของชุมชนได้รับความสนใจน้อยกว่าการแนะนา“การสื่อสาร”
เพราะช่องทางในการแสดงความคิดเห็นได้ออกไปแล้ว
แต่สมาขิกขององค์การ(เอพีซีและทีไอจี)เน้นการสร้างสรรค์และมีเนื้อที่ให้โต้ตอบระหว่างสมาชิก
แต่การจับคาพูดด้วยระบบอีเล็คทรอนิค ดังนั้นดูเหมือนความคิดจะช้าลงเล็กน้อย อะไรเป็นสิ่งสาคัญ
ถ้าไม่ใช่การเฉพาะเจาะจงการสื่อสารภายใน แต่อาจเชื่อมด้วย
- พึงระลึกว่า การสื่อสารภายในขององค์การทั้งหมดเป็นสิ่งจาเป็น
- การมีเครื่องมือที่จัดให้สนับสนุนการสื่อสาร การเก็บรักษา การเหลืออยู่ของความรู้ และ
- การทดสอบปรกติของความพอเพียงของความสาเร็จ และสารวจทางใหม่ที่จะปรับปรุงการสื่อสาร
บี)การจัดการความรู้ภายนอก องค์การจะทาอย่างไรที่จะนาความรู้ไปถึงมือประชาชนที่ต้องการใช้
กลยุทธ์ที่จะทาให้ความรู้ผ่านการปฏิบัติกับความชานาญภายนอกและการตัดสินใจ
จะทราบได้อย่างไรว่าจะเกิดความแตกต่าง อะไรคือความสาคัญที่ไม่ใช่ความสาคัญของการจัดการความรู้ภายนอก
แต่ที่เป็นเช่นนี้เพราะ :
- คิดว่าความแตกต่างของรูปแบบการทางานร่วมกันและการสื่อสารที่ต้องการ
และการเลือกสิ่งเหล่านี้ขึ้นกับงานในมือ
- การจัดการของมิตรภาพ การสร้างและขบวนการสื่อสารที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจน
และการคาดการณ์ผลผลิตในเวลาที่กาหนด
- การตรวจวัดคุณภาพตามปรกติ และการปรับความสาเร็จเหล่านั้น
5.การทางานเชื่อมกับกลยุทธ์์
ไม่เพียงแต่กลยุทธ์ที่อยู่เหนือการจัดการความรู้ ไม่มีผลในองค์การเสมอไป และการทบทวนสิ่งที่เขียนไป
เป็นเรื่องที่เข้าใจยากในการที่จะแค่ให้เรื่องราวมีความสัมพันธ์กันต่อเนื่อง
การนาความเชี่ยวชาญภายนอกองค์การและกลยุทธการสื่อสารจากการสัมมนาความรู้อย่างกว้างขวาง
การวางแผนที่แท้จริงอาจถูกพัฒนาสามหรือสี่กลยุทธที่เกี่ยวข้องกัน แต่ไม่ได้ขึ้นกับสิ่งอื่นสาหรับความสาเร็จอย่างนี้
- กลยุทธการสื่อสารภายใน : เครื่องมือที่เข็มแข็งของการสื่อสารภายใน
- กลยุทธ์ที่มีผลกระทบ :
จะชี้และดารงสัมพันธภาพขององค์การที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญ(เสริมคุณภาพขององค์การความรู้)
และตาแหน่งนี้ต้องมีการเปลี่ยนแปลง (การค้นคว้าที่เชื่อมโยงและการปฏิบัติ)
- กลยุทธการสื่อสาร : ทาอย่างไรความรู้ขององค์การจะไปสู่ภายนอก
การสร้างความระมัดระวังของเรื่องราวละการเปลี่ยนแปลงที่จาเป็นของรหัสข้อมูลในคอมพิวเตอร์ที่บันทึกไว้
- กลยุทธการบริหารที่สนับสนุนโครงสร้างของการจัดการความรู้ : สารสนเทศ เทคโนโลยี ทรัพยากรมนุษย์
(เวลาของเจ้าหน้าที่ งานและการอบรม)และการมองไปข้างหน้า
6.กาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ
ไม่ว่ากลยุทธ์จะจัดอย่างไร และไม่ว่าจะอยู่ในระดับไหนของกิจกรรม มีหน้าที่ที่สาคัญจานวนหนึ่งและความ
รับผิดชอบที่องค์การนั้นต้องการที่กาหนด
- การจัดการความรู้ต้องการผู้ชนะเลิศในระดับการจัดการอาวุโสขององค์การ
และผู้ชนะต้องการให้คงอยู่ในระยะยาว
- ความสาคัญของความเสมอภาค การจัดการความรู้ต้องการผู้ชนะเลิศในระดับกลาง
ซึ่งแต่ละบุคคลต้องการเชื่อมต่อความรู้ที่ต้องการ และไปสู่การปฏิบัติขององค์การ
- กฎของผู้ชานาญภายนอกและผู้ถือหุ้น และความรู้เหล่านั้นจะเจริญในองค์การนั้น ซึ่งต้องกาหนดไว้
- กลยุทธ์ที่แตกต่างกันต้องการการพัฒนา กฎที่แตกต่างจาเป็นต้องยอมรับในกลยุทธ์เหล่านี้
“จุดการจัดการที่ได้รับรางวัล”ซึ่งกระบวนการนี้เกี่ยวกับการยอมรับ ซึ่งได้รับการสนับสนุนเป็นพิเศษในแต่ละคน
ผู้ซึ่งอยู่ในกฎที่สาคัญ “ความคิดที่ระบาดไปทั่ว” ภายในและย้อนกลับไปในองค์การ
มาเวนเป็นนักค้นคว้าที่มีความชานาญ ผู้ติดต่อกับผู้มีหน้าที่ตัดสินใจ ผู้ขายซึ่งสามารถสื่อสารข้อความ
บ่อยครั้งองค์การที่ดูเหมือนว่า “มีพื้นฐานความรู้” และได้รับการสนับสนุนจากนักค้นคว้าผู้เชี่ยวชาญ
กฎสาคัญทั่วไปที่ติดต่อประสานงานและผู้ขาย
- กฎสาคัญและรับผิดชอบโดยมืออาชีพรุ่นเยาว์ก็ต้องชัดเจน และบ่อยครั้งที่ต้องเชื่อมโยงข้ามองค์การ
และผลประโยชน์ที่เข้มแข็งของการหลั่งไหลของความรู้
7.ความก้าวหน้าของการตรวจสอบ
การนาทางเป็นเรื่องปรกติของการจัดการความรู้
และมีพื้นฐานเกี่ยวกับแนวโน้มที่ไปยังผลการตรวจสอบมากกว่าการวิเคราะห์เต็มที่
กลยุทธ์การพัฒนาและผ่านไปภายในองค์การ ทั้งการพัฒนาของแคนาดาและองค์การสหประชาชาติ
เริ่มต้นโดยการนาทางของการมีส่วนร่วม
การพัฒนาของแคนาดาเริ่มต้นจากเครือข่ายภายในของพนักงานและงบประมาณ
องค์การสหประชาชาติเริ่มในอีกทางหนึ่งสร้างทางออกจากประสบการณ์ในหนึ่งหรือสองทางของการค้นคว้าในท้องถิ่น
การปฏิบัติจากประเทศที่ตั้งสานักงาน เบลลาเนตทางานเกี่ยวกับกลุ่มที่ปรึกษาของการค้นคว้าเกษตรระหว่างประเทศ
ความรู้ในการจัดการเริ่มต้นจากหลักการที่เหมือนกัน เขาเริ่มต้นจากสองแนวทาง
และการพัฒนาตนเองอย่างรวดเร็วเกิน18 เดือน
สิ่งที่สาคัญคือการสร้างห้องทดลอง โดยเฉพาะเทคโนโลยีใหม่และชุมชนออนไลน์เกี่ยวกับวิกิเทคโนโลยี
หรือแม้แต่การใช้ชุดคาสั่งของกูเกิล ในการจัดตาแหน่งสมาชิกของชุมชน
ตามระดับของการมีส่วนร่วมและการติดต่อกับสมาชิกอื่นในชุมชน
การนาทางอย่างรวดเร็วและแล้วเมีอมีการเคาะสนิมมีผลต่อความพยายามในการวางแผนที่ใหญ่จากการเริ่มต้น
8.การวางแผนอย่างไม่ย่อท้อของกระบวนการความรู้ชุมชน
เครือข่ายสารสนเทศและการแบ่งปันความรู้เหมือนการตรวจสอบอาชีพ
เช่นเดียวกับเครื่องจักรที่ช่วยสนับสนุนให้ความรู้ไหลออกมา
บางครั้งจะมีความล้มเหลวในความสาเร็จมากมายเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะท้าทายความไม่ย่อท้อ
ทาอย่างไรจึงรักษาระบบสารสนเทศเมื่อจาเป็นจะยกระดับระบบได้อย่างไร
ผู้ใช้ต้องการทดสอบคุณภาพและเงื่อนไขของการแก้ไขอย่างต่อเนื่องบางครั้งระบบถูกตั้งกฎเกณฑ์มาจากความตั้งใจดี
แต่ขาดกลยุทธระยะยาวสาหรับบารุงรักษา พัฒนาโดยเฉพาะเจาะจง ขาดความตั้งใจหรือแหล่งที่มาของโครงสร้าง
หรือยกระดับที่รวบรวมแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นการยกระดับความเข้าใจใหม่ของผู้ใช้และเทคโนโลยีใหม่เป็นสิ่งที่เป็นไปได้
การวางแผนการจัดการที่ดีจะถูกยืนยันในการวางแผนระยะยาวอย่างไม่ย่อท้อของกระบวนการความรู้ชุมชน
-------------------------------------------
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนา โปรแกรมความรู้เรื่องการทางานของการสื่อสาร
เป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสาร เครือข่ายและการพัฒนาความรู้อย่างไม่ย่อท้อ การค้นคว้าและการสื่อสารในมือ
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาสามารถทาให้เกิดความแตกต่างในโลก
โดยการแบ่งสันปันส่วนอะไรที่เรารู้และอะไรอื่นที่ควรรู้อย่างไม่ย่อท้อ
-------------------------------------------------------------

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanshun minzstar
 

Viewers also liked (10)

Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
ภาคกลาง เที่ยว
ภาคกลาง เที่ยวภาคกลาง เที่ยว
ภาคกลาง เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 
Kms
KmsKms
Kms
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์  พิชญกุลนางสาวธัญภัทร์  พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
 

Iisd