SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 ชายคนหนึ่งมองเห็นเงาของต้นมะพร้าวทอดยาวไป 28 เมตร ขณะที่
เสาต้นหนึ่งซึ่งสูง 5 เมตร ทอดเงาไปทางเดียวกันยาว 10 เมตร อยากทราบว่าต้นมะพร้าวสูงกี่เมตร
1) จากตัวอย่างต้องการทราบเกี่ยวกับสิ่งใด (ความสูงของต้นมะพร้าว)
2) ถ้านาความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนดมาเขียนเป็นรูปสามเหลี่ยมจะได้รูป
สามเหลี่ยมลักษณะอย่างไร (เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป รูปหนึ่งเล็ก อีกรูปหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่า)
3) นักเรียนคิดว่าสามารถใช้ความสัมพันธ์จากความรู้เรื่องรูปสามเหลี่ยมคล้าย
หาความสูงของต้นมะพร้าวได้หรือไม่ (ได้)
4) นักเรียนมีวิธีการลาดับขั้นตอนในการหาสิ่งที่โจทย์กาหนดนี้อย่างไร
ขั้นที่ 1 พิจารณาความสัมพันธ์สิ่งที่โจทย์กาหนดและสร้างรูปแสดง
ความสัมพันธ์จะได้
จากรูปให้ AB แทนความสูงของต้นมะพร้าว
DE แทนความยาวของเสา เท่ากับ 5 เมตร
EC แทนความยาวของเงาของเสา เท่ากับ 10 เมตร
BC แทนความยาวของเงาของต้นมะพร้าว เท่ากับ 28 เมตร
ขั้นที่ 2 พิจารณาความสัมพันธ์ของมุมที่เท่ากันจากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน จะได้
CBA = CED (เป็นมุมฉากกาง90˚ เนื่องจากต้นมะพร้าวและเสาตั้งฉากกับพื้นดิน)
ACB = DCE (เป็นมุมร่วม)
CAB = CDE (เป็นมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน เนื่องจากมุมภายในรูปสามเหลี่ยม
รวมกันได้ 180˚)
ดังนั้น ABC ~ DEC
ขั้นที่ 3 ใช้อัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการหา
ความสูงของต้นมะพร้าว
จะได้ = =
จาก =
^ ^
^ ^
^ ^
AB
DE
BC
EC
CA
CD
AB
DE
BC
EC
ขั้นที่ 4 แทนค่าของจานวนที่โจทย์กาหนด แล้วคิดคานวณโดยใช้การแก้
สมการหรือการคูณไขว้
แทนค่า DE = 5 เมตร, BC = 28 เมตร และ EC = 10 เมตร
จะได้ =
AB =  5
AB = 14 เมตร
นั่นคือ ต้นมะพร้าวสูง 14 เมตร
ตัวอย่างที่ 2 ก้องมองเห็นเงาของเสาไฟฟ้าทอดยาวไป 25 เมตร และมีเสาต้นเล็ก ๆ
ทอดเงาไปทางเดียวกันยาว 5 เมตร จงหาความสูงของเสาไฟฟ้าดังรูป
1) จากตัวอย่างต้องการทราบเกี่ยวกับสิ่งใด (ความสูงของเสาไฟฟ้า)
2) ถ้านาความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนดมาเขียนเป็นรูปสามเหลี่ยมจะได้รูปสามเหลี่ยม
ลักษณะอย่างไร (เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป รูปหนึ่งเล็กอีกรูปหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่า)
3) นักเรียนคิดว่านักเรียนสามารถใช้ความสัมพันธ์จากความรู้เรื่องรูปสามเหลี่ยมคล้าย
หาความสูงของเสาไฟฟ้าได้หรือไม่ (ได้)
4) นักเรียนมีวิธีการลาดับขั้นตอนในการหาสิ่งที่โจทย์กาหนดนี้อย่างไร
(ครูให้ผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีทาตามคาบอกของเพื่อน ๆ
ในชั้นเรียน โดยครูคอยแนะนาอธิบายเพิ่มเติมดังนี้)
วิธีทา ให้AB แทนความสูงของเสาไฟฟ้า
CD แทนความสูงของเสาต้นเล็ก 3 เมตร
DE แทนความยาวของเงาของเสาต้นเล็ก 5 เมตร
BE แทนความยาวของเงาของเสาไฟฟ้า 25 เมตร
AB
5
28
10
28
10
ABE และ CDE
ABE = CDE มีขนาดของมุมเท่ากับ 90˚ เพราะตั้งฉากกับพื้น
AEB = CED เป็นมุมร่วม
180˚ – ABE – ABE = 180˚ – CDE – CED มุมที่เหลือของรูปสามเหลี่ยมเท่ากัน
ดังนั้น ABE ~ CDE มีมุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม
แสดงว่า = =
แทนค่า =
=
AB =  3
AB = 15 เมตร
ดังนั้น เสาไฟฟ้าสูง 15 เมตร
2. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนาความรู้เรื่องรูปสามเหลี่ยมไปใช้ เพื่อให้นักเรียน
เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ดังนี้
ตัวอย่างที่ 3 การหาความกว้างของแม่น้า โดยใช้รูปสามเหลี่ยมคล้ายดังรูป
มี ABO และ CDO เป็นมุมฉาก มีระยะ CD = 6 เมตร BO = 80 เมตร และ DO = 8 เมตร ที่จุด C มอง
และเล็งมาตามแนว CA ผ่านจุด O โดยที่ CD // BA จงหาความกว้างของแม่น้า
วิธีทา
ให้ AB แทนความกว้างของแม่น้า
BOA และ DOC
ABO = CDO ต่างเท่ากับมุมฉาก
BOA = DOC มุมตรงข้ามกันเท่ากัน
180˚ – ABO – BOA = 180˚ – CDO – DOC ขนาดของมุมภายใน
AB
CD
BE
DE
EA
EC
AB
CD
BE
DE
AB
3
25
5
^ ^
^ ^
^ ^
^ ^ ^ ^
^ ^
^ ^ ^ ^
25
5
^ ^
ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180˚ มุมที่เหลือจะเท่ากัน
นั่นคือ BAO = DCO
ดังนั้น BOA ~ DOC มีมุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม
แสดงว่า =
แทนค่า =
AB =
AB = 60 เมตร
ดังนั้น ความกว้างของแม่น้าเท่ากับ 60 เมตร
ตัวอย่างที่ 4 สุดใจต้องการหาความสูงของหน้าผาแห่งหนึ่ง จึงนาไม้รูปสามเหลี่ยม-
มุมฉาก ABC ที่มีด้านประกอบมุมฉาก AB = 40 เซนติเมตร และ BC = 30 เซนติเมตร โดยให้ด้าน AB
ขนานกับพื้นดิน และนารูปสามเหลี่ยม ABC มาเล็งยอดหน้าผา ณ จุดที่ห่างจากหน้าผา 600 เมตร
ถ้าระดับสายตาของสุดใจอยู่สูงจากพื้นดิน 1.5 เมตร อยากทราบว่าหน้าผาสูงเท่าไร
วิธีทา พิจารณา ABC และ ADE
CAB = EAD มุมร่วม
ABC = ADE เป็นมุมฉาก
BCA = DEA มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 องศา
ขนาดมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน
ดังนั้น ABC ~ ADE มีมุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม
แสดงว่า =
แทนค่า =
DE =
DE = 450 เมตร
ความสูงของหน้าผา 450 + 1.5 เมตร
ดังนั้น ความสูงของหน้าผา 451.5 เมตร
AB
CD
BO
DO
DE
BC
AD
AB
DE
30
600
40
^ ^
^ ^
^ ^
^ ^
AB
6
80
8
80  6
8
600  30
40
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตพัน พัน
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลAon Narinchoti
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 

What's hot (20)

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 

Viewers also liked

แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้ายkrookay2012
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นcrupor
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟcrupor
 
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...Pakamart Kawwaree
 
Guidelines to Review Work products
Guidelines to Review Work productsGuidelines to Review Work products
Guidelines to Review Work productsAshok Kumar
 
Portal suradnici-u-učenju-1-2
Portal suradnici-u-učenju-1-2Portal suradnici-u-učenju-1-2
Portal suradnici-u-učenju-1-2Emilija Polonijo
 
comparing education than&now
comparing education than&nowcomparing education than&now
comparing education than&nowgabby220
 
Material didáctico: Nombre de en inglés
Material didáctico: Nombre de en inglésMaterial didáctico: Nombre de en inglés
Material didáctico: Nombre de en inglésgennyjm
 
Spot fitness power point pitch
Spot fitness power point pitch Spot fitness power point pitch
Spot fitness power point pitch Marshall Nash
 

Viewers also liked (20)

สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟ
 
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
 
Guidelines to Review Work products
Guidelines to Review Work productsGuidelines to Review Work products
Guidelines to Review Work products
 
Re
ReRe
Re
 
Portal suradnici-u-učenju-1-2
Portal suradnici-u-učenju-1-2Portal suradnici-u-učenju-1-2
Portal suradnici-u-učenju-1-2
 
comparing education than&now
comparing education than&nowcomparing education than&now
comparing education than&now
 
Material didáctico: Nombre de en inglés
Material didáctico: Nombre de en inglésMaterial didáctico: Nombre de en inglés
Material didáctico: Nombre de en inglés
 
Spot fitness power point pitch
Spot fitness power point pitch Spot fitness power point pitch
Spot fitness power point pitch
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
 

Similar to แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1

E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3benjalakpitayaschool
 
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8Markker Promma
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าJiraprapa Suwannajak
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 

Similar to แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 (20)

คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
testM3-midterm1
testM3-midterm1testM3-midterm1
testM3-midterm1
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 
Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
 
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8ธีรุตม์  พรหมมา 563050100 8
ธีรุตม์ พรหมมา 563050100 8
 
Onet m3 52
Onet m3 52Onet m3 52
Onet m3 52
 
Aaaa
AaaaAaaa
Aaaa
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1

  • 1. พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 ชายคนหนึ่งมองเห็นเงาของต้นมะพร้าวทอดยาวไป 28 เมตร ขณะที่ เสาต้นหนึ่งซึ่งสูง 5 เมตร ทอดเงาไปทางเดียวกันยาว 10 เมตร อยากทราบว่าต้นมะพร้าวสูงกี่เมตร 1) จากตัวอย่างต้องการทราบเกี่ยวกับสิ่งใด (ความสูงของต้นมะพร้าว) 2) ถ้านาความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนดมาเขียนเป็นรูปสามเหลี่ยมจะได้รูป สามเหลี่ยมลักษณะอย่างไร (เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป รูปหนึ่งเล็ก อีกรูปหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่า) 3) นักเรียนคิดว่าสามารถใช้ความสัมพันธ์จากความรู้เรื่องรูปสามเหลี่ยมคล้าย หาความสูงของต้นมะพร้าวได้หรือไม่ (ได้) 4) นักเรียนมีวิธีการลาดับขั้นตอนในการหาสิ่งที่โจทย์กาหนดนี้อย่างไร ขั้นที่ 1 พิจารณาความสัมพันธ์สิ่งที่โจทย์กาหนดและสร้างรูปแสดง ความสัมพันธ์จะได้ จากรูปให้ AB แทนความสูงของต้นมะพร้าว DE แทนความยาวของเสา เท่ากับ 5 เมตร EC แทนความยาวของเงาของเสา เท่ากับ 10 เมตร BC แทนความยาวของเงาของต้นมะพร้าว เท่ากับ 28 เมตร ขั้นที่ 2 พิจารณาความสัมพันธ์ของมุมที่เท่ากันจากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน จะได้ CBA = CED (เป็นมุมฉากกาง90˚ เนื่องจากต้นมะพร้าวและเสาตั้งฉากกับพื้นดิน) ACB = DCE (เป็นมุมร่วม) CAB = CDE (เป็นมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน เนื่องจากมุมภายในรูปสามเหลี่ยม รวมกันได้ 180˚) ดังนั้น ABC ~ DEC ขั้นที่ 3 ใช้อัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการหา ความสูงของต้นมะพร้าว จะได้ = = จาก = ^ ^ ^ ^ ^ ^ AB DE BC EC CA CD AB DE BC EC
  • 2. ขั้นที่ 4 แทนค่าของจานวนที่โจทย์กาหนด แล้วคิดคานวณโดยใช้การแก้ สมการหรือการคูณไขว้ แทนค่า DE = 5 เมตร, BC = 28 เมตร และ EC = 10 เมตร จะได้ = AB =  5 AB = 14 เมตร นั่นคือ ต้นมะพร้าวสูง 14 เมตร ตัวอย่างที่ 2 ก้องมองเห็นเงาของเสาไฟฟ้าทอดยาวไป 25 เมตร และมีเสาต้นเล็ก ๆ ทอดเงาไปทางเดียวกันยาว 5 เมตร จงหาความสูงของเสาไฟฟ้าดังรูป 1) จากตัวอย่างต้องการทราบเกี่ยวกับสิ่งใด (ความสูงของเสาไฟฟ้า) 2) ถ้านาความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนดมาเขียนเป็นรูปสามเหลี่ยมจะได้รูปสามเหลี่ยม ลักษณะอย่างไร (เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป รูปหนึ่งเล็กอีกรูปหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่า) 3) นักเรียนคิดว่านักเรียนสามารถใช้ความสัมพันธ์จากความรู้เรื่องรูปสามเหลี่ยมคล้าย หาความสูงของเสาไฟฟ้าได้หรือไม่ (ได้) 4) นักเรียนมีวิธีการลาดับขั้นตอนในการหาสิ่งที่โจทย์กาหนดนี้อย่างไร (ครูให้ผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีทาตามคาบอกของเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน โดยครูคอยแนะนาอธิบายเพิ่มเติมดังนี้) วิธีทา ให้AB แทนความสูงของเสาไฟฟ้า CD แทนความสูงของเสาต้นเล็ก 3 เมตร DE แทนความยาวของเงาของเสาต้นเล็ก 5 เมตร BE แทนความยาวของเงาของเสาไฟฟ้า 25 เมตร AB 5 28 10 28 10
  • 3. ABE และ CDE ABE = CDE มีขนาดของมุมเท่ากับ 90˚ เพราะตั้งฉากกับพื้น AEB = CED เป็นมุมร่วม 180˚ – ABE – ABE = 180˚ – CDE – CED มุมที่เหลือของรูปสามเหลี่ยมเท่ากัน ดังนั้น ABE ~ CDE มีมุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม แสดงว่า = = แทนค่า = = AB =  3 AB = 15 เมตร ดังนั้น เสาไฟฟ้าสูง 15 เมตร 2. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนาความรู้เรื่องรูปสามเหลี่ยมไปใช้ เพื่อให้นักเรียน เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ดังนี้ ตัวอย่างที่ 3 การหาความกว้างของแม่น้า โดยใช้รูปสามเหลี่ยมคล้ายดังรูป มี ABO และ CDO เป็นมุมฉาก มีระยะ CD = 6 เมตร BO = 80 เมตร และ DO = 8 เมตร ที่จุด C มอง และเล็งมาตามแนว CA ผ่านจุด O โดยที่ CD // BA จงหาความกว้างของแม่น้า วิธีทา ให้ AB แทนความกว้างของแม่น้า BOA และ DOC ABO = CDO ต่างเท่ากับมุมฉาก BOA = DOC มุมตรงข้ามกันเท่ากัน 180˚ – ABO – BOA = 180˚ – CDO – DOC ขนาดของมุมภายใน AB CD BE DE EA EC AB CD BE DE AB 3 25 5 ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ 25 5 ^ ^
  • 4. ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180˚ มุมที่เหลือจะเท่ากัน นั่นคือ BAO = DCO ดังนั้น BOA ~ DOC มีมุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม แสดงว่า = แทนค่า = AB = AB = 60 เมตร ดังนั้น ความกว้างของแม่น้าเท่ากับ 60 เมตร ตัวอย่างที่ 4 สุดใจต้องการหาความสูงของหน้าผาแห่งหนึ่ง จึงนาไม้รูปสามเหลี่ยม- มุมฉาก ABC ที่มีด้านประกอบมุมฉาก AB = 40 เซนติเมตร และ BC = 30 เซนติเมตร โดยให้ด้าน AB ขนานกับพื้นดิน และนารูปสามเหลี่ยม ABC มาเล็งยอดหน้าผา ณ จุดที่ห่างจากหน้าผา 600 เมตร ถ้าระดับสายตาของสุดใจอยู่สูงจากพื้นดิน 1.5 เมตร อยากทราบว่าหน้าผาสูงเท่าไร วิธีทา พิจารณา ABC และ ADE CAB = EAD มุมร่วม ABC = ADE เป็นมุมฉาก BCA = DEA มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 องศา ขนาดมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน ดังนั้น ABC ~ ADE มีมุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม แสดงว่า = แทนค่า = DE = DE = 450 เมตร ความสูงของหน้าผา 450 + 1.5 เมตร ดังนั้น ความสูงของหน้าผา 451.5 เมตร AB CD BO DO DE BC AD AB DE 30 600 40 ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ AB 6 80 8 80  6 8 600  30 40