SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 
ชื่อผลงาน การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” 
โดยใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 
โรงเรียนนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส 
ชื่อผู้นาเสนอ นางสาวกัลยา ปาสอ 
โรงเรียน นราธิวาส ตาบลโคกเคียน อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 
สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 15 
โทรศัพท์ 073-541771 โทรสาร 073-541773 
โทรศัพท์มือถือ 089-7324868 e-mail kanya_tato@hotmail.co.th 
1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ 
จากผลการประเมิน Math test ที่ผ่านมาพบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบ 
คิดเป็นค่าเฉลี่ย 8.66 จากคะแนนสอบทั้งหมด 30 คะแนน และในฐานะที่ผู้รายงานเป็นครูผู้สอนชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ 3/8 พบว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 6.82 ซึ่งต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 
ชั้นปีที่ 3 (วิชาการโรงเรียนนราธิวาส. 2557) 
จากประสบการณ์การสอนของผู้วิจัยซึ่งเป็นครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 
ของโรงเรียนนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ซึ่งมักจะใช้วิธีการสอนด้วยการอธิบายเนื้อหา ใช้การบอกกฎ หลักการ 
ยกตัวอย่าง แล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดตามหนังสือเรียน และจากการสอบถามครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษา 
ปีที่ 3 เกี่ยวกับปัญหาการเรียนเรื่อง ความคล้าย พบว่านักเรียนประสบปัญหาในการเรียนรู้เรื่อง “ความคล้าย” 
ที่สาคัญดังต่อไปนี้คือ 1. นักเรียนส่วนใหญ่บอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันหรือไม่ แต่ไม่สามารถบอก 
หรือแสดงเหตุผลได้ 2. นักเรียนไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความคล้ายได้ เนื่องจากนักเรียนไม่สามารถ 
นาสิ่งที่โจทย์กาหนดให้มาเขียนเป็นแผนภาพรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันได้ 3. นักเรียนไม่สามารถนา 
ความรู้เรื่องสามเหลี่ยมที่คล้ายกันไปประยุกต์ใช้ได้ 
ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการจัดการเรียนการสอนในเนื้อหา “ความคล้าย” เป็นปัญหา จึงได้ค้นคว้าหาวิธีเพื่อ 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง “ความคล้าย” ซึ่งจากการค้นคว้านั้นพบว่า การจัดการเรียนการสอนโดย 
ใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถาม ทาให้ผู้เรียนได้แสดงออกในการคิดและการให้เหตุผล 
เป็นการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งให้นักเรียนรู้จักคิด และช่วยส่งเสริมความสามารถในการเรียนได้ 
การจัดกิจรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่าง เป็นการสะท้อนผลการเรียนรู้ซึ่งวัดถึงความเข้าใจของ 
ผู้เรียน ดังคากล่าวของ Thomus Butts (1980: 26) กล่าวไว้ว่า การที่ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างนั้น สามารถ 
วัดถึง “ความเข้าใจ” ซึ่งดีกว่า การตั้งโจทย์หรือแบบฝึกหัดในลักษณะ เช่น แบบให้เติม ถูก - ผิด แบบหลาย 
ตัวเลือก แบบเติมคาในช่องว่าง และแบบจับคู่สิ่งที่สัมพันธ์กัน เป็นต้น ซึ่งเป็นการวัดผลเกี่ยวกับ “ความรู้ 
ความจา” แต่ไม่ได้วัดถึง “ความเข้าใจ” และสอดคล้องกับ ยุพิน พิพิธกุล (2530: 162) กล่าวว่า “ครูควรเปิด 
โอกาสให้นักเรียนยกตัวอย่าง เพื่อทดสอบความเข้าใจของนักเรียน เช่น ครูสอนกฎการแยกแฟกเตอร์ a2 b2 
( a b ) ( a b ) เสร็จแล้วครูก็ให้นักเรียนยกตัวอย่าง เพื่อแสดงให้เห็นว่า a และ b นั้นเป็นเพียง 
สัญลักษณ์ใด ๆ เท่านั้น อาจจะเปลี่ยน a และ b เป็นตัวอื่นได้” 
นอกจากการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างดังข้างต้นแล้ว การจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียน 
ตั้งคาถามก็เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่สาคัญที่ครูผู้สอนควรนามาใช้ ดังคากล่าวของ ปรีชา เนาว์เย็นผล
(2538: 67) ที่กล่าวไว้ว่า ครูควรให้นักเรียนฝึกหัดตั้งคาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจ เนื้อหาและทาให้สามารถมองเห็นแนวทางในการหาคาตอบของคาถามและสอดคล้องกับ สสวท. (2551: 177) ที่กล่าวไว้ว่า ครูควรฝึกให้นักเรียนสร้างคาถามใหม่ โดยอาศัยแนวคิดจากตัวอย่างหรือแบบฝึกหัดที่ทาเสร็จแล้ว และได้คาตอบเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ การคิดตั้งคาถามนามาซึ่งความรู้และส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะการตั้งคาถามเป็นการสร้างปัญญา ซึ่งสอดคล้องกับหลักพุทธศาสนา คือ ปุจฉา - วิสัชนา ยิ่งตั้งคาถามก็ จะยิ่งได้คาตอบ ยิ่งได้ความรู้และมีการถกเถียง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้มุมมองที่แตกต่าง และสร้างปัญญาเพิ่ม (ทันทรรศ์(นามแฝง), 2549: 33-34) และการคิดตั้งคาถามเป็นสิ่งสาคัญที่นามาซึ่งการเรียนรู้ เพราะคาถามคือ ตัวช่วยนาทาให้การตอบสนองของกลุ่มในการเรียนรู้มีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการเรียนรู้ของตัวบุคคล (Marquard, 2007) 
จะเห็นได้ว่า การจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถามนั้น เป็นกิจกรรมการเรียนการ สอนที่สาคัญ ซึ่งการให้นักเรียนยกตัวอย่างตามเงื่อนไขที่ผู้สอนกาหนดเป็นการตรวจสอบผลการเรียนของ นักเรียน และเป็นการวัดผลถึงความเข้าใจของนักเรียนซึ่งเป็นขั้นที่สูงกว่าความรู้ ความจา และการที่นักเรียน ฝึกตั้งคาถามด้วยตนเองนั้นเป็นการฝึกให้นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ ช่างสงสัย มุ่งมั่นหาคาตอบ รู้จักคิด วิเคราะห์ ถกเถียงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น นอกจากนี้การจัดกิจกรรมโดยเน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้ง คาถาม ยังช่วยให้ผู้สอนสามารถวัดผลด้านความเข้าใจของนักเรียนจากการให้นักเรียนยกตัวอย่างตามเงื่อนไขที่ ผู้สอนกาหนด และช่วยให้ผู้สอนเข้าใจว่านักเรียนรู้อะไร และขั้นตอนต่อไปจะวางแผนอะไรเพื่อตอบคาถาม จากการตั้งคาถามด้วยตนเอง นักเรียนจะมีความเชื่อมั่นในการสร้างความท้าทายทางคณิตศาสตร์ด้วยตนเอง และยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถทางคณิตศาสตร์ 
ดังนั้น ผู้วิจัยต้องการหาคาตอบของคาถามวิจัยที่ว่า การใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้ง คาถาม ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีลักษณะอย่างไร และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง “ความ- คล้าย” โดยใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถามหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นอย่างไร

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟ
crupor
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
crupor
 
กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้
Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
Kwanchai Buaksuntear
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
ทับทิม เจริญตา
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
krurutsamee
 

Viewers also liked (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟ
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
 
สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ปริมาตรทรงกลม
ปริมาตรทรงกลมปริมาตรทรงกลม
ปริมาตรทรงกลม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 

Similar to การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” โดยใช้กิจก

แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
Muaymie Cld
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ฟาน. ฟฟฟ
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน
Kanyanat Khanthaporn
 
1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่
somdetpittayakom school
 
1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่
somdetpittayakom school
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
somdetpittayakom school
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
somdetpittayakom school
 
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
krupornpana55
 

Similar to การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” โดยใช้กิจก (20)

แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน
 
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร พันตาวงศ์ 22
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร  พันตาวงศ์ 22Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร  พันตาวงศ์ 22
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร พันตาวงศ์ 22
 
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงานงานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
 
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงานงานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
 
1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่
 
1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่1อนุชิตเผยแพร่
1อนุชิตเผยแพร่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงงาน ภรภัทร พันตาวงศ์
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงงาน ภรภัทร  พันตาวงศ์ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงงาน ภรภัทร  พันตาวงศ์
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงงาน ภรภัทร พันตาวงศ์
 
แฟ้มสะสมงานของภรภัทร 22 5 7
แฟ้มสะสมงานของภรภัทร 22 5 7แฟ้มสะสมงานของภรภัทร 22 5 7
แฟ้มสะสมงานของภรภัทร 22 5 7
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
 

การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” โดยใช้กิจก

  • 1. ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” โดยใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 โรงเรียนนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ชื่อผู้นาเสนอ นางสาวกัลยา ปาสอ โรงเรียน นราธิวาส ตาบลโคกเคียน อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 15 โทรศัพท์ 073-541771 โทรสาร 073-541773 โทรศัพท์มือถือ 089-7324868 e-mail kanya_tato@hotmail.co.th 1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ จากผลการประเมิน Math test ที่ผ่านมาพบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบ คิดเป็นค่าเฉลี่ย 8.66 จากคะแนนสอบทั้งหมด 30 คะแนน และในฐานะที่ผู้รายงานเป็นครูผู้สอนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/8 พบว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 6.82 ซึ่งต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 3 (วิชาการโรงเรียนนราธิวาส. 2557) จากประสบการณ์การสอนของผู้วิจัยซึ่งเป็นครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ซึ่งมักจะใช้วิธีการสอนด้วยการอธิบายเนื้อหา ใช้การบอกกฎ หลักการ ยกตัวอย่าง แล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดตามหนังสือเรียน และจากการสอบถามครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 เกี่ยวกับปัญหาการเรียนเรื่อง ความคล้าย พบว่านักเรียนประสบปัญหาในการเรียนรู้เรื่อง “ความคล้าย” ที่สาคัญดังต่อไปนี้คือ 1. นักเรียนส่วนใหญ่บอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันหรือไม่ แต่ไม่สามารถบอก หรือแสดงเหตุผลได้ 2. นักเรียนไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความคล้ายได้ เนื่องจากนักเรียนไม่สามารถ นาสิ่งที่โจทย์กาหนดให้มาเขียนเป็นแผนภาพรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันได้ 3. นักเรียนไม่สามารถนา ความรู้เรื่องสามเหลี่ยมที่คล้ายกันไปประยุกต์ใช้ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการจัดการเรียนการสอนในเนื้อหา “ความคล้าย” เป็นปัญหา จึงได้ค้นคว้าหาวิธีเพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง “ความคล้าย” ซึ่งจากการค้นคว้านั้นพบว่า การจัดการเรียนการสอนโดย ใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถาม ทาให้ผู้เรียนได้แสดงออกในการคิดและการให้เหตุผล เป็นการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งให้นักเรียนรู้จักคิด และช่วยส่งเสริมความสามารถในการเรียนได้ การจัดกิจรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่าง เป็นการสะท้อนผลการเรียนรู้ซึ่งวัดถึงความเข้าใจของ ผู้เรียน ดังคากล่าวของ Thomus Butts (1980: 26) กล่าวไว้ว่า การที่ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างนั้น สามารถ วัดถึง “ความเข้าใจ” ซึ่งดีกว่า การตั้งโจทย์หรือแบบฝึกหัดในลักษณะ เช่น แบบให้เติม ถูก - ผิด แบบหลาย ตัวเลือก แบบเติมคาในช่องว่าง และแบบจับคู่สิ่งที่สัมพันธ์กัน เป็นต้น ซึ่งเป็นการวัดผลเกี่ยวกับ “ความรู้ ความจา” แต่ไม่ได้วัดถึง “ความเข้าใจ” และสอดคล้องกับ ยุพิน พิพิธกุล (2530: 162) กล่าวว่า “ครูควรเปิด โอกาสให้นักเรียนยกตัวอย่าง เพื่อทดสอบความเข้าใจของนักเรียน เช่น ครูสอนกฎการแยกแฟกเตอร์ a2 b2 ( a b ) ( a b ) เสร็จแล้วครูก็ให้นักเรียนยกตัวอย่าง เพื่อแสดงให้เห็นว่า a และ b นั้นเป็นเพียง สัญลักษณ์ใด ๆ เท่านั้น อาจจะเปลี่ยน a และ b เป็นตัวอื่นได้” นอกจากการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างดังข้างต้นแล้ว การจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียน ตั้งคาถามก็เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่สาคัญที่ครูผู้สอนควรนามาใช้ ดังคากล่าวของ ปรีชา เนาว์เย็นผล
  • 2. (2538: 67) ที่กล่าวไว้ว่า ครูควรให้นักเรียนฝึกหัดตั้งคาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจ เนื้อหาและทาให้สามารถมองเห็นแนวทางในการหาคาตอบของคาถามและสอดคล้องกับ สสวท. (2551: 177) ที่กล่าวไว้ว่า ครูควรฝึกให้นักเรียนสร้างคาถามใหม่ โดยอาศัยแนวคิดจากตัวอย่างหรือแบบฝึกหัดที่ทาเสร็จแล้ว และได้คาตอบเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ การคิดตั้งคาถามนามาซึ่งความรู้และส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะการตั้งคาถามเป็นการสร้างปัญญา ซึ่งสอดคล้องกับหลักพุทธศาสนา คือ ปุจฉา - วิสัชนา ยิ่งตั้งคาถามก็ จะยิ่งได้คาตอบ ยิ่งได้ความรู้และมีการถกเถียง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้มุมมองที่แตกต่าง และสร้างปัญญาเพิ่ม (ทันทรรศ์(นามแฝง), 2549: 33-34) และการคิดตั้งคาถามเป็นสิ่งสาคัญที่นามาซึ่งการเรียนรู้ เพราะคาถามคือ ตัวช่วยนาทาให้การตอบสนองของกลุ่มในการเรียนรู้มีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการเรียนรู้ของตัวบุคคล (Marquard, 2007) จะเห็นได้ว่า การจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถามนั้น เป็นกิจกรรมการเรียนการ สอนที่สาคัญ ซึ่งการให้นักเรียนยกตัวอย่างตามเงื่อนไขที่ผู้สอนกาหนดเป็นการตรวจสอบผลการเรียนของ นักเรียน และเป็นการวัดผลถึงความเข้าใจของนักเรียนซึ่งเป็นขั้นที่สูงกว่าความรู้ ความจา และการที่นักเรียน ฝึกตั้งคาถามด้วยตนเองนั้นเป็นการฝึกให้นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ ช่างสงสัย มุ่งมั่นหาคาตอบ รู้จักคิด วิเคราะห์ ถกเถียงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น นอกจากนี้การจัดกิจกรรมโดยเน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้ง คาถาม ยังช่วยให้ผู้สอนสามารถวัดผลด้านความเข้าใจของนักเรียนจากการให้นักเรียนยกตัวอย่างตามเงื่อนไขที่ ผู้สอนกาหนด และช่วยให้ผู้สอนเข้าใจว่านักเรียนรู้อะไร และขั้นตอนต่อไปจะวางแผนอะไรเพื่อตอบคาถาม จากการตั้งคาถามด้วยตนเอง นักเรียนจะมีความเชื่อมั่นในการสร้างความท้าทายทางคณิตศาสตร์ด้วยตนเอง และยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถทางคณิตศาสตร์ ดังนั้น ผู้วิจัยต้องการหาคาตอบของคาถามวิจัยที่ว่า การใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้ง คาถาม ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีลักษณะอย่างไร และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง “ความ- คล้าย” โดยใช้กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนยกตัวอย่างและตั้งคาถามหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นอย่างไร