SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันสองรูปโดยสร้างรูปสามเหลี่ยมคล้ายตามที่กาหนดให้ ดังนี้
สร้างรูปสามเหลี่ยมคล้ายสองรูป ดังนี้
1. XYZ ~ PQR โดย XYZ = PQR , YZX = QRP และ ZXY = RPQ
XY = 3 เซนติเมตร PQ = 4.5 เซนติเมตร
YZ = 4 เซนติเมตร QR = 6 เซนติเมตร
XZ = 2 เซนติเมตร PR = 3 เซนติเมตร
2. ABC ~ DEF โดย CAB = FDE, ABC = DEF และ BCA = EFD
AB = 4 เซนติเมตร DE = 2 เซนติเมตร
BC = 3 เซนติเมตร EF = 1.5 เซนติเมตร
AC = 5 เซนติเมตร DF = 2.5 เซนติเมตร
1) จากรูปที่ 1 XYZ ~ PQR ด้านใดบ้างเป็นด้านที่สมนัยกัน
(XY เป็นด้านสมนัยกับ PQ , YZ เป็นด้านสมนัยกับ QR และ XZ เป็นด้านสมนัยกับ PR)
2) จากรูปที่ 2 ABC ~ DEF ด้านใดบ้างที่เป็นด้านสมนัยกัน
(AB เป็นด้านสมนัยกับ DE , BC เป็นด้านสมนัยกับ EF และ AC เป็นด้านสมนัยกับ DF)
3) ถ้านาความยาวด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมคล้ายมาเทียบ
อัตราส่วนกัน จากรูปที่ 1 และ 2 จะได้อย่างไร
(รูปที่ 1 = =
= =
=
รูปที่ 2 = = 2
= = 2
= = 2)
4) อัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกันของแต่ละรูปเป็นอย่างไร (รูปที่ 1
เท่ากันทุกด้าน รูปที่ 2 เท่ากันทุกด้าน)
.
^ ^ ^ ^ ^ ^
^ ^
^ ^
^ ^
XY
PQ
3
4.5
2
3
4
6
2
3
YZ
QR
2
3
XZ
PR
BC
EF
AB
DE
AC
DF
3
1.5
5
2.5
4
2
ตัวอย่าง กาหนดรูป ABC และ PQR มี AC = 3 เซนติเมตร PR = 2 เซนติเมตร
AB = และ 2BC = 3QR จงพิจารณาว่า ABC คล้ายกับ PQR หรือไม่
วิธีทา พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายด้วยอัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันเท่ากัน
เนื่องจาก AC = 3 เซนติเมตร และ PR = 2 เซนติเมตร
ดังนั้น =
เนื่องจาก AB =
ดังนั้น =
เนื่องจาก 2BC = 3QR
ดังนั้น = 3
. =
จะเห็นว่า = = =
แสดงว่า ABC ~ PQR เพราะมีอัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันเท่ากัน
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ PQR คล้ายกับ PMN และมีความยาวแต่ละด้านดังรูป
จงหาความยาวของ MN และ PR
3PQ
2
AC
PR
3
2
AB
PQ
3PQ
2
3
2
2BC
QR
BC
QR
3
2
3
2
AC
PR
AB
PQ
BC
QR
วิธีคิด ขั้นที่ 1 พิจารณาสิ่งที่โจทย์กาหนดให้และเขียนความสัมพันธ์ด้านที่สมนัย
กันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย
จะได้ PQR ~ PMN
ดังนั้นจะได้ = =
นั่นคือ =
ขั้นที่ 2 แทนค่าความยาวของด้านต่าง ๆ ที่โจทย์กาหนดในความสัมพันธ์ที่
ได้จากขั้นที่ 1 แล้วหาความยาวของด้านที่ต้องการทราบ โดยการแก้สมการหรือการคูณไขว้
แทนค่า PQ = 1 นิ้ว, PM = 1.5 นิ้ว และ QR = 4 นิ้ว
จะได้ =
MN = 4  1.5
MN = 6 นิ้ว
จาก =
แทนค่า PQ = 1 นิ้ว, PM = 1.5 นิ้ว และ NP = 9 นิ้ว
จะได้ =
= RP
หรือ PR = 6 นิ้ว
ขั้นที่ 3 สรุปคาตอบจากสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
จะได้ความยาวของ MN ยาว 6 นิ้ว และ PR ยาว 6 นิ้ว
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด ABC ~ XYZ และมีความยาวด้านดังรูป จงหา
ความยาวของ XY และ YZ
วิธีทา ABC ~ XYZ
ดังนั้น = =
จะได้ =
แทนค่า AB = 12 เซนติเมตร CA = 6 เซนติเมตร และ ZX = 8 เซนติเมตร
=
PQ
PM
PQ
PM
QR
MN
QR
MN
RP
NP
1
1.5
4
MN
PQ
PM
RP
NP
1
1.5
RP
9
9
1.5
AB
XY
AB
XY
BC
YZ
CA
ZX
CA
ZX
12
XY
6
18
12  18
6
= XY
XY = 36 เซนติเมตร
จะได้ =
แทนค่า AB = 12 เซนติเมตร XY = 36 เซนติเมตร และ BC = 8 เซนติเมตร
=
YZ =
YZ = 24 เซนติเมตร
ดังนั้น XY มีความยาว 36 เซนติเมตร และ YZ มีความยาว 24 เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด ABC มี ACB เป็นมุมฉาก CD  AB
มี AC = 7 เซนติเมตร AB = 25 เซนติเมตร และ BC = 24 เซนติเมตร
จงแสดงว่า ABC ~ ACD และหาความยาว CD
วิธีทา ABC และ ACD
ACB = ADC ต่างเป็นมุมฉาก
CAB = CAD เป็นมุมร่วม
ABC = ACD มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180˚
ขนาดของมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน
ดังนั้น ABC ~ ACD เพราะมีขนาดของมุมภายในเท่ากันสามคู่
จะได้ว่า = =
โจทย์กาหนดBC=24เซนติเมตรAC=7เซนติเมตรและ AB=25เซนติเมตร
จะได้ =
แทนค่า =
CD =
CD = เซนติเมตร
ดังนั้น CD มีความยาว 6.72 เซนติเมตร
CD
BC
AC
AB
CD
24
7  24
25
^ ^
^ ^
^ ^
AB
XY
BC
YZ
12
36
8
YZ
8  36
12
^
AC
AB
AD
AC
CD
BC
168
25
7
25
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ □ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มี AB // CD จงแสดงว่า
COD ~ AOB
วิธีทา จากรูป COD และ AOB
CDO = ABO เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // DC
DCO = BAO เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // DC
COD = AOB มุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน
ดังนั้น COD ~ AOB มีมุมภายในที่มีขนาดเท่ากันสามคู่
ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ AB // DE และ BC // EF จงแสดงว่า =
วิธีทา จากรูป ABC และ DEF
BCA = EFD เป็นมุมภายในและมุมภายนอกที่เท่ากันระหว่าง BC // EF
BAC = EDF เป็นมุมภายในและมุมภายนอกที่เท่ากันระหว่าง AB // DE
ABC = DEF มีขนาดของมุม 90˚ เท่ากัน
ดังนั้น ABC ~ DEF มีมุมภายในที่มีขนาดเท่ากันสามคู่
นั่นคือ =
^ ^
^ ^
^ ^
AB
DE
AC
DF
^ ^
^ ^
^ ^
AB
DE
AC
DF
ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้ ABC ~ DEF โดยให้
AC ยาว 12 หน่วย AB ยาว 7 หน่วย BC ยาว 10 หน่วย
และ DF ยาว 9 หน่วย ดังรูป จงหาความยาวของด้าน DE และ EF
วิธีทา ABC ~ DEF
จะได้ =
=
DE =
DE = 5.25
ดังนั้น ด้าน DE ยาว 5.25 หน่วย
และ =
=
EF =
EF = 7.5
ดังนั้น ด้าน EF ยาว 7.5 หน่วย
ตัวอย่างที่7 ABC ~ DBE ถ้า DB = 5 เซนติเมตร BE = 6 เซนติเมตร
AC = 12 เซนติเมตร และ AB = 15 เซนติเมตร จงหาความยาวของด้าน BC และ DE
วิธีทา ABC ~ DBE
จะได้ =
=
BC =
BC = 18
ดังนั้น ด้าน BC ยาว 18 เซนติเมตร
และ =
=
DE =
DE = 4
ดังนั้น ด้าน DE ยาว 4 เซนติเมตร
AC
DF
AB
DE
12
9
7
DE
7  9
12
AC
DF
BC
EF
12
9
10
EF
10  9
12
BC
BE
AB
DB
BC
6
15
5
15 6
5
AC
DE
AB
DB
12
DE
15
5
12 5
15
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1

More Related Content

What's hot

เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงkroojaja
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53Seohyunjjang
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาวt-surinrach
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 

What's hot (20)

เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาว
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 

Viewers also liked

แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้ายkrookay2012
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3Kwanchai Buaksuntear
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นcrupor
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟcrupor
 
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...Pakamart Kawwaree
 

Viewers also liked (20)

แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟ
 
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
การศึกษาผลการใช้กิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “ความคล้าย” ...
 
Paoliitha
PaoliithaPaoliitha
Paoliitha
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 

Similar to สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1

บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมnutchaporn
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรguestc1bd78
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบTe'tee Pudcha
 

Similar to สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 (20)

Math2
Math2Math2
Math2
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
 
testM3-midterm1
testM3-midterm1testM3-midterm1
testM3-midterm1
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
Sv Pyramid
Sv PyramidSv Pyramid
Sv Pyramid
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1

  • 1. รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันสองรูปโดยสร้างรูปสามเหลี่ยมคล้ายตามที่กาหนดให้ ดังนี้ สร้างรูปสามเหลี่ยมคล้ายสองรูป ดังนี้ 1. XYZ ~ PQR โดย XYZ = PQR , YZX = QRP และ ZXY = RPQ XY = 3 เซนติเมตร PQ = 4.5 เซนติเมตร YZ = 4 เซนติเมตร QR = 6 เซนติเมตร XZ = 2 เซนติเมตร PR = 3 เซนติเมตร 2. ABC ~ DEF โดย CAB = FDE, ABC = DEF และ BCA = EFD AB = 4 เซนติเมตร DE = 2 เซนติเมตร BC = 3 เซนติเมตร EF = 1.5 เซนติเมตร AC = 5 เซนติเมตร DF = 2.5 เซนติเมตร 1) จากรูปที่ 1 XYZ ~ PQR ด้านใดบ้างเป็นด้านที่สมนัยกัน (XY เป็นด้านสมนัยกับ PQ , YZ เป็นด้านสมนัยกับ QR และ XZ เป็นด้านสมนัยกับ PR) 2) จากรูปที่ 2 ABC ~ DEF ด้านใดบ้างที่เป็นด้านสมนัยกัน (AB เป็นด้านสมนัยกับ DE , BC เป็นด้านสมนัยกับ EF และ AC เป็นด้านสมนัยกับ DF) 3) ถ้านาความยาวด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมคล้ายมาเทียบ อัตราส่วนกัน จากรูปที่ 1 และ 2 จะได้อย่างไร (รูปที่ 1 = = = = = รูปที่ 2 = = 2 = = 2 = = 2) 4) อัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกันของแต่ละรูปเป็นอย่างไร (รูปที่ 1 เท่ากันทุกด้าน รูปที่ 2 เท่ากันทุกด้าน) . ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ XY PQ 3 4.5 2 3 4 6 2 3 YZ QR 2 3 XZ PR BC EF AB DE AC DF 3 1.5 5 2.5 4 2
  • 2. ตัวอย่าง กาหนดรูป ABC และ PQR มี AC = 3 เซนติเมตร PR = 2 เซนติเมตร AB = และ 2BC = 3QR จงพิจารณาว่า ABC คล้ายกับ PQR หรือไม่ วิธีทา พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายด้วยอัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันเท่ากัน เนื่องจาก AC = 3 เซนติเมตร และ PR = 2 เซนติเมตร ดังนั้น = เนื่องจาก AB = ดังนั้น = เนื่องจาก 2BC = 3QR ดังนั้น = 3 . = จะเห็นว่า = = = แสดงว่า ABC ~ PQR เพราะมีอัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันเท่ากัน ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ PQR คล้ายกับ PMN และมีความยาวแต่ละด้านดังรูป จงหาความยาวของ MN และ PR 3PQ 2 AC PR 3 2 AB PQ 3PQ 2 3 2 2BC QR BC QR 3 2 3 2 AC PR AB PQ BC QR
  • 3. วิธีคิด ขั้นที่ 1 พิจารณาสิ่งที่โจทย์กาหนดให้และเขียนความสัมพันธ์ด้านที่สมนัย กันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย จะได้ PQR ~ PMN ดังนั้นจะได้ = = นั่นคือ = ขั้นที่ 2 แทนค่าความยาวของด้านต่าง ๆ ที่โจทย์กาหนดในความสัมพันธ์ที่ ได้จากขั้นที่ 1 แล้วหาความยาวของด้านที่ต้องการทราบ โดยการแก้สมการหรือการคูณไขว้ แทนค่า PQ = 1 นิ้ว, PM = 1.5 นิ้ว และ QR = 4 นิ้ว จะได้ = MN = 4  1.5 MN = 6 นิ้ว จาก = แทนค่า PQ = 1 นิ้ว, PM = 1.5 นิ้ว และ NP = 9 นิ้ว จะได้ = = RP หรือ PR = 6 นิ้ว ขั้นที่ 3 สรุปคาตอบจากสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ จะได้ความยาวของ MN ยาว 6 นิ้ว และ PR ยาว 6 นิ้ว ตัวอย่างที่ 2 กาหนด ABC ~ XYZ และมีความยาวด้านดังรูป จงหา ความยาวของ XY และ YZ วิธีทา ABC ~ XYZ ดังนั้น = = จะได้ = แทนค่า AB = 12 เซนติเมตร CA = 6 เซนติเมตร และ ZX = 8 เซนติเมตร = PQ PM PQ PM QR MN QR MN RP NP 1 1.5 4 MN PQ PM RP NP 1 1.5 RP 9 9 1.5 AB XY AB XY BC YZ CA ZX CA ZX 12 XY 6 18 12  18 6
  • 4. = XY XY = 36 เซนติเมตร จะได้ = แทนค่า AB = 12 เซนติเมตร XY = 36 เซนติเมตร และ BC = 8 เซนติเมตร = YZ = YZ = 24 เซนติเมตร ดังนั้น XY มีความยาว 36 เซนติเมตร และ YZ มีความยาว 24 เซนติเมตร ตัวอย่างที่ 3 กาหนด ABC มี ACB เป็นมุมฉาก CD  AB มี AC = 7 เซนติเมตร AB = 25 เซนติเมตร และ BC = 24 เซนติเมตร จงแสดงว่า ABC ~ ACD และหาความยาว CD วิธีทา ABC และ ACD ACB = ADC ต่างเป็นมุมฉาก CAB = CAD เป็นมุมร่วม ABC = ACD มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180˚ ขนาดของมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน ดังนั้น ABC ~ ACD เพราะมีขนาดของมุมภายในเท่ากันสามคู่ จะได้ว่า = = โจทย์กาหนดBC=24เซนติเมตรAC=7เซนติเมตรและ AB=25เซนติเมตร จะได้ = แทนค่า = CD = CD = เซนติเมตร ดังนั้น CD มีความยาว 6.72 เซนติเมตร CD BC AC AB CD 24 7  24 25 ^ ^ ^ ^ ^ ^ AB XY BC YZ 12 36 8 YZ 8  36 12 ^ AC AB AD AC CD BC 168 25 7 25
  • 5. ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ □ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มี AB // CD จงแสดงว่า COD ~ AOB วิธีทา จากรูป COD และ AOB CDO = ABO เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // DC DCO = BAO เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // DC COD = AOB มุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน ดังนั้น COD ~ AOB มีมุมภายในที่มีขนาดเท่ากันสามคู่ ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ AB // DE และ BC // EF จงแสดงว่า = วิธีทา จากรูป ABC และ DEF BCA = EFD เป็นมุมภายในและมุมภายนอกที่เท่ากันระหว่าง BC // EF BAC = EDF เป็นมุมภายในและมุมภายนอกที่เท่ากันระหว่าง AB // DE ABC = DEF มีขนาดของมุม 90˚ เท่ากัน ดังนั้น ABC ~ DEF มีมุมภายในที่มีขนาดเท่ากันสามคู่ นั่นคือ = ^ ^ ^ ^ ^ ^ AB DE AC DF ^ ^ ^ ^ ^ ^ AB DE AC DF
  • 6. ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้ ABC ~ DEF โดยให้ AC ยาว 12 หน่วย AB ยาว 7 หน่วย BC ยาว 10 หน่วย และ DF ยาว 9 หน่วย ดังรูป จงหาความยาวของด้าน DE และ EF วิธีทา ABC ~ DEF จะได้ = = DE = DE = 5.25 ดังนั้น ด้าน DE ยาว 5.25 หน่วย และ = = EF = EF = 7.5 ดังนั้น ด้าน EF ยาว 7.5 หน่วย ตัวอย่างที่7 ABC ~ DBE ถ้า DB = 5 เซนติเมตร BE = 6 เซนติเมตร AC = 12 เซนติเมตร และ AB = 15 เซนติเมตร จงหาความยาวของด้าน BC และ DE วิธีทา ABC ~ DBE จะได้ = = BC = BC = 18 ดังนั้น ด้าน BC ยาว 18 เซนติเมตร และ = = DE = DE = 4 ดังนั้น ด้าน DE ยาว 4 เซนติเมตร AC DF AB DE 12 9 7 DE 7  9 12 AC DF BC EF 12 9 10 EF 10  9 12 BC BE AB DB BC 6 15 5 15 6 5 AC DE AB DB 12 DE 15 5 12 5 15