SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน  ( ง่าย ๆ ) คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ความคล้าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ตำบลบ้านตุ่น อำเภอเมือง  จังหวัดพะเยา  56000   นายเฉลิมพล  มาปิ๊ก ผู้สร้าง ขอให้แสดงข้อคิดเห็นมาบ้าง จะใช้ไปรษณียบัตรก็ได้  ขอบคุณที่สนใจในการเรียน
ให้ จับคู่ สิ่งที่เหมือนกัน
ดูใหม่อีกครั้ง   รูปคล้ายกัน
4.1)  เราจะหา รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ได้อย่างไร A C B G F E D H
เราอาจจะตอบรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ได้ A C B G F E D H ถ้าเราย้ายรูป ได้ แต่ถ้าเรา ย้ายรูป ไม่ได้ จะต้องมีนิยาม อะไร
เรามีนิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเท่ากันทั้ง  3  คู่ ก็จะได้รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน  A C B F E D รูปสามเหลี่ยม  ABC  คล้ายกับ รูปสามเหลี่ยม  DEF   ได้
เรามีนิยาม หามุมของรูปสามเหลี่ยมให้เท่ากันทั้ง  3  คู่ ก็จะได้รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน  P R Q Z Y X รูปสามเหลี่ยม  ABC  คล้ายกับ รูปสามเหลี่ยม  DEF   ได้
ทบทวน  อ่านด้าน จากรูป A B C c b a อ่าน “ด้าน  AB ” หรืออ่าน“ด้าน  c  ” อ่าน “ด้าน  BC ” หรืออ่าน“ด้าน  a  ” อ่าน “ด้าน  AC ” หรืออ่าน“ด้าน  b  ”
ทบทวน  อ่านมุม A C B อ่าน “มุม  ABC ” หรืออ่าน“มุม  B  ” อ่าน “มุม  BCA ” หรืออ่าน“มุม  C  ” อ่าน “มุม  BAC ” หรืออ่าน“มุม  A  ”
ด้านที่ตรงข้ามมุม A B C c b a “ ด้าน  AB ” ตรงข้ามกับ“มุม  C  ” “ ด้าน  BC ” ตรงข้ามกับ“มุม  A  ” “ ด้าน  AC ” ตรงข้ามกับ“มุม  B  ”
รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 1)  มุมฉาก ในรูปเรขาคณิต สี่เหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมจัตุรัส เส้นตั้งฉากกัน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 2)  มุมตรงข้ามเส้นตรงตัดกัน A B D C A B D C E E มุม AEC  เท่ากับ มุม BED มุม AED  เท่ากับ มุม BEC
รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 3)  มุมแย้ง เส้นตรงขนานกัน A B D C X Y E F คู่ที่  1   มุม AXY  เท่ากับ มุม XYD คู่ที่  2 มุม AED  เท่ากับ มุม BEC ถ้า  AB // CD
รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 4)   มุมนอก เท่ากับมุมภายใน บนข้างเดียวกันของเส้นตัด ของเส้นตรงขนานกัน A B D C X Y E F คู่ที่  1   มุม AXY  เท่ากับ มุม CYF คู่ที่  2 มุม EXB  เท่ากับ มุม XYD ยังมีอีก  2  คู่ ถ้า  AB // CD
รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 4)   มุมนอก เท่ากับมุมภายใน บนข้างเดียวกันของเส้นตัด ของเส้นตรงขนานกัน A B D C X Y E F คู่ที่  3 มุม AXE  เท่ากับ มุม CYX คู่ที่  4 มุม YXB  เท่ากับ มุม FYD
4.2  พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน = = = A B C P Q R ได้   ABC   คล้ายกับ   PQR
= = = A B C P Q R ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน เป็นด้านสมนัยกัน C B R Q A P
A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน = = = ด้าน คู่สมนัย กัน
A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน = = = ด้าน คู่สมนัย กัน อัตราส่วน ของ ด้านสมนัยกัน
A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน = =  ABC      PQR ได้ จัดแยกได้ = หรือ = หรือ =
A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน  ( เขียนอัตราส่วนอีกแบบ )  ABC      PQR ได้ QR BC = PR AC = PQ AB = จัดแยกได้ หรือ BC QR PR AC PR AC = PQ AB หรือ QR BC = PQ AB
บทนิยาม  รูปสามเหลี่ยม สองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นมี ขนาดของมุม เท่ากันเป็นคู่ ๆ สามคู่ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน รูปสามเหลี่ยม สองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นมี อัตราส่วนของความยาวของด้าน คู่ที่สมนัยกันทุกคู่เป็น  อัตราส่วนที่เท่ากัน
1.  พิจารณารูปสามเหลี่ยม  ABC  กับ   PQR A B C P Q R มีมุมเท่ากันสามคู่  ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ 48 ๐ 48 ๐ B Q = < < = 90 ๐ ( กำหนดให้ ) C P = < < = 48 ๐ ( กำหนดให้ ) A R = < < 180 – 90 – 45  =   42 ๐ = 180 – 90 – 45  =   42 ๐ A = < R < (  ต่างเท่ากับ  42 ๐ ) ต้องการหา มุมเท่ากัน  3  คู่
2.  พิจารณารูปสามเหลี่ยม  ABE  กับ   CDE A B C D E มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน ให้   AB // CD สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ E E = < < ( มุมร่วม ) DCE A = < < ( มุมภายนอกเท่ากับมุมภายในบนข้างเดียวของเส้นตัดคู่ขนาน ) CDE B = < < ( มุมภายนอกเท่ากับมุมภายในบนข้างเดียวของเส้นตัดคู่ขนาน )  ABE  และ      CDE ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้ ต้องการหา มุมเท่ากัน  3  คู่
3.  พิจารณารูปสามเหลี่ยม  ABC  กับ  PQC A B C P Q มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน ( มุมตรงข้ามเส้นตรงตัดกัน ) สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ ให้   AB // PQ A Q = < < B P = < < ACB PCQ = < < ( มุมแย้ง ) ( มุมแย้ง ) ต้องการหา มุมเท่ากัน  3  คู่ ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้  ABC  และ      PQC
4.  พิจารณารูปสามเหลี่ยม  ABC  กับ  ACD A C D B มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน ( มุมร่วม ) สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่  ABC  และ   ACD CAB CAD = < < ACB ADC = < < ( มุมฉาก ) ABC ACD = < < ( มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้  180 ๐  ขนาดมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน ) ต้องการหา มุมเท่ากัน  3  คู่ ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้
5.  พิจารณารูปสามเหลี่ยม  ABC  กับ   PQC A B C P Q มีมุมเท่ากันสามคู่  ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ B Q = < < = 90 ๐ ( กำหนดให้ ) C C = < < ( มุมร่วม ) BAC = < P < ให้   PQ   ตั้งฉากกับ   QC  ที่  Q และ  AB  ตั้งฉากกับ  QC   ที่  B ( มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้  180 ๐  ขนาดมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน ) ต้องการหา มุมเท่ากัน  3  คู่ ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้  ABC  และ   PQC
6.  ให้   ABC ~   PQR A B C P Q R ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน 48 ๐ 48 ๐ ยึดมุมเท่ากัน ไปที่ละคู่ AC = BC PQ = PR AB QR จะเริ่มให้ด้านของ สามเหลี่ยม  ABC  เป็นเศษ
7.  ให้   ABE ~   CDE A B C D E ให้   AB // CD เริ่มใช้ด้านของ  CDE   เป็นเศษ ยึดมุมเท่ากัน ไปที่ละคู่ ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน CD = DE BE = AB CE AE
8.  ให้   ABC~     PQC A B C P Q ให้   AB // PQ ยึดมุมเท่ากันไปทีละคู่ ให้เริ่มใช้ด้านของ  CPQ เป็นเศษ ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน PQ = CQ AC = AB CP BC
9.  ให้    ABC     ACD A C D B ยึดมุมเท่ากัน ไปทีละคู่ เริ่มใช้ด้านของ   ABC ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน BC = AC AD = CD AB AC
10.  ให้    ABC~   PQC A B C P Q ให้   PQ   ตั้งฉากกับ   QC  ที่  Q และ  AB  ตั้งฉากกับ  QC   ที่  B ยึดมุมที่เท่ากันไปทีละคู่ ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน เริ่มใช้ด้านของ   PQC PC = QC BC = AC PQ AB
สรุป การหารูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน มุมเท่ากันให้ได้  3  คู่  ( หาได้เพียง  2  คู่ก็ได้เหมือน  3  คู่ ) ต้องพยายามหา ด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมคู่ที่เท่ากัน เพื่อเขียนอัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกัน  แล้วนำมาเท่ากัน
สรุป การหารูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน เพื่อเขียนอัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกัน  แล้วนำมาเท่ากัน จะนำไปใช้หาความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยม
A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน  ตัวอย่างที่  1   กรณีกำหนดมาให้   ABC      PQR ได้ QR = PQ AB = BC PR AC ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัย
A B P Q C รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน  4. ได้    ABC      PQC ได้ QC = PQ AB = BC PC AC ตัวอย่างที่  2   กรณีที่กำหนดให้  AB // PQ 2. มุม  PCQ =  มุม  AC   1. มุม  CPQ =  มุม  CAB ( มุมภายในเท่ากับมุมภายนอกบนข้างเดียวของเส้นตัดคู่ขนาน ) ( มุม ร่วม ) 3. มุม  PQC =  มุม  ABC   ( ทำนองเดียวกับข้อ  1) ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัย
A B P Q C รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน  4. ได้    ABC      PQC ได้ QC = PC AC = BC PQ AB ตัวอย่างที่  3   ให้  AB  ตั้งฉากกับ  AC   และ   PC  ตั้งฉากกับ  PQ 1. มุม BAC =   มุม QPC ( มุมฉาก ) 2. มุม ACB =   มุม PCQ ( มุมร่วม ) 3. มุม ABC =   มุม PQC ( มุมภายในรูปสามเหลี่ยม  =180 ๐ ) ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัย
1)  จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่คล้ายกันหรือไม่ A B C D E ให้ บอกมุมคู่ที่เท่ากัน แบบฝึกทบทวน กำหนด  //  และมุมฉาก และบอกรูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกันหรือไม่
รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้ A B C D E มุม  A =  มุม DBC มุม  ABE =  มุม  C   มุม  E =  มุม  D เฉลยข้อ  1 จากรูปกำหนด  //  และมุมฉาก มุมภายในเท่ากับมุมภายนอกคู่ขนาน
2)  จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน A B C D E ให้ บอกอัตราส่วนเท่ากัน เติมช่องว่าง แบบฝึกทบทวน AB   =  BE   =  AE
รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้ A B C D E =  BE เฉลยข้อ  2 BC CD BD AB   =  AE
3)  จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่คล้ายกันหรือไม่ แบบฝึกทบทวน กำหนดให้  // A B C D E ให้ บอกมุมคู่ที่เท่ากัน
รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้ เฉลยข้อ  3 กำหนดให้  // A B C D E ( มุมแย้ง ) ( มุมแย้ง ) ( มุมแย้ง ) ( มุมตรงข้ามของเส้นตรงตัดกัน )
4)  จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน แบบฝึกทบทวน กำหนดให้  // A B C D E ให้ บอกอัตราส่วนเท่ากัน เติมช่องว่าง CD   CE  DE _ _ _ = =
จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน เฉลยข้อ  4) กำหนดให้  // A B C D E CE   BC CD AC = = AB   DE
5)  จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่คล้ายกันหรือไม่ แบบฝึกทบทวน กำหนดให้  และ  เป็นมุมฉาก A B C D E ให้ บอกมุมคู่ที่เท่ากัน
เฉลยข้อ  5) กำหนดให้  และ  เป็นมุมฉาก A C D E B ( กำหนดให้เป็นมุมฉาก ) ( มุมร่วม ) ( มุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้  180  องศา ) รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้
6)  จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน แบบฝึกทบทวน กำหนดให้  และ  เป็นมุมฉาก A C D E ให้ บอกอัตราส่วนเท่ากัน เติมช่องว่าง AC   AB  BC _ _ _ = = B
เฉลยข้อ  6) กำหนดให้  และ  เป็นมุมฉาก A C E B D DE   AC DC AB = = BC   CE
A B P Q C R ตัวอย่าง  1 )  กำหนดให้รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน และความยาวด้านตามรูป จงหาความยาวด้าน  AB 6 25 15 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน  AB AB เริ่มเขียนอัตราส่วน มี AB ที่จะหาค่า PQ เขียนอัตราส่วน ด้านคู่ที่โจทย์บอกหาค่ามาให้ PR AC นำไปเท่ากัน AB PQ PR AC =
A B P Q C R ได้ 6 25 15 จะหาความยาวด้าน  AB AB PQ PR AC = แทนค่า AB 25 15 6  = AB 15 6  ×25 AB 2   × 5 AB = 10 หน่วย ใช้  5  ทอน  แล้วใช้  3  ทอน 3 5 1 2 = =
A B C D E ตัวอย่าง  2 )  จากรูป มี  AB = 6,  AC = 15,  AE = 9   หาความยาวด้าน  CD 6 9 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน  CD CD เริ่มเขียนอัตราส่วน มี   CD   ที่จะหาค่า AB เขียนอัตราส่วน ด้านคู่ที่โจทย์บอกค่าให้มา AE CE นำไปเท่ากัน = ได้  CE  ยาวเท่ากับ  AC + AE  เท่ากับ   15 + 9  = 24  หน่วย 15 AE CE CD AB
B C E 6 9 15 D A CD AB = AE CE หาความยาวด้าน  CD แทนค่า CD 6 24 = 9 CD  = 8 3 × 6 CD  = 8 × 2 CD  = 16 CD  ยาว  16  หน่วย 1 2 ใช้  3  ทอน 8 3 15 9 ใช้  3  ทอน ถามหา
A B P Q C ตัวอย่าง  3 )  จากรูป มี  AC = 10,  PQ = 12,  AB = 8   หาความยาวด้าน  AP 8 10 12 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน  AP PC เริ่มเขียนอัตราส่วน มี   PC   ที่มีส่วนจะหา   AP   อยู่ด้วย AC เขียนอัตราส่วน ด้านคู่ที่โจทย์บอกค่ามาให้ AB PQ นำไปเท่ากัน = สมมติให้  AP   ยาว  x  หน่วย ได้  PC  ยาว  x + 10  หน่วย PC AC AB PQ x
A P 10 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน  AB B Q C 8 12 = PC AC AB PQ x = x+10 10 8 12 แทนค่า = 8 x +10  ×10 12 x  = 15 x = 15 –  10 x   = 5 AP  ยาว  5  หน่วย 2 3 1 5 คำนวณ ใช้  4  ทอน คำนวณ ใช้  2  ทอน 3  คูณกับ  5 ได้ 15 10 10 +10
เราทำได้ และต้องนำไปใช้ ,[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
Math 2009 05
Math 2009 05Math 2009 05
Math 2009 05menton00
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5guest48c93e
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบTe'tee Pudcha
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒Kanchit004
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkroojaja
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตyingsinee
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตphunnika
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตKanchit004
 

What's hot (20)

สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
Math 2009 05
Math 2009 05Math 2009 05
Math 2009 05
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
111
111111
111
 
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
Wan
WanWan
Wan
 

Similar to Math2

แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9Khunnawang Khunnawang
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3benjalakpitayaschool
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550sawed kodnara
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553sawed kodnara
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 

Similar to Math2 (20)

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
123456789
123456789123456789
123456789
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
 
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติO-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
 
Trigon12
Trigon12Trigon12
Trigon12
 
Graph1
Graph1Graph1
Graph1
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
Graph theory
Graph theoryGraph theory
Graph theory
 

More from chalompon

Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]
Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]
Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]chalompon
 
51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]
51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]
51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]chalompon
 
51mam3 sos060102
51mam3 sos06010251mam3 sos060102
51mam3 sos060102chalompon
 
Math3 [โหมดความเข้ากันได้]
Math3 [โหมดความเข้ากันได้]Math3 [โหมดความเข้ากันได้]
Math3 [โหมดความเข้ากันได้]chalompon
 

More from chalompon (7)

Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]
Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]
Lp.pps [โหมดความเข้ากันได้]
 
51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]
51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]
51mam3 sos060102 [โหมดความเข้ากันได้]
 
51mam3 sos060102
51mam3 sos06010251mam3 sos060102
51mam3 sos060102
 
Math3 [โหมดความเข้ากันได้]
Math3 [โหมดความเข้ากันได้]Math3 [โหมดความเข้ากันได้]
Math3 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
Math1
Math1Math1
Math1
 

Math2

  • 1. รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน ( ง่าย ๆ ) คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ความคล้าย
  • 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ตำบลบ้านตุ่น อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 นายเฉลิมพล มาปิ๊ก ผู้สร้าง ขอให้แสดงข้อคิดเห็นมาบ้าง จะใช้ไปรษณียบัตรก็ได้ ขอบคุณที่สนใจในการเรียน
  • 4. ดูใหม่อีกครั้ง รูปคล้ายกัน
  • 5. 4.1) เราจะหา รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ได้อย่างไร A C B G F E D H
  • 6. เราอาจจะตอบรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ได้ A C B G F E D H ถ้าเราย้ายรูป ได้ แต่ถ้าเรา ย้ายรูป ไม่ได้ จะต้องมีนิยาม อะไร
  • 7. เรามีนิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเท่ากันทั้ง 3 คู่ ก็จะได้รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน A C B F E D รูปสามเหลี่ยม ABC คล้ายกับ รูปสามเหลี่ยม DEF ได้
  • 8. เรามีนิยาม หามุมของรูปสามเหลี่ยมให้เท่ากันทั้ง 3 คู่ ก็จะได้รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน P R Q Z Y X รูปสามเหลี่ยม ABC คล้ายกับ รูปสามเหลี่ยม DEF ได้
  • 9. ทบทวน อ่านด้าน จากรูป A B C c b a อ่าน “ด้าน AB ” หรืออ่าน“ด้าน c ” อ่าน “ด้าน BC ” หรืออ่าน“ด้าน a ” อ่าน “ด้าน AC ” หรืออ่าน“ด้าน b ”
  • 10. ทบทวน อ่านมุม A C B อ่าน “มุม ABC ” หรืออ่าน“มุม B ” อ่าน “มุม BCA ” หรืออ่าน“มุม C ” อ่าน “มุม BAC ” หรืออ่าน“มุม A ”
  • 11. ด้านที่ตรงข้ามมุม A B C c b a “ ด้าน AB ” ตรงข้ามกับ“มุม C ” “ ด้าน BC ” ตรงข้ามกับ“มุม A ” “ ด้าน AC ” ตรงข้ามกับ“มุม B ”
  • 12. รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 1) มุมฉาก ในรูปเรขาคณิต สี่เหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมจัตุรัส เส้นตั้งฉากกัน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
  • 13. รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 2) มุมตรงข้ามเส้นตรงตัดกัน A B D C A B D C E E มุม AEC เท่ากับ มุม BED มุม AED เท่ากับ มุม BEC
  • 14. รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 3) มุมแย้ง เส้นตรงขนานกัน A B D C X Y E F คู่ที่ 1 มุม AXY เท่ากับ มุม XYD คู่ที่ 2 มุม AED เท่ากับ มุม BEC ถ้า AB // CD
  • 15. รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 4) มุมนอก เท่ากับมุมภายใน บนข้างเดียวกันของเส้นตัด ของเส้นตรงขนานกัน A B D C X Y E F คู่ที่ 1 มุม AXY เท่ากับ มุม CYF คู่ที่ 2 มุม EXB เท่ากับ มุม XYD ยังมีอีก 2 คู่ ถ้า AB // CD
  • 16. รู้จัก มุมที่เท่ากัน อะไรบ้าง 4) มุมนอก เท่ากับมุมภายใน บนข้างเดียวกันของเส้นตัด ของเส้นตรงขนานกัน A B D C X Y E F คู่ที่ 3 มุม AXE เท่ากับ มุม CYX คู่ที่ 4 มุม YXB เท่ากับ มุม FYD
  • 17. 4.2 พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน = = = A B C P Q R ได้  ABC คล้ายกับ  PQR
  • 18. = = = A B C P Q R ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากัน เป็นด้านสมนัยกัน C B R Q A P
  • 19. A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน = = = ด้าน คู่สมนัย กัน
  • 20. A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน = = = ด้าน คู่สมนัย กัน อัตราส่วน ของ ด้านสมนัยกัน
  • 21. A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน = =  ABC   PQR ได้ จัดแยกได้ = หรือ = หรือ =
  • 22. A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน ( เขียนอัตราส่วนอีกแบบ )  ABC   PQR ได้ QR BC = PR AC = PQ AB = จัดแยกได้ หรือ BC QR PR AC PR AC = PQ AB หรือ QR BC = PQ AB
  • 23. บทนิยาม รูปสามเหลี่ยม สองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นมี ขนาดของมุม เท่ากันเป็นคู่ ๆ สามคู่ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน รูปสามเหลี่ยม สองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นมี อัตราส่วนของความยาวของด้าน คู่ที่สมนัยกันทุกคู่เป็น อัตราส่วนที่เท่ากัน
  • 24. 1. พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC กับ PQR A B C P Q R มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ 48 ๐ 48 ๐ B Q = < < = 90 ๐ ( กำหนดให้ ) C P = < < = 48 ๐ ( กำหนดให้ ) A R = < < 180 – 90 – 45 = 42 ๐ = 180 – 90 – 45 = 42 ๐ A = < R < ( ต่างเท่ากับ 42 ๐ ) ต้องการหา มุมเท่ากัน 3 คู่
  • 25. 2. พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABE กับ CDE A B C D E มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน ให้ AB // CD สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ E E = < < ( มุมร่วม ) DCE A = < < ( มุมภายนอกเท่ากับมุมภายในบนข้างเดียวของเส้นตัดคู่ขนาน ) CDE B = < < ( มุมภายนอกเท่ากับมุมภายในบนข้างเดียวของเส้นตัดคู่ขนาน )  ABE และ  CDE ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้ ต้องการหา มุมเท่ากัน 3 คู่
  • 26. 3. พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC กับ PQC A B C P Q มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน ( มุมตรงข้ามเส้นตรงตัดกัน ) สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ ให้ AB // PQ A Q = < < B P = < < ACB PCQ = < < ( มุมแย้ง ) ( มุมแย้ง ) ต้องการหา มุมเท่ากัน 3 คู่ ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้  ABC และ  PQC
  • 27. 4. พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC กับ ACD A C D B มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน ( มุมร่วม ) สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่  ABC และ  ACD CAB CAD = < < ACB ADC = < < ( มุมฉาก ) ABC ACD = < < ( มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 ๐ ขนาดมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน ) ต้องการหา มุมเท่ากัน 3 คู่ ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้
  • 28. 5. พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC กับ PQC A B C P Q มีมุมเท่ากันสามคู่ ได้สามเหลี่ยมคล้ายกัน สามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ B Q = < < = 90 ๐ ( กำหนดให้ ) C C = < < ( มุมร่วม ) BAC = < P < ให้ PQ ตั้งฉากกับ QC ที่ Q และ AB ตั้งฉากกับ QC ที่ B ( มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 ๐ ขนาดมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน ) ต้องการหา มุมเท่ากัน 3 คู่ ต้องมองหารูปสามเหลี่ยมที่โจทย์ถามให้ได้  ABC และ  PQC
  • 29. 6. ให้  ABC ~  PQR A B C P Q R ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน 48 ๐ 48 ๐ ยึดมุมเท่ากัน ไปที่ละคู่ AC = BC PQ = PR AB QR จะเริ่มให้ด้านของ สามเหลี่ยม ABC เป็นเศษ
  • 30. 7. ให้  ABE ~  CDE A B C D E ให้ AB // CD เริ่มใช้ด้านของ  CDE เป็นเศษ ยึดมุมเท่ากัน ไปที่ละคู่ ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน CD = DE BE = AB CE AE
  • 31. 8. ให้  ABC~  PQC A B C P Q ให้ AB // PQ ยึดมุมเท่ากันไปทีละคู่ ให้เริ่มใช้ด้านของ  CPQ เป็นเศษ ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน PQ = CQ AC = AB CP BC
  • 32. 9. ให้  ABC  ACD A C D B ยึดมุมเท่ากัน ไปทีละคู่ เริ่มใช้ด้านของ  ABC ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน BC = AC AD = CD AB AC
  • 33. 10. ให้  ABC~  PQC A B C P Q ให้ PQ ตั้งฉากกับ QC ที่ Q และ AB ตั้งฉากกับ QC ที่ B ยึดมุมที่เท่ากันไปทีละคู่ ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัยกัน เริ่มใช้ด้านของ  PQC PC = QC BC = AC PQ AB
  • 34. สรุป การหารูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน มุมเท่ากันให้ได้ 3 คู่ ( หาได้เพียง 2 คู่ก็ได้เหมือน 3 คู่ ) ต้องพยายามหา ด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมคู่ที่เท่ากัน เพื่อเขียนอัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกัน แล้วนำมาเท่ากัน
  • 36. A B P Q C R รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน ตัวอย่างที่ 1 กรณีกำหนดมาให้  ABC   PQR ได้ QR = PQ AB = BC PR AC ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัย
  • 37. A B P Q C รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน 4. ได้  ABC   PQC ได้ QC = PQ AB = BC PC AC ตัวอย่างที่ 2 กรณีที่กำหนดให้ AB // PQ 2. มุม PCQ = มุม AC 1. มุม CPQ = มุม CAB ( มุมภายในเท่ากับมุมภายนอกบนข้างเดียวของเส้นตัดคู่ขนาน ) ( มุม ร่วม ) 3. มุม PQC = มุม ABC ( ทำนองเดียวกับข้อ 1) ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัย
  • 38. A B P Q C รูปสามเหลี่ยมคล้ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันเท่ากัน 4. ได้  ABC   PQC ได้ QC = PC AC = BC PQ AB ตัวอย่างที่ 3 ให้ AB ตั้งฉากกับ AC และ PC ตั้งฉากกับ PQ 1. มุม BAC = มุม QPC ( มุมฉาก ) 2. มุม ACB = มุม PCQ ( มุมร่วม ) 3. มุม ABC = มุม PQC ( มุมภายในรูปสามเหลี่ยม =180 ๐ ) ให้เขียนอัตราส่วนด้านสมนัย
  • 39. 1) จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่คล้ายกันหรือไม่ A B C D E ให้ บอกมุมคู่ที่เท่ากัน แบบฝึกทบทวน กำหนด // และมุมฉาก และบอกรูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกันหรือไม่
  • 40. รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้ A B C D E มุม A = มุม DBC มุม ABE = มุม C มุม E = มุม D เฉลยข้อ 1 จากรูปกำหนด // และมุมฉาก มุมภายในเท่ากับมุมภายนอกคู่ขนาน
  • 41. 2) จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน A B C D E ให้ บอกอัตราส่วนเท่ากัน เติมช่องว่าง แบบฝึกทบทวน AB = BE = AE
  • 43. 3) จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่คล้ายกันหรือไม่ แบบฝึกทบทวน กำหนดให้ // A B C D E ให้ บอกมุมคู่ที่เท่ากัน
  • 44. รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้ เฉลยข้อ 3 กำหนดให้ // A B C D E ( มุมแย้ง ) ( มุมแย้ง ) ( มุมแย้ง ) ( มุมตรงข้ามของเส้นตรงตัดกัน )
  • 45. 4) จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน แบบฝึกทบทวน กำหนดให้ // A B C D E ให้ บอกอัตราส่วนเท่ากัน เติมช่องว่าง CD CE DE _ _ _ = =
  • 47. 5) จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่คล้ายกันหรือไม่ แบบฝึกทบทวน กำหนดให้ และ เป็นมุมฉาก A B C D E ให้ บอกมุมคู่ที่เท่ากัน
  • 48. เฉลยข้อ 5) กำหนดให้ และ เป็นมุมฉาก A C D E B ( กำหนดให้เป็นมุมฉาก ) ( มุมร่วม ) ( มุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 องศา ) รูปสามเหลี่ยมคู่นี้คล้ายกัน ได้
  • 49. 6) จากรูป รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน แบบฝึกทบทวน กำหนดให้ และ เป็นมุมฉาก A C D E ให้ บอกอัตราส่วนเท่ากัน เติมช่องว่าง AC AB BC _ _ _ = = B
  • 50. เฉลยข้อ 6) กำหนดให้ และ เป็นมุมฉาก A C E B D DE AC DC AB = = BC CE
  • 51. A B P Q C R ตัวอย่าง 1 ) กำหนดให้รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน และความยาวด้านตามรูป จงหาความยาวด้าน AB 6 25 15 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน AB AB เริ่มเขียนอัตราส่วน มี AB ที่จะหาค่า PQ เขียนอัตราส่วน ด้านคู่ที่โจทย์บอกหาค่ามาให้ PR AC นำไปเท่ากัน AB PQ PR AC =
  • 52. A B P Q C R ได้ 6 25 15 จะหาความยาวด้าน AB AB PQ PR AC = แทนค่า AB 25 15 6 = AB 15 6 ×25 AB 2 × 5 AB = 10 หน่วย ใช้ 5 ทอน แล้วใช้ 3 ทอน 3 5 1 2 = =
  • 53. A B C D E ตัวอย่าง 2 ) จากรูป มี AB = 6, AC = 15, AE = 9 หาความยาวด้าน CD 6 9 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน CD CD เริ่มเขียนอัตราส่วน มี CD ที่จะหาค่า AB เขียนอัตราส่วน ด้านคู่ที่โจทย์บอกค่าให้มา AE CE นำไปเท่ากัน = ได้ CE ยาวเท่ากับ AC + AE เท่ากับ 15 + 9 = 24 หน่วย 15 AE CE CD AB
  • 54. B C E 6 9 15 D A CD AB = AE CE หาความยาวด้าน CD แทนค่า CD 6 24 = 9 CD = 8 3 × 6 CD = 8 × 2 CD = 16 CD ยาว 16 หน่วย 1 2 ใช้ 3 ทอน 8 3 15 9 ใช้ 3 ทอน ถามหา
  • 55. A B P Q C ตัวอย่าง 3 ) จากรูป มี AC = 10, PQ = 12, AB = 8 หาความยาวด้าน AP 8 10 12 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน AP PC เริ่มเขียนอัตราส่วน มี PC ที่มีส่วนจะหา AP อยู่ด้วย AC เขียนอัตราส่วน ด้านคู่ที่โจทย์บอกค่ามาให้ AB PQ นำไปเท่ากัน = สมมติให้ AP ยาว x หน่วย ได้ PC ยาว x + 10 หน่วย PC AC AB PQ x
  • 56. A P 10 วิธีทำ จะหาความยาวด้าน AB B Q C 8 12 = PC AC AB PQ x = x+10 10 8 12 แทนค่า = 8 x +10 ×10 12 x = 15 x = 15 – 10 x = 5 AP ยาว 5 หน่วย 2 3 1 5 คำนวณ ใช้ 4 ทอน คำนวณ ใช้ 2 ทอน 3 คูณกับ 5 ได้ 15 10 10 +10
  • 57.