SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
13
บทที่4
ผลการดาเนินการ
จากการดาเนินการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับตรีโกณมิติและความสูงของต้นไม้
ผลการศึกษาจะนาเสนอ ดังนี้
1. ตรีโกณมิติ รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเรียกว่าคล้ายกัน
ถ้ารูปหนึ่งสามารถขยายได้เป็นอีกรูปหนึ่ง และจะเป็นกรณีนี้ก็ต่อเมื่อมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน
ตัวอย่างเช่น รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีมุมร่วมกันมุมหนึ่ง และด้านที่ตรงข้ามกับมุมนั้นขนานกัน
เป็นข้อเท็จจริงว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ด้านแต่ละด้านจะเป็นสัดส่วนกัน นั่นคือ
ถ้าด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมหนึ่ง
ยาวเป็นสองเท่าของด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
รูปภาพที่ 6สามเหลี่ยมมุมฉาก
จากข้อเท็จจริงเหล่านี้ เราจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติ เริ่มต้นด้วยรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ซึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีมุมฉากหนึ่งมุม (90 องศา หรือ π/2เรเดียน)
ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมใดๆจะอยู่ตรงข้ามกับมุมที่ใหญ่ที่สุด
แต่เพราะว่าผลรวมของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 180 องศา หรือ π เรเดียน
ดังนั้นมุมที่ใหญ่ที่สุดในรูปสามเหลี่ยมนี้คือมุมฉาก
ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมจึงเป็นด้านที่ตรงข้ามกับมุมฉาก เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก
นารูปสามเหลี่ยมมุมฉากมาสองรูปที่มีมุม A ร่วมกัน รูปสามเหลี่ยมทั้งสองนี้จะคล้ายกัน
และอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากันทั้งสองรูป
มันจะเป็นจานวนระหว่าง 0ถึง 1ขึ้นอยู่กับขนาดของมุม A เท่านั้น เราเรียกว่า ไซน์ของ A
14
และเขียนด้วย sin (A) ในทานองเดียวกัน เรานิยาม โคไซน์ของ A คืออัตราส่วนระหว่าง
ด้านประชิดมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก
ฟังก์ชันเหล่านี้เป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สาคัญ
ฟังก์ชันอื่นๆสามารถนิยามโดยใช้อัตราส่วนของด้านต่างๆของรูปสามเหลี่ยม
แต่มันก็สามารถเขียนได้ในรูปของ ไซน์ และ โคไซน์ ฟังก์ชันเหล่านี้คือ แทนเจนต์, ซีแคนต์,
โคแทนเจนต์, และ โคซีแคนต์
วิธีจา ไซน์ โคไซน์ แทนเจนต์ อย่างง่ายๆคือจาว่า ข้ามฉาก ชิดฉาก ข้ามชิด (ไซน์-ด้านตรงข้าม-
ด้านตรงข้ามมุมฉาก โคไซน์-ด้านประชิด-ด้านตรงข้ามมุมฉาก แทนเจนต์-ด้านตรงข้าม-
ด้านประชิด)
ที่ผ่านมา ฟังก์ชันตรีโกณมิติถูกนิยามขึ้นสาหรับมุมระหว่าง 0ถึง 90 องศา (0ถึง π/2เรเดียน)
เท่านั้น หากใช้วงกลมหนึ่งหน่วย จะขยายได้เป็นจานวนบวกและจานวนลบทั้งหมด (ดูใน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ)
ครั้งหนึ่ง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ถูกจัดลงในตาราง (หรือคานวณด้วยเครื่องคิดเลข)
ทาให้ตอบคาถามทั้งหมดเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมใดๆได้อย่างแท้จริง โดยใช้กฎไซน์ และ กฎโคไซน์
กฎเหล่านี้สามารถใช้ในการคานวณมุมที่เหลือและด้านของรูปสามเหลี่ยมได้
เมื่อรู้ความยาวด้านสองด้านและขนาดของมุมหนึ่งมุม
หรือรู้ขนาดของมุมสองมุมและความยาวของด้านหนึ่งด้าน หรือ รู้ความยาวของด้านทั้งสามด้าน
นักคณิตศาสตร์บางคนเชื่อว่าตรีโกณมิติแต่เดิมนั้น ถูกประดิษฐ์ชึ้นเพื่อใช้คานวณนาฬิกาแดด
ซึ่งมักเป็นโจทย์ในหนังสือเก่าๆ มันมีความสาคัญมากในเรื่องการสารวจ
15
2. ความสูงของต้นหมาก
รูปภาพที่ 8เครื่องวัดมุมเอียง
1. ใช้วิธีนี้เพื่อการวัดที่แม่นยามากขึ้น ยังมีวิธีอื่นแม่นยากว่านี้อีก
แต่นี่จะไม่ต้องคานวณมากและใช้อุปกรณ์พิเศษที่อ่านค่าได้แม่นยา ไม้โปรแทคเตอร์พลาสติกถูกๆ
หลอดดูด และเชือกซักเส้น ก็จะเอามาใช้ทาเครื่องวัดมุมเอียง (clinometer) ด้วยตัวเองได้แล้ว
รูปภาพที่ 9วัดระยะทางไปตามระยะสายตา
2. วัดระยะทางไปตามระยะสายตา
ยืนแล้วถอยหลังไปยังต้นหมากและเดินผ่านจุดที่อยู่แถวพื้นของฐานต้นหมากและจะทาให้มองเห็น
ยอดต้นหมากได้ชัดเจน เดินตรงและใช้ตลับเมตรเพื่อวัดระยะทางที่ยืนห่างจากต้นหมาก
ได้ระยะทางห่างจากต้นหมาก 230 เซนติเมตร
16
รูปภาพที่ 10วัดมุมเงยไปหายอดต้นหมาก
3. วัดมุมเงยไปหายอดต้นหมาก
มองไปที่ยอดต้นหมากและใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัดเพื่อ จะวัด “มุมเงย”
ระหว่างต้นหมากกับพื้น ซึ่งมุมเงยก็คือมุมที่เกิดจากสองเส้นคือ
พื้นราบและระดับสายตาที่มองไปยังจุดที่ยกสูงขึ้น (ในกรณีนี้คือยอดของต้นหมาก)
กับคุณด้วยมุมยอด จะได้ค่า tan มุม 48 องศา
รูปภาพที่ 11 คูณระยะห่างจากต้นหมากด้วยค่า tan
4. คูณระยะห่างจากต้นหมากด้วยค่า tan
จาตอนที่วัดระยะห่างจากต้นหมากในขั้นตอนแรกได้ไหม ให้เอามันมาคูณด้วยค่า tan
โดยใช้เครื่องคิดเลข
ค่าแทนก็คือ (ความสูงของต้นไม้ แทนด้วย H ลบด้วย ความสูงของตัวเองแทนด้วยค่า X) หารด้วย
(ระยะห่างจากต้นไม้) แล้วคูณแต่ละข้างของสมการด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้ แทนด้วย s)
และจะได้เป็น (ค่า tan) x (ระยะห่างจากต้นไม้) = (ความสูงของต้นไม้)
17
รูปภาพที่ 12วัดความสูงของตัวเอง
5. เพิ่มความสูงของตัวเองเข้าไปในขั้นตอนก่อนหน้านี้
แล้วตอนนี้ก็จะได้ความสูงของต้นหมากที่อยู่เหนือระดับสายตาแล้ว
เพราะเราใช้เครื่องวัดมุมลาดหรือทรานซิสในระดับสายตาไม่ใช่ในระดับพื้นดิน
จึงต้องเพิ่มความสูงตัวเอง คือ 175 เซนติเมตร เข้าไปในการวัดเพื่อจะได้ความสูงทั้งหมดของต้นไม้
จากการได้ทาการศึกษาตามทฤษฎีทั้ง 5ข้อ จะเสนอดังนี้
จะได้ จากสูตร tan(θ) = H- X/S
tan 48 = H-X/230
tan 48 x 230 = (H-X/230) x 230
1.11 x230 =H-X
H-X = 255.3 cm
H-X คือ ผลลัพธ์ที่ได้นี้จะบอกความสูงของต้นหมากที่อยู่เหนือระดับสายตา
จะได้ ความสูงของตัวเองแทนด้วยค่า Xซึ่งเท่ากับ 175
H - X = 255.3
H - 175 = 255.3
H = 255.3 +175
= 430.3 เซนติเมตร
เพราะฉะนั้นความสูงของต้นหมาก เท่ากับ 430 เซนติเมตร

More Related Content

Viewers also liked

Investment Analysis stock project
Investment Analysis  stock projectInvestment Analysis  stock project
Investment Analysis stock project
Lingyu Zhao
 
7th annual clinical trials summit 2016
7th annual clinical trials summit 20167th annual clinical trials summit 2016
7th annual clinical trials summit 2016
Deepak Raj (2,000+Connections)
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 

Viewers also liked (12)

Adaptación de la gestion de los recuros hiricos al cambio climatico
Adaptación de la gestion de los recuros hiricos al cambio climaticoAdaptación de la gestion de los recuros hiricos al cambio climatico
Adaptación de la gestion de los recuros hiricos al cambio climatico
 
Jennifer Mintzer International Communication Association Excellent Teaching b...
Jennifer Mintzer International Communication Association Excellent Teaching b...Jennifer Mintzer International Communication Association Excellent Teaching b...
Jennifer Mintzer International Communication Association Excellent Teaching b...
 
Tugas latihan excel
Tugas latihan excelTugas latihan excel
Tugas latihan excel
 
Inicio de office gil
Inicio de office gilInicio de office gil
Inicio de office gil
 
Tapizando un sillón huevo
Tapizando un sillón huevoTapizando un sillón huevo
Tapizando un sillón huevo
 
El uso de las energias limpias y renovables en la informatica
El uso de las energias limpias y renovables en la informatica El uso de las energias limpias y renovables en la informatica
El uso de las energias limpias y renovables en la informatica
 
Investment Analysis stock project
Investment Analysis  stock projectInvestment Analysis  stock project
Investment Analysis stock project
 
Hawk eye
Hawk eyeHawk eye
Hawk eye
 
7th annual clinical trials summit 2016
7th annual clinical trials summit 20167th annual clinical trials summit 2016
7th annual clinical trials summit 2016
 
Profil Kelurahan Batu Merah Kota Ambon
Profil Kelurahan Batu Merah Kota AmbonProfil Kelurahan Batu Merah Kota Ambon
Profil Kelurahan Batu Merah Kota Ambon
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
FY 2016/17- Tax Deduction at Source in Nepal
FY 2016/17- Tax Deduction at Source in NepalFY 2016/17- Tax Deduction at Source in Nepal
FY 2016/17- Tax Deduction at Source in Nepal
 

Similar to บทที่ 4 (11)

แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
 
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
 
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตสิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.
 
Ebook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตEbook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิต
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 

บทที่ 4

  • 1. 13 บทที่4 ผลการดาเนินการ จากการดาเนินการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับตรีโกณมิติและความสูงของต้นไม้ ผลการศึกษาจะนาเสนอ ดังนี้ 1. ตรีโกณมิติ รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเรียกว่าคล้ายกัน ถ้ารูปหนึ่งสามารถขยายได้เป็นอีกรูปหนึ่ง และจะเป็นกรณีนี้ก็ต่อเมื่อมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน ตัวอย่างเช่น รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีมุมร่วมกันมุมหนึ่ง และด้านที่ตรงข้ามกับมุมนั้นขนานกัน เป็นข้อเท็จจริงว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ด้านแต่ละด้านจะเป็นสัดส่วนกัน นั่นคือ ถ้าด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมหนึ่ง ยาวเป็นสองเท่าของด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน รูปภาพที่ 6สามเหลี่ยมมุมฉาก จากข้อเท็จจริงเหล่านี้ เราจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติ เริ่มต้นด้วยรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีมุมฉากหนึ่งมุม (90 องศา หรือ π/2เรเดียน) ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมใดๆจะอยู่ตรงข้ามกับมุมที่ใหญ่ที่สุด แต่เพราะว่าผลรวมของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 180 องศา หรือ π เรเดียน ดังนั้นมุมที่ใหญ่ที่สุดในรูปสามเหลี่ยมนี้คือมุมฉาก ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมจึงเป็นด้านที่ตรงข้ามกับมุมฉาก เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก นารูปสามเหลี่ยมมุมฉากมาสองรูปที่มีมุม A ร่วมกัน รูปสามเหลี่ยมทั้งสองนี้จะคล้ายกัน และอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากันทั้งสองรูป มันจะเป็นจานวนระหว่าง 0ถึง 1ขึ้นอยู่กับขนาดของมุม A เท่านั้น เราเรียกว่า ไซน์ของ A
  • 2. 14 และเขียนด้วย sin (A) ในทานองเดียวกัน เรานิยาม โคไซน์ของ A คืออัตราส่วนระหว่าง ด้านประชิดมุม A ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก ฟังก์ชันเหล่านี้เป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สาคัญ ฟังก์ชันอื่นๆสามารถนิยามโดยใช้อัตราส่วนของด้านต่างๆของรูปสามเหลี่ยม แต่มันก็สามารถเขียนได้ในรูปของ ไซน์ และ โคไซน์ ฟังก์ชันเหล่านี้คือ แทนเจนต์, ซีแคนต์, โคแทนเจนต์, และ โคซีแคนต์ วิธีจา ไซน์ โคไซน์ แทนเจนต์ อย่างง่ายๆคือจาว่า ข้ามฉาก ชิดฉาก ข้ามชิด (ไซน์-ด้านตรงข้าม- ด้านตรงข้ามมุมฉาก โคไซน์-ด้านประชิด-ด้านตรงข้ามมุมฉาก แทนเจนต์-ด้านตรงข้าม- ด้านประชิด) ที่ผ่านมา ฟังก์ชันตรีโกณมิติถูกนิยามขึ้นสาหรับมุมระหว่าง 0ถึง 90 องศา (0ถึง π/2เรเดียน) เท่านั้น หากใช้วงกลมหนึ่งหน่วย จะขยายได้เป็นจานวนบวกและจานวนลบทั้งหมด (ดูใน ฟังก์ชันตรีโกณมิติ) ครั้งหนึ่ง ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ถูกจัดลงในตาราง (หรือคานวณด้วยเครื่องคิดเลข) ทาให้ตอบคาถามทั้งหมดเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมใดๆได้อย่างแท้จริง โดยใช้กฎไซน์ และ กฎโคไซน์ กฎเหล่านี้สามารถใช้ในการคานวณมุมที่เหลือและด้านของรูปสามเหลี่ยมได้ เมื่อรู้ความยาวด้านสองด้านและขนาดของมุมหนึ่งมุม หรือรู้ขนาดของมุมสองมุมและความยาวของด้านหนึ่งด้าน หรือ รู้ความยาวของด้านทั้งสามด้าน นักคณิตศาสตร์บางคนเชื่อว่าตรีโกณมิติแต่เดิมนั้น ถูกประดิษฐ์ชึ้นเพื่อใช้คานวณนาฬิกาแดด ซึ่งมักเป็นโจทย์ในหนังสือเก่าๆ มันมีความสาคัญมากในเรื่องการสารวจ
  • 3. 15 2. ความสูงของต้นหมาก รูปภาพที่ 8เครื่องวัดมุมเอียง 1. ใช้วิธีนี้เพื่อการวัดที่แม่นยามากขึ้น ยังมีวิธีอื่นแม่นยากว่านี้อีก แต่นี่จะไม่ต้องคานวณมากและใช้อุปกรณ์พิเศษที่อ่านค่าได้แม่นยา ไม้โปรแทคเตอร์พลาสติกถูกๆ หลอดดูด และเชือกซักเส้น ก็จะเอามาใช้ทาเครื่องวัดมุมเอียง (clinometer) ด้วยตัวเองได้แล้ว รูปภาพที่ 9วัดระยะทางไปตามระยะสายตา 2. วัดระยะทางไปตามระยะสายตา ยืนแล้วถอยหลังไปยังต้นหมากและเดินผ่านจุดที่อยู่แถวพื้นของฐานต้นหมากและจะทาให้มองเห็น ยอดต้นหมากได้ชัดเจน เดินตรงและใช้ตลับเมตรเพื่อวัดระยะทางที่ยืนห่างจากต้นหมาก ได้ระยะทางห่างจากต้นหมาก 230 เซนติเมตร
  • 4. 16 รูปภาพที่ 10วัดมุมเงยไปหายอดต้นหมาก 3. วัดมุมเงยไปหายอดต้นหมาก มองไปที่ยอดต้นหมากและใช้เครื่องวัดมุมเอียงหรืออุปกรณ์ส่องกล้องรังวัดเพื่อ จะวัด “มุมเงย” ระหว่างต้นหมากกับพื้น ซึ่งมุมเงยก็คือมุมที่เกิดจากสองเส้นคือ พื้นราบและระดับสายตาที่มองไปยังจุดที่ยกสูงขึ้น (ในกรณีนี้คือยอดของต้นหมาก) กับคุณด้วยมุมยอด จะได้ค่า tan มุม 48 องศา รูปภาพที่ 11 คูณระยะห่างจากต้นหมากด้วยค่า tan 4. คูณระยะห่างจากต้นหมากด้วยค่า tan จาตอนที่วัดระยะห่างจากต้นหมากในขั้นตอนแรกได้ไหม ให้เอามันมาคูณด้วยค่า tan โดยใช้เครื่องคิดเลข ค่าแทนก็คือ (ความสูงของต้นไม้ แทนด้วย H ลบด้วย ความสูงของตัวเองแทนด้วยค่า X) หารด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้) แล้วคูณแต่ละข้างของสมการด้วย (ระยะห่างจากต้นไม้ แทนด้วย s) และจะได้เป็น (ค่า tan) x (ระยะห่างจากต้นไม้) = (ความสูงของต้นไม้)
  • 5. 17 รูปภาพที่ 12วัดความสูงของตัวเอง 5. เพิ่มความสูงของตัวเองเข้าไปในขั้นตอนก่อนหน้านี้ แล้วตอนนี้ก็จะได้ความสูงของต้นหมากที่อยู่เหนือระดับสายตาแล้ว เพราะเราใช้เครื่องวัดมุมลาดหรือทรานซิสในระดับสายตาไม่ใช่ในระดับพื้นดิน จึงต้องเพิ่มความสูงตัวเอง คือ 175 เซนติเมตร เข้าไปในการวัดเพื่อจะได้ความสูงทั้งหมดของต้นไม้ จากการได้ทาการศึกษาตามทฤษฎีทั้ง 5ข้อ จะเสนอดังนี้ จะได้ จากสูตร tan(θ) = H- X/S tan 48 = H-X/230 tan 48 x 230 = (H-X/230) x 230 1.11 x230 =H-X H-X = 255.3 cm H-X คือ ผลลัพธ์ที่ได้นี้จะบอกความสูงของต้นหมากที่อยู่เหนือระดับสายตา จะได้ ความสูงของตัวเองแทนด้วยค่า Xซึ่งเท่ากับ 175 H - X = 255.3 H - 175 = 255.3 H = 255.3 +175 = 430.3 เซนติเมตร เพราะฉะนั้นความสูงของต้นหมาก เท่ากับ 430 เซนติเมตร