SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การวัดค่ากลางของข้อมูล
เรื่อง การนาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักไปใช้ เวลา 1 ชั่วโมง
สอนโดย ครูรัศมี ธัญน้อม โรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวชี้วัด ค5.1 ม.4-6/ 2 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
เปอร์เซ็นต์ไทล์ของข้อมูล
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร และการสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตสาสตร์และเชื่อมโยง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/ 2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และ
การนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงในศาสตร์อื่นๆ
ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/5 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. สาระสาคัญ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก ( Weighted Arithmetic Mean )
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักนี้ใช้ในกรณีที่ข้อมูลแต่ละค่ามีความสาคัญไม่เท่ากัน เช่น
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ 4 วิชา ที่แต่ละวิชาใช้เวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์ไม่เท่ากัน
ถ้าให้ w1 , w2 , w3 , . . . , wN เป็นความสาคัญหรือน้าหนักถ่วงของค่าจากการสังเกต
X1 , X2 , X3 , . . . , XN ตามลาดับ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก (X W ) =
N321
NN332211
w...www
Xw...XwXwXw


=




N
1i
i
N
1i
ii
w
Xw
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถนาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักไปใช้ในการคานวณผลการเรียนเฉลี่ย
หรือเกรดเฉลี่ยได้
ด้านทักษะ / กระบวนการ (P)
1. การแก้ปัญหาโดยใช้บันได 5 ขั้น (QSCCS) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่ 1 Q (Learning to Question) เรียนรู้ด้วยการตั้งคาถาม เช่น ตั้งประเด็นคาถาม
สมมติฐาน ปัญหาในชีวิตประจาวัน/โจทย์กาหนดเป้ าหมายในการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 2 S (Learning to Search) เรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ เช่น สืบค้นความรู้ รวบรวม
ข้อมูล จัดกระทาข้อมูล แปลงข้อมูลเป็นภาษาคณิตศาสตร์ วางแผนแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 C (Learning to Constuct) เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ เช่น สรุปองค์ความรู้ สร้าง
ทางเลือก การนาไปใช้ ทบทวนประเมิน ข้อสรุปการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 4 C (Learning to Communication) เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร เช่น สื่อสารนาเสนอ
การนาความรู้ไปใช้ ให้เหตุผลด้วยวิธีต่างๆ
ขั้นที่ 5 S (Learning to Serve) เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม เช่น นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อ
ตนเอง บริการโรงเรียนและสังคม
1.2 การแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยี สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
โดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซลได้
1.3 ใช้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา คือ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้อย่างน้อย 2 วิธี
1.4 การแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง สามารถสร้างโจทย์ปัญหาจากสถานการณ์หรือ
ข้อมูลต่างๆ ใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามขั้นตอนและคาตอบถูก
2. การให้เหตุผล มีการเลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลและอธิบายเหตุผลได้ชัดเจน
3. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ สร้างตารางข้อมูลถูกต้อง
ทุกรายการและนาเสนอข้อมูลได้ถูกต้องทุกส่วน
4. การเชื่อมโยง สามารถนาความรู้เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลไปสร้างโจทย์ปัญหาจากสถานการณ์
ของชีวิตประจาวันได้
5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถออกแบบผลงานมีรูปแบบตามเนื้อหาที่กาหนดและมีการ
นาเสนอเพิ่มเติมที่แปลกใหม่น่าสนใจสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ข้อที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต
ข้อที่ 3 มีวินัย
ข้อที่ 4 ใฝ่เรียนรู้
ข้อที่ 6 มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. สาระการเรียนรู้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก
4. กิจกรรมการเรียนรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ : กระบวนการคิดเชิงระบบ (GPAS)
ขั้นนา : เรียนรู้เพื่อการตั้งคาถาม (Q)
1. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ยในภาคเรียนที่ผ่านมา และให้นักเรียน
แสดงความคิดเห็นและกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคาถามในประเด็นต่อไปนี้ (C and M)
1) นักเรียนได้ผลการเรียนแต่ละวิชาเป็นอะไรบ้าง
2) นักเรียนได้ผลการเรียนเฉลี่ยเท่าไร(เกรดเฉลี่ย)
3) การหาผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนทาอย่างไร
ขั้นสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การรวบรวมข้อมูลและการจัดกระทาข้อมูล (G) : เรียนรู้เพื่อการสืบค้น (S)
1. นักเรียนนารายงานผลการเรียนของตนเอง (สมุดพก)
2. ถ้านักเรียนคิดเกรดเฉลี่ยด้วยการนาผลบวกของเกรดทุกวิชาหารด้วยรายวิชาทั้งหมด
ที่เรียน ไม่ใช่เกรดเฉลี่ย เพราะ จะเกิดความไม่ยุติธรรมแต่ละวิชาใช้เวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์
ไม่เท่ากัน เนื่องจากไม่ได้นาหน่วยการเรียนของแต่ละวิชามาคิดด้วย (L และ R)
ขั้นที่ 2 การจัดกระทาข้อมูล (P : เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ (C)
3. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ครูอธิบายตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย
เลขคณิตถ่วงน้าหนัก (เกรดเฉลี่ย) แล้วให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย
ตัวอย่างที่ 1 ผลการสอบของ ด.ช. เอ วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ได้ผลการเรียน
เป็น 4 , 3 และ 2 ตามลาดับ แต่ละวิชามีหน่วยการเรียน 2.5 , 2 และ 1.5 ตามลาดับ จงหาเกรดเฉลี่ย 3
วิชาของ ด.ช. เอ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธี STAR
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด หน่วยการเรียนและผลการเรียน
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงหาเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 โจทย์ให้หาเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ (หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก)
ถ้าถามหาเกรดเฉลี่ยจะนา
3
234 
= 3 ไม่ได้เพราะ จะเกิดความไม่ยุติธรรม
เนื่องจากไม่ได้นาหน่วยการเรียนของแต่ละวิชามาคิดด้วย
2.2 ใช้สูตรค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก ( wX ) = =




N
i
i
N
i
ii
w
xw
1
1
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ
หาคาตอบจากสูตรในข้อ 2.2
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วงน้าหนัก ( wX ) =




N
i
i
N
i
ii
w
xw
1
1
=
51252
25132452
..
).()().(


=
6
3610 
=
6
19
= 3.166...  3.17
ดังนั้นเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ เท่ากับ 3.17
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้
วิธีที่ 1 ใช้สูตร
i
n
i
i wx1
=  
n
i
iw
1
16 = 3.17  6
วิธีที่ 2 ใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล
ขั้นที่ 3 การประยุกต์ใช้ความรู้ (A) : เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร (C)
3. นักเรียนแต่ละคนหาเกรดเฉลี่ยของนักเรียนตนเองในภาคเรียนที่ผ่านมา (L , N และ R)
ขั้นตรวจคาตอบ
4. การตรวจคาตอบเกรดเฉลี่ยของนักเรียนตนเองใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล
เพื่อฝึกการตรวจสอบคาตอบโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ถ่วงน้าหนัก คิดผลการเรียนเฉลี่ยของตนเองทาตามขั้นตอนไปพร้อมๆกับครู
(Coaching and Mentoring)
1 นักเรียนเปิดโปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล
2. พิมพ์หัวข้อว่า
การหาผลการเรียนเฉลี่ยโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล
ชื่อ.....................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .............เลขที่ ……………..
ข้อมูลใน Column A1: A5 พิมพ์รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต เกรดที่ได้ และผลคูณตามลาดับ
Row สองแถวสุดท้าย พิมพ์รวมและผลการเรียนเฉลี่ย
6. Column C1: C… หาผลรวม เลือกฟังก์ชัน (fx)
7. สร้าง Column E1:E… สร้างฟังก์ชันผลคูณ = (C1: C… )* (D1: D… )
คลิก Enter D1 ลากลงมา
8. Column C1: C… หาผลรวม เลือกฟังก์ชัน หน้าต่าง sum ดังรูป
9. สร้างฟังก์ชันผลการเรียนเฉลี่ย = sumD/sumE
ขั้นที่ 4 การกากับตนเอง เรียนรู้ได้เอง (S) : เรียนรู้เพื่อนาความรู้ไปใช้เป็นประโยชน์กับตนเอง (C)
นักเรียนใช้โปรแกรมเอกเซล (Excel) สร้างตารางผลการเรียนเฉลี่ยของตนเอง
ในภาคเรียนที่ผ่านมาและพรินท์มาส่งครู ดังรูป
ขั้นสรุป
ขั้นที่ 5 เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม(S)
5. นักเรียนช่วยกันสรุปการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักโดยการถาม-ตอบและสรุปร่วมกัน
6. นักเรียนแต่ละคนต้องนาเกรดเฉลี่ยไปใช้ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ดังนั้นนักเรียนจะต้อง
พยายามทาเกรดเฉลี่ยของตนเองในภาคเรียนต่อไปให้ดีขึ้นกว่าเดิม
7. นักเรียนทุกคนต้องนาความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปสอบโอเนตสอบระดับชาติ
เพื่อใช้เป็นคะแนนของโรงเรียน ของเขตการศึกษาและของประเทศต่อไป
5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
2. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
3. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
4. เอกสารประกอบการเรียน คณิตศาสตร์ 5 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูล
รวบรวมโดย ครูรัศมี ธัญน้อม
5. เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล
6. ผลการเรียนของนักเรียน
7. ใบกิจกรรม 1.3
สื่อและแหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดและห้องศูนย์คณิตศาสตร์โรงเรียนพิชัย
2. สืบค้นข้อมูลในอินเทอร์เนตของโรงเรียนพิชัย
6. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
รายละเอียด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ด้านความรู้ ตรวจใบกิจกรรม 1.3
ตรวจชิ้นงาน
ใบกิจกรรม 1.3
ประเมินตามเกณฑ์
ได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป
ทักษะกระบวนการ
การแก้ปัญหา
การให้เหตุผล
การนาเสนอ
การเชื่อมโยง
ความคิดสร้างสรรค์
ตรวจแบบประเมิน
การแก้ปัญหา
การให้เหตุผล
การนาเสนอ
การเชื่อมโยง
ความคิดสร้างสรรค์
แบบประเมิน
การแก้ปัญหา
การให้เหตุผล
การนาเสนอ
การเชื่อมโยง
ความคิดสร้างสรรค์
ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แบบสังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ได้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก
มีความคิดเห็นดังนี้
1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ระบุ.......................................................
2. ความสอดคล้องขององค์ประกอบในแผนการจัดการเรียนรู้
สอดคล้อง ไม่ สอดคล้อง ระบุ.......................................................
3. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรียนรู้
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
ที่ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
4. เป็นแผนจัดการเรียนรู้ที่
นาไปใช้ได้จริง
ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้
ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ……………..…………รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
(นายเจษฎา ปาณะจานงค์)
1. บันทึกหลังการจัดกิจการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางพัฒนา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ………………………… ผู้สอน
( นางรัศมี ธัญน้อม )
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
วันที่......เดือน........................... พ.ศ.........
ใบกิจกรรมที่ 1.3 เกรดเฉลี่ยของฉัน
ชื่อ………………………………………................ชั้น……………….เลขที่………….
ผลการเรียนรู้ข้อที่ 1 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลได้ (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก)
ผลการสอบของนักเรียน 4 คน จงหาเกรดเฉลี่ย และเรียงลาดับของเกรดเฉลี่ย
วิชา
หน่วย
วิทยาศาสตร์
1.5
คณิตศาสตร์
2.0
อังกฤษ
1.0
สังคม
1.0
ภาษาไทย
1.5
เกรด
เฉลี่ย
ลาดับที่
นาย เอ 3.0 2.5 3.0 2.5 2.5
นาย บี 2.5 3.5 3.5 3.0 3.0
นาย ซี 2.0 3.5 3.0 2.5 3.0
นาย ดี 3.0 3.5 2.5 3.0 2.5
นาย อี 2.5 2.0 3.0 3.5 2.5
ขั้นที่ 1 ศึกษาโจทย์ปัญหา
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ขั้นที่ 2 แปลงข้อมูลในโจทย์ปัญหาไปสู่รูปภาพหรือสมการคณิตศาสตร์
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ขั้นที่ 3 หาคาตอบของโจทย์ปัญหา
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ขั้นที่ 4 ทบทวนคาตอบ
……………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
เกรดเฉลี่ยของนาย เอ ...........................ลาดับที่................
เกรดเฉลี่ยของนาย บี ...........................ลาดับที่................
เกรดเฉลี่ยของนาย ซี ...........................ลาดับที่................
เกรดเฉลี่ยของนาย ดี ...........................ลาดับที่................
เกรดเฉลี่ยของนาย อี ...........................ลาดับที่................

More Related Content

What's hot

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...เล็ก น่ารัก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 

What's hot (20)

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 

Similar to 2. บันได 5 ขั้นqsccs

4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
ม5พื้นฐาน วิทย์55
ม5พื้นฐาน วิทย์55ม5พื้นฐาน วิทย์55
ม5พื้นฐาน วิทย์55Phornpilart Wanich
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1Nattarinthon Soysuwan
 
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556Jaru O-not
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1guychaipk
 
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2othanatoso
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1kruchaily
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้0819753991tiger
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 

Similar to 2. บันได 5 ขั้นqsccs (20)

4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
ม5พื้นฐาน วิทย์55
ม5พื้นฐาน วิทย์55ม5พื้นฐาน วิทย์55
ม5พื้นฐาน วิทย์55
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
 
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
 
รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]
รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]
รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Release2.2
Release2.2Release2.2
Release2.2
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 

More from krurutsamee

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน krurutsamee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนkrurutsamee
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 krurutsamee
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 krurutsamee
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3 krurutsamee
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5 krurutsamee
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อมkrurutsamee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์krurutsamee
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 

More from krurutsamee (20)

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 

2. บันได 5 ขั้นqsccs

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การวัดค่ากลางของข้อมูล เรื่อง การนาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักไปใช้ เวลา 1 ชั่วโมง สอนโดย ครูรัศมี ธัญน้อม โรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวชี้วัด ค5.1 ม.4-6/ 2 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ เปอร์เซ็นต์ไทล์ของข้อมูล มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร และการสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตสาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/ 2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และ การนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงในศาสตร์อื่นๆ ตัวชี้วัด ค6.1 ม.4-6/5 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. สาระสาคัญ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก ( Weighted Arithmetic Mean ) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักนี้ใช้ในกรณีที่ข้อมูลแต่ละค่ามีความสาคัญไม่เท่ากัน เช่น การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ 4 วิชา ที่แต่ละวิชาใช้เวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์ไม่เท่ากัน ถ้าให้ w1 , w2 , w3 , . . . , wN เป็นความสาคัญหรือน้าหนักถ่วงของค่าจากการสังเกต X1 , X2 , X3 , . . . , XN ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก (X W ) = N321 NN332211 w...www Xw...XwXwXw  
  • 2. =     N 1i i N 1i ii w Xw 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ นักเรียนสามารถนาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักไปใช้ในการคานวณผลการเรียนเฉลี่ย หรือเกรดเฉลี่ยได้ ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) 1. การแก้ปัญหาโดยใช้บันได 5 ขั้น (QSCCS) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน ขั้นที่ 1 Q (Learning to Question) เรียนรู้ด้วยการตั้งคาถาม เช่น ตั้งประเด็นคาถาม สมมติฐาน ปัญหาในชีวิตประจาวัน/โจทย์กาหนดเป้ าหมายในการแก้ปัญหา ขั้นที่ 2 S (Learning to Search) เรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ เช่น สืบค้นความรู้ รวบรวม ข้อมูล จัดกระทาข้อมูล แปลงข้อมูลเป็นภาษาคณิตศาสตร์ วางแผนแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 C (Learning to Constuct) เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ เช่น สรุปองค์ความรู้ สร้าง ทางเลือก การนาไปใช้ ทบทวนประเมิน ข้อสรุปการแก้ปัญหา ขั้นที่ 4 C (Learning to Communication) เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร เช่น สื่อสารนาเสนอ การนาความรู้ไปใช้ ให้เหตุผลด้วยวิธีต่างๆ ขั้นที่ 5 S (Learning to Serve) เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม เช่น นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อ ตนเอง บริการโรงเรียนและสังคม 1.2 การแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยี สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซลได้ 1.3 ใช้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา คือ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้อย่างน้อย 2 วิธี 1.4 การแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง สามารถสร้างโจทย์ปัญหาจากสถานการณ์หรือ ข้อมูลต่างๆ ใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามขั้นตอนและคาตอบถูก 2. การให้เหตุผล มีการเลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลและอธิบายเหตุผลได้ชัดเจน 3. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ สร้างตารางข้อมูลถูกต้อง ทุกรายการและนาเสนอข้อมูลได้ถูกต้องทุกส่วน 4. การเชื่อมโยง สามารถนาความรู้เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลไปสร้างโจทย์ปัญหาจากสถานการณ์ ของชีวิตประจาวันได้ 5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถออกแบบผลงานมีรูปแบบตามเนื้อหาที่กาหนดและมีการ นาเสนอเพิ่มเติมที่แปลกใหม่น่าสนใจสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
  • 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ข้อที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต ข้อที่ 3 มีวินัย ข้อที่ 4 ใฝ่เรียนรู้ ข้อที่ 6 มุ่งมั่นในการทางาน สมรรถนะสาคัญ - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. สาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก 4. กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ : กระบวนการคิดเชิงระบบ (GPAS) ขั้นนา : เรียนรู้เพื่อการตั้งคาถาม (Q) 1. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ยในภาคเรียนที่ผ่านมา และให้นักเรียน แสดงความคิดเห็นและกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคาถามในประเด็นต่อไปนี้ (C and M) 1) นักเรียนได้ผลการเรียนแต่ละวิชาเป็นอะไรบ้าง 2) นักเรียนได้ผลการเรียนเฉลี่ยเท่าไร(เกรดเฉลี่ย) 3) การหาผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนทาอย่างไร ขั้นสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 การรวบรวมข้อมูลและการจัดกระทาข้อมูล (G) : เรียนรู้เพื่อการสืบค้น (S) 1. นักเรียนนารายงานผลการเรียนของตนเอง (สมุดพก) 2. ถ้านักเรียนคิดเกรดเฉลี่ยด้วยการนาผลบวกของเกรดทุกวิชาหารด้วยรายวิชาทั้งหมด ที่เรียน ไม่ใช่เกรดเฉลี่ย เพราะ จะเกิดความไม่ยุติธรรมแต่ละวิชาใช้เวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์ ไม่เท่ากัน เนื่องจากไม่ได้นาหน่วยการเรียนของแต่ละวิชามาคิดด้วย (L และ R) ขั้นที่ 2 การจัดกระทาข้อมูล (P : เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ (C) 3. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ครูอธิบายตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย เลขคณิตถ่วงน้าหนัก (เกรดเฉลี่ย) แล้วให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย
  • 4. ตัวอย่างที่ 1 ผลการสอบของ ด.ช. เอ วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ได้ผลการเรียน เป็น 4 , 3 และ 2 ตามลาดับ แต่ละวิชามีหน่วยการเรียน 2.5 , 2 และ 1.5 ตามลาดับ จงหาเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธี STAR ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด หน่วยการเรียนและผลการเรียน 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงหาเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 โจทย์ให้หาเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ (หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก) ถ้าถามหาเกรดเฉลี่ยจะนา 3 234  = 3 ไม่ได้เพราะ จะเกิดความไม่ยุติธรรม เนื่องจากไม่ได้นาหน่วยการเรียนของแต่ละวิชามาคิดด้วย 2.2 ใช้สูตรค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก ( wX ) = =     N i i N i ii w xw 1 1 ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ หาคาตอบจากสูตรในข้อ 2.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วงน้าหนัก ( wX ) =     N i i N i ii w xw 1 1 = 51252 25132452 .. ).()().(   = 6 3610  = 6 19 = 3.166...  3.17 ดังนั้นเกรดเฉลี่ย 3 วิชาของ ด.ช. เอ เท่ากับ 3.17 ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้ วิธีที่ 1 ใช้สูตร i n i i wx1 =   n i iw 1 16 = 3.17  6 วิธีที่ 2 ใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล ขั้นที่ 3 การประยุกต์ใช้ความรู้ (A) : เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร (C) 3. นักเรียนแต่ละคนหาเกรดเฉลี่ยของนักเรียนตนเองในภาคเรียนที่ผ่านมา (L , N และ R)
  • 5. ขั้นตรวจคาตอบ 4. การตรวจคาตอบเกรดเฉลี่ยของนักเรียนตนเองใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล เพื่อฝึกการตรวจสอบคาตอบโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ถ่วงน้าหนัก คิดผลการเรียนเฉลี่ยของตนเองทาตามขั้นตอนไปพร้อมๆกับครู (Coaching and Mentoring) 1 นักเรียนเปิดโปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล 2. พิมพ์หัวข้อว่า การหาผลการเรียนเฉลี่ยโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล ชื่อ.....................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .............เลขที่ …………….. ข้อมูลใน Column A1: A5 พิมพ์รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต เกรดที่ได้ และผลคูณตามลาดับ Row สองแถวสุดท้าย พิมพ์รวมและผลการเรียนเฉลี่ย 6. Column C1: C… หาผลรวม เลือกฟังก์ชัน (fx) 7. สร้าง Column E1:E… สร้างฟังก์ชันผลคูณ = (C1: C… )* (D1: D… ) คลิก Enter D1 ลากลงมา 8. Column C1: C… หาผลรวม เลือกฟังก์ชัน หน้าต่าง sum ดังรูป 9. สร้างฟังก์ชันผลการเรียนเฉลี่ย = sumD/sumE ขั้นที่ 4 การกากับตนเอง เรียนรู้ได้เอง (S) : เรียนรู้เพื่อนาความรู้ไปใช้เป็นประโยชน์กับตนเอง (C) นักเรียนใช้โปรแกรมเอกเซล (Excel) สร้างตารางผลการเรียนเฉลี่ยของตนเอง ในภาคเรียนที่ผ่านมาและพรินท์มาส่งครู ดังรูป
  • 6. ขั้นสรุป ขั้นที่ 5 เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม(S) 5. นักเรียนช่วยกันสรุปการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนักโดยการถาม-ตอบและสรุปร่วมกัน 6. นักเรียนแต่ละคนต้องนาเกรดเฉลี่ยไปใช้ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ดังนั้นนักเรียนจะต้อง พยายามทาเกรดเฉลี่ยของตนเองในภาคเรียนต่อไปให้ดีขึ้นกว่าเดิม 7. นักเรียนทุกคนต้องนาความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปสอบโอเนตสอบระดับชาติ เพื่อใช้เป็นคะแนนของโรงเรียน ของเขตการศึกษาและของประเทศต่อไป 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ 2. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ 3. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ 4. เอกสารประกอบการเรียน คณิตศาสตร์ 5 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูล รวบรวมโดย ครูรัศมี ธัญน้อม
  • 7. 5. เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมไมโครซอฟ์ทเอกซ์เซล 6. ผลการเรียนของนักเรียน 7. ใบกิจกรรม 1.3 สื่อและแหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติม 1. ห้องสมุดและห้องศูนย์คณิตศาสตร์โรงเรียนพิชัย 2. สืบค้นข้อมูลในอินเทอร์เนตของโรงเรียนพิชัย 6. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้ รายละเอียด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ด้านความรู้ ตรวจใบกิจกรรม 1.3 ตรวจชิ้นงาน ใบกิจกรรม 1.3 ประเมินตามเกณฑ์ ได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป ทักษะกระบวนการ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การนาเสนอ การเชื่อมโยง ความคิดสร้างสรรค์ ตรวจแบบประเมิน การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การนาเสนอ การเชื่อมโยง ความคิดสร้างสรรค์ แบบประเมิน การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การนาเสนอ การเชื่อมโยง ความคิดสร้างสรรค์ ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ สังเกตคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบสังเกตคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ได้คะแนน ระดับดีขึ้นไป
  • 8. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก มีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ระบุ....................................................... 2. ความสอดคล้องขององค์ประกอบในแผนการจัดการเรียนรู้ สอดคล้อง ไม่ สอดคล้อง ระบุ....................................................... 3. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ที่ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 4. เป็นแผนจัดการเรียนรู้ที่ นาไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ……………..…………รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ (นายเจษฎา ปาณะจานงค์) 1. บันทึกหลังการจัดกิจการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ………………………… ผู้สอน ( นางรัศมี ธัญน้อม ) ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ วันที่......เดือน........................... พ.ศ.........
  • 9. ใบกิจกรรมที่ 1.3 เกรดเฉลี่ยของฉัน ชื่อ………………………………………................ชั้น……………….เลขที่…………. ผลการเรียนรู้ข้อที่ 1 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลได้ (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก) ผลการสอบของนักเรียน 4 คน จงหาเกรดเฉลี่ย และเรียงลาดับของเกรดเฉลี่ย วิชา หน่วย วิทยาศาสตร์ 1.5 คณิตศาสตร์ 2.0 อังกฤษ 1.0 สังคม 1.0 ภาษาไทย 1.5 เกรด เฉลี่ย ลาดับที่ นาย เอ 3.0 2.5 3.0 2.5 2.5 นาย บี 2.5 3.5 3.5 3.0 3.0 นาย ซี 2.0 3.5 3.0 2.5 3.0 นาย ดี 3.0 3.5 2.5 3.0 2.5 นาย อี 2.5 2.0 3.0 3.5 2.5 ขั้นที่ 1 ศึกษาโจทย์ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ขั้นที่ 2 แปลงข้อมูลในโจทย์ปัญหาไปสู่รูปภาพหรือสมการคณิตศาสตร์ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ขั้นที่ 3 หาคาตอบของโจทย์ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ขั้นที่ 4 ทบทวนคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. เกรดเฉลี่ยของนาย เอ ...........................ลาดับที่................ เกรดเฉลี่ยของนาย บี ...........................ลาดับที่................ เกรดเฉลี่ยของนาย ซี ...........................ลาดับที่................ เกรดเฉลี่ยของนาย ดี ...........................ลาดับที่................ เกรดเฉลี่ยของนาย อี ...........................ลาดับที่................