SlideShare a Scribd company logo
1 of 660
Download to read offline
ใช้ดีถูกใจอย่าลืมอุดหนุนฉบับตีพมพ์เป็นเล่มด้วยนะครับ
                               ิ
  * เนื้อหาตามหลักสูตรใหม่ครบทุกบทเรียน ม.4-5-6
  * โจทย์แบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมกว่า 2,000 ข้อ
  * ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยครบทัง 14 ฉบับ (2541-2548)
                                ้
  * พร้อมเฉลยคําตอบ วิธคด และเรืองที่น่ารู้อกมากมาย..
                        ี ิ         ่        ี
                            เหมาะสําหรับเตรียมสอบประจําภาค ม.4-5-6
                            สอบโควตารับตรง และสอบเข้ามหาวิทยาลัย




                                         Release 2.2
เซต ตรรกศาสตร์/การให้เหตุผล
ระบบจํานวนจริง/ทฤษฎีจํานวน
เรขาคณิตวิเคราะห์
ความสัมพันธ์/ฟังก์ชัน
กําหนดการเชิงเส้น
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เอกซ์โพเนนเชียล/ลอการิทมึ
เมตริกซ์ เวกเตอร์
จํานวนเชิงซ้อน ทฤษฎีกราฟ
ลําดับ/อนุกรม ลิมิต/ความต่อเนื่อง
อนุพันธ์/การอินทิเกรต สถิติ
ความน่าจะเป็น

             คณิต มงคลพิทักษ์สุข http://math.reads.it
     วศ.บ. ไฟฟ้า จุฬาฯ (เกียรตินิยม)   kanuay@thai.com
2
Math E-Book
Release 2.2
เรียบเรียงโดย คณิต มงคลพิทักษ์สุข


เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
ที่เว็บไซต์ http://math.reads.it และไทยแวร์ดอตคอม
Release 2.0 13 ตุลาคม 2548
Release 2.1 28 ธันวาคม 2548
Release 2.2 14 มิถุนายน 2549



ตีพิมพ์ครั้งแรก (จาก Release 2.0) ธันวาคม 2548
ในชื่อ “คณิตศาสตร์ O-NET & A-NET”
โดยสํานักพิมพ์ SCIENCE CENTER (ธรรมบัณฑิต)
ราคาปก 159 บาท


สงวนลิขสิทธิตามกฎหมาย
              ์
ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ
เว้นแต่ได้รับอนุญาต




ฉบับตีพิมพ์มีจําหน่ายแล้วที่ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
ร้านซีเอ็ด ร้านขายแบบเรียนทั่วไป และ
                                                 ถนนราชดําเนิน




                                                                                ตรอกสาเก




ธรรมบัณฑิต                                                          โรงแรม
                                                                 รัตนโกสินทร์              7-Eleven ร้านธรรมบัณฑิต         วัดบูรณศิริ

3/1 ถนนอัษฎางค์ ริมคลองหลอด                                                                   ถนนอัษฎางค์
                                                                                                       คลองหลอด
                                                                                                                 ไปกระทรวงมหาดไทย

สนามหลวง เขตพระนคร กทม. 10200
                                                                     แม่ธรณี                      แผงหนังสือ            กระทรวง
ธนาณัติสั่งจ่าย ป.ณ.หน้าพระลาน                                                                   สนามหลวงเดิม           ยุติธรรม

ในนาม ผู้จัดการ                                                                                  สนามหลวง
โทร. 0-2225-7160, 0-2221-5884
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                          3



                                                                         ¤íÒªÕé樧
         ภายในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย เนือหาคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
                                           ้
พื้นฐาน พ.ศ.2544 ช่วงชันที่ 4 (หรือ ม.4 – ม.6) ครบทุกหัวข้อ (ซึ่งพยายามเขียนให้กระชับ
                        ้
ที่สุด) และ โจทย์แบบฝึกหัด ที่เรียงลําดับจากง่ายไปยาก พร้อมทั้งเนื้อหาและเทคนิคการ
คํานวณที่ควรทําความเข้าใจเพิ่มเติม เนื้อหาบางบทเรียนสามารถเริ่มทําความเข้าใจได้ทันที แต่
บางบทเรียนก็จําเป็นต้องใช้พนฐานความรู้จากบทเรียนอื่นประกอบด้วย ดังนั้นเพื่อป้องกันการ
                            ื้
สับสนผู้อ่านควรศึกษาเรียงตามหัวข้อดังนี้

      ตรรกศาสตร์             เซต                                ระบบจํานวนจริง

      ความน่าจะเป็น                                                                เมตริกซ์
                                      ทฤษฎีกราฟ

        พื้นฐาน            ฟังก์ชัน          เรขาคณิตวิเคราะห์                     เวกเตอร์

        เพิ่มเติม                            กําหนดการเชิงเส้น                  จํานวนเชิงซ้อน


             สถิติ          ลําดับ+อนุกรม             ตรีโกณมิติ              ลิมิต+ความต่อเนื่อง

                                             เอกซ์โพ.+ลอการิทึม               อนุพันธ์+อินทิเกรต

       นอกจากนีในตอนท้ายยังมี ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ ครบทั้ง 14
                  ้
ฉบับ (ต.ค.41 ถึง มี.ค.48) และวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (2532 ถึง 2548, เฉพาะข้อที่เป็น
คณิตศาสตร์) เพื่อใช้สําหรับฝึกฝนเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย (O-NET / A-NET) อีกด้วย

          ในท้ายบทเรียนและท้ายข้อสอบมี เฉลยคําตอบและวิธีคด กํากับไว้ทั้งหมดแล้ว โดย
                                                                 ิ
เฉลยวิธีคิดในหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงการสรุปความคิดรวบยอดของข้อนันๆ ไม่ได้แสดงวิธีทํา
                                                                      ้
อย่างละเอียดทุกขั้นตอน ทั้งนี้เป็นความตั้งใจที่จะเน้นให้ผอ่านได้ลองคิดและเกิดความเข้าใจไป
                                                          ู้
พร้อมๆ กัน เพื่อให้ทําข้อสอบได้รวดเร็วขึ้น เชื่อว่าหากผู้อานได้ให้เวลาทําความเข้าใจเนือหา
                                                             ่                        ้
อย่างถี่ถ้วน และฝึกทําโจทย์แบบฝึกหัดไปทีละขั้นๆ พร้อมกับตรวจเฉลยทุกข้อ ก็จะติดตาม
บทเรียนจนจบได้อย่างลุล่วง สิ่งที่ต้องการแนะนําในที่นี้คอ หากมีข้อสงสัยให้รีบถามจากผู้รู้ ไม่
                                                        ื
ควรปล่อยให้ตดค้างอยู่ :]
               ิ



                       Math E-Book Release 2.2        (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                             4

แนวโจทย์ข้อสอบเข้าฯ ในปัจจุบัน
           โจทย์ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยปัจจุบันนี้เปลี่ยนแนวไป ทําให้หลายคนบ่นว่ายากขึ้นมาก
ส่วนตัวผู้เขียนว่าเป็นข้อสอบที่ดีเพราะเริ่มเน้นความเข้าใจในเนื้อหา ในนิยามหลักๆ ของบทเรียน
ลักษณะข้อสอบแบบนี้อันที่จริงไม่ถือว่ายาก แต่ค่อนไปในทางลึกซึ้งมากกว่า คนที่จะทําข้อสอบแบบนี้
ได้ถูก จะต้องรู้ลึกและแม่นจริง สูตรลัดกลายเป็นสิ่งไร้ค่า และการขยันเรียนที่โรงเรียนโดยตลอด
พร้อมกับทําความเข้าใจในแบบฝึกหัดเพิ่มเติมด้วยตนเอง จะได้ผลดีมากกว่าการกวดวิชา

เรียนคณิตศาสตร์ยังไงให้ได้ผลดี
          (1) ปัญหาแรกของคนที่บอกว่าตัวเองเรียนไม่รู้เรื่องเลย ทําโจทย์ไม่เป็นเลย อยู่ที่เรียนผิดวิธี
ครับ ถ้าไม่เข้าใจบทเรียนให้ลองถามตัวเองว่าเกิดจากเหตุใดต่อไปนี้
(ก) ไม่ตั้งใจเรียน กรณีนี้ไม่มีวิธีแก้วิธีใดดีไปกว่าการบังคับตัวเองให้ตั้งใจเรียน :]
(ข) ถ้าตั้งใจแล้วแต่ไม่เข้าใจ แปลว่าผู้สอนอาจจะถ่ายทอดได้ไม่ดี แบบนี้คงต้องย้ายไปเรียนกับคนที่
สอนแล้วเข้าใจ (เข้าใจกับสนุก หรือเข้าใจกับมีสูตรลัดเยอะ เป็นคนละเรื่องกันนะครับ!)
          (2) ทีนี้พอเข้าใจบทเรียนแล้ว การที่จะทําได้ดีไม่ดี อยู่ที่การฝึกฝนอีกอย่างหนึ่งด้วย (ถ้านั่ง
ฟังอย่างเดียวแต่ไม่ได้ลงมือฝึกด้วยตัวเองเลย ก็คงคล้ายกับเรียนว่ายน้ําทางทีวีนั่นแหละครับ) ยิ่งทํา
โจทย์เยอะและแปลก จะยิ่งได้เปรียบ เพราะความแม่นยําลึกซึ้งในวิชานั้นสอนกันไม่ได้
          อีกสิ่งหนึ่งที่ควรปรับปรุงคือ แทนที่จะจําวิธีแก้โจทย์เป็นรูปแบบตายตัว อยากให้ “มอง
คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ” คือฝึกมองให้กว้างว่าแต่ละเรื่องที่เรารู้นั้น เอาไปเป็นเครื่องมือช่วย
แก้ปัญหาจุดไหนของเรื่องไหนได้บ้าง ต้องบอกได้ว่าทําไมโจทย์ข้อนี้ถึงควรทําด้วยวิธีนี้ หรือรู้จักมองว่า
เนื้อหาบทไหนเชื่อมโยงถึงกันได้บ้าง (ซึ่งในหนังสือเล่มนี้ได้แทรกคําอธิบายถึงความเกี่ยวโยงไว้ให้บ้าง
แล้ว) การฝึกแบบนี้น่าจะทําข้อสอบได้ดีขึ้นครับ..
           นับตั้งแต่เริ่มลงมือพิมพ์จนวันนี้ (ตุลาคม 2548) ใช้เวลาถึง 2 ปี และหนังสือเล่มนีคงจะยังไม่
                                                                                           ้
สําเร็จด้วยดีถ้าขาดบุคคลเหล่านี้ หากหนังสือเล่มนี้มีส่วนดีประการใด ก็เป็นเพราะบุคคลทังหมดนีครับ..
                                                                                      ้       ้
          - อาจารย์ทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์คณิตศาสตร์ ที่ได้ให้วิชาความรู้กับผม ขอขอบพระคุณ
อ.ชัยศักดิ์ และ อ.จงดี (สาธิตปทุมวัน) เป็นพิเศษครับ ทั้งสองท่านเป็นต้นแบบที่ดีในการสอน
          - ป๊า ม้า ยังคงเข้าใจและยอมเรื่อยมา บอยกับน้องยุ ช่วยพิมพ์เฉลยอย่างขยันขันแข็ง
          - ผู้เขียนหนังสือเรียนและคู่มือต่างๆ ผู้ออกข้อสอบเข้าฯ รวมทั้งเว็บไซต์ของ สกอ.
          - อ.สมพล (กวงเจ็ก) และ อ.พนม สนพ. Science Center ที่ให้โอกาสนําเสนอผลงาน
          - ชง สําหรับความคิดริเริ่มพิมพ์ชีท และกล้า สําหรับความคิดเรื่องข้อสอบพื้นฐานวิศวะ
          - น้องภัค น้องหนึ่ง น้องโอ๊ต น้องเคน สําหรับข้อสอบทั้งสองวิชา รวมไปถึงน้องๆ ทั้งหลาย
ที่เคยเป็นศิษย์กันมา ตั้งแต่ใช้ชีทลายมือเขียนมาจนกระทั่งพิมพ์เสร็จ (ขึ้นหลักร้อยแล้ว แต่ยังจําได้
ทุกคนครับ) โดยเฉพาะแอน, เนย์, เภา, ตูน เป็นน้องกลุ่มแรกที่ได้ใช้หนังสือเล่มนี้ ให้คําแนะนํา และ
ช่วยตรวจแก้ข้อสอบด้วย
          - ความร้ายกาจของ “เจ๊ชุดดํา” แห่งฟู้ดเซ็นเตอร์ชั้น 3 ที่ทําให้เกิดความคิดว่า คนเราควร
ทํางานในหน้าทีของตัวเองให้ดีที่สุด แล้วผมก็เดินกลับบ้านมาเริ่มพิมพ์หนังสือเมื่อสองปีที่แล้ว!
                  ่
          - Thaiware.com, se-ed.net, f0nt.com ... สามเว็บไทยใจดี

        มีข้อสงสัย คําแนะนํา หรือพบข้อบกพร่อง กรุณาติดต่อผู้เขียนที่ kanuay@thai.com
และสอบถามปัญหาต่างๆ ได้ที่เว็บบอร์ดใน http://math.reads.it
ยินดีตอบทุกปัญหาครับ :]
                                                     ขอบคุณที่ให้ความสนใจครับ
                                                      คณิต มงคลพิทักษ์สุข
                              Math E-Book Release 2.2          (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                      5



                                           ÊÒÃa¡ÒÃeÃÕ¹ÃÙŒ
                            (e¹×éoËÒ·Õè㪌Êoº O-NET / A-NET)
       ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยจะเปลี่ยนระบบ
เป็นแอดมิสชันส์ (Central University Admissions System) ซึ่งแบ่งคะแนนสอบออกเป็น 4 ส่วน
            ่
1. GPAX รวมทุกวิชาในระดับ ม.ปลาย                                       [10%]
2. GPA เฉพาะวิชาหลัก 4-5 วิชา ต่างๆ กันไปแล้วแต่คณะที่เลือก            [20%]
3. O-NET (Ordinary National Educational Test) สอบรวมทั้งประเทศ         [35%-40%]
         เป็นข้อสอบบังคับ นักเรียนทุกสาขาจะต้องสอบ มี 5 วิชาได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา (ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 2 ชั่วโมง) ... ซึ่ง
นักเรียนแต่ละคนสอบ O-NET ได้เพียงปีเดียว หลังจบ ม.6
4. A-NET (Advanced National Educational Test) สอบรวมทั้งประเทศ [30%-35%]
         เป็นข้อสอบฉบับเพิ่มเติม มีรายวิชาต่างกันไปตามสาขาที่สอบ (ไม่เกิน 3 วิชา และอาจมี
วิชาความถนัดของแต่ละสาขาด้วย เช่น วิศวะฯ สถาปัตย์ ครู ศิลปะ ดนตรี สุขศึกษา) ข้อสอบจะ
ครอบคลุมเนื้อหากว้างและลึกกว่า O-NET (ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 2 ชั่วโมง ยกเว้น
วิทยาศาสตร์ 3 ชั่วโมง) โดยคณิตศาสตร์จะใช้สอบสําหรับนักเรียนที่เลือกสาขาคํานวณเท่านั้น ...
นักเรียนแต่ละคนสอบ A-NET ได้ 3 ปี

หมายเหตุ (1) O-NET และ A-NET มีการจัดสอบปีละ 1 ครั้ง ปลายเดือนกุมภาพันธ์
(2) ทุกวิชาจะมีข้อสอบส่วนอัตนัย เป็นแบบเติมคําตอบสั้นๆ (Short Answer) ด้วย
(3) ชื่อวิชาต่างจากระบบเดิม คือคณิตศาสตร์ 1 (O-NET) จะง่ายกว่าคณิตศาสตร์ 2 (A-NET)

               ค่าน้ําหนักของวิชาคณิตศาสตร์ในการสอบแต่ละสาขา
-   สาขาบริหารธุรกิจ พาณิชย์ บัญชี เศรษฐศาสตร์ | GPA 4% | O-NET 7% | A-NET 20%
-   สาขาวิศวกรรมศาสตร์ และสาขาเกษตร | GPA 4% | O-NET 8% | A-NET 10%
-   สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม | GPA 5% | O-NET 7% | A-NET 10%
-   สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | GPA 4% | O-NET 7% | A-NET 10%
-   สาขาสังคมศาสตร์ | GPA 5% (เลือกวิชาอื่นแทนได้) | O-NET 20%
-   สาขาการจัดการ การท่องเที่ยว | GPA 5% | O-NET 14%
-   สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ | GPA 5% | O-NET 8%
-   สาขาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ | GPA 4% | O-NET 8%
-   สาขาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข พลศึกษา การกีฬา | GPA 4% | O-NET 7%
-   สาขาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ | GPA ไม่ใช้คณิตศาสตร์ | O-NET 7%
-   สาขามนุษยศาสตร์ | GPA 5% (เลือกวิชาอื่นแทนได้) | O-NET 7-10% | A-NET ไม่แน่นอน

รายละเอียดเพิ่มเติม อยู่ในเว็บไซต์ของ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (NIETS)
http://www.ntthailand.com

                       Math E-Book Release 2.2    (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                       6

                หัวข้อคณิตศาสตร์พื้นฐาน (สําหรับข้อสอบ O-NET)
บทที่   1 เซต (ทั้งหมด)
บทที่   2 ระบบจํานวนจริง (ทังหมดยกเว้นหัวข้อ 2.2 และ 2.5)
                              ้
บทที่   3 ตรรกศาสตร์ (เฉพาะหัวข้อ 3.5)
บทที่   5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ทั้งหมดยกเว้นหัวข้อ 5.2 และ 5.5)
บทที่   7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (เฉพาะเกริ่นนํา และหัวข้อ 7.9)
บทที่   8 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (เฉพาะหัวข้อ 8.1)
บทที่   13 ลําดับและอนุกรม (เฉพาะหัวข้อ 13.1 และ 13.4 ที่ไม่เกี่ยวกับอนันต์)
บทที่   16 ความน่าจะเป็น (เฉพาะหัวข้อ 16.1 และ 16.6)
บทที่   17 สถิติ (ทั้งหมดยกเว้นหัวข้อ 17.5 และ 17.6 และสมบัติต่างๆ)

               หัวข้อคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (สําหรับข้อสอบ A-NET)
คือทุกหัวข้อในหนังสือเล่มนี้
รวมทั้งหัวข้อเพิ่มเติมที่ไม่อยู่ในหนังสือเรียน ได้แก่
บทที่ 2 การหารสังเคราะห์
บทที่ 13 อนุกรมแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่เลขคณิตและเรขาคณิต
บทที่ 16 การนับในกรณีอื่นๆ (หัวข้อ 16.4)
บทที่ 17 สูตรลดทอนในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต




                           Math E-Book Release 2.2    (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                      7



                                                                          ÊÒúa­
         เรื่อง                                                             หน้า
บทที่ 1 เซต                                                                 11
         1.1 สับเซตและเพาเวอร์เซต                                           12
         1.2 แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และการดําเนินการของเซต                    15
         1.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต                                         21

บทที่ 2 ระบบจํานวนจริง                                                      31
         2.1 สมบัติของจํานวนจริง                                            32
         2.2 ทฤษฎีบทเศษเหลือ และตัวประกอบ                                   36
         2.3 อสมการ                                                         39
         2.4 ค่าสัมบูรณ์                                                    44
         2.5 ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น                                           48
เรื่องแถม ถ้าไม่มีเครื่องคํานวณ จะหาค่ารากที่สองได้อย่างไร                  58

บทที่ 3 ตรรกศาสตร์                                                           59
         3.1 ตัวเชื่อมประพจน์ และตารางค่าความจริง                           60
         3.2 สัจนิรันดร์                                                    63
         3.3 การอ้างเหตุผล                                                  65
         3.4 ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ                                      67
         3.5 การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย                                 69
เรื่องแถม มองตรรกศาสตร์ให้เป็นการคํานวณ จากพื้นฐานของดิจิตัล                82

บทที่ 4 เรขาคณิตวิเคราะห์                                                    83
         4.1 เบื้องต้น : จุด                                                 84
         4.2 เบื้องต้น : เส้นตรง                                             86
         4.3 ภาคตัดกรวย : พื้นฐานการเขียนกราฟ                                92
         4.4 ภาคตัดกรวย : วงกลม                                              94
         4.5 ภาคตัดกรวย : พาราโบลา                                           96
         4.6 ภาคตัดกรวย : วงรี                                               99
         4.7 ภาคตัดกรวย : ไฮเพอร์โบลา                                       102

บทที่ 5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                                             119
         5.1 ลักษณะของความสัมพันธ์                                          120
         5.2 โดเมน เรนจ์ และตัวผกผันของความสัมพันธ์                         121
         5.3 กราฟของความสัมพันธ์                                            124

                       Math E-Book Release 2.2    (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                         8

         เรื่อง                                                                  หน้า
         5.4 ลักษณะของฟังก์ชัน                                                   127
         5.5 ฟังก์ชันประกอบ และฟังก์ชันผกผัน                                     131
เรื่องแถม หลักในการหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน fog                                146

บทที่ 6 กําหนดการเชิงเส้น                                                        147
บทที่ 7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ                                                       157
         7.1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติในวงกลมหนึ่งหน่วย                                 158
         7.2 ระบบเรเดียน และการลดรูปมุม                                          160
         7.3 สมการตรีโกณมิติ                                                     162
         7.4 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ                                           165
         7.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่างมุม                             166
         7.6 ฟังก์ชันผกผันของตรีโกณมิติ                                          169
         7.7 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ                                                 171
         7.8 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์                                             172
         7.9 การประยุกต์หาระยะทางและความสูง                                      173

บทที่ 8 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม                                      187
         8.1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และกฎของเลขยกกําลัง                         187
         8.2 การแก้สมการที่เป็นเอกซ์โพเนนเชียล                                   191
         8.3 ฟังก์ชันลอการิทึม และกฎของลอการิทึม                                 192
         8.4 การแก้สมการที่เป็นลอการิทึม                                         195
เรื่องแถม จําเป็นต้องตรวจคําตอบของสมการ (หรืออสมการ) เมื่อใดบ้าง                 204

บทที่ 9 เมตริกซ์                                                                 205
         9.1 การบวก ลบ และคูณเมตริกซ์                                            206
         9.2 ดีเทอร์มินันต์                                                      208
         9.3 อินเวอร์สการคูณ                                                     211
         9.4 การดําเนินการตามแถว                                                 215
         9.5 การใช้เมตริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น                                  216

บทที่ 10 เวกเตอร์                                                                227
         10.1 การบวกและลบเวกเตอร์                                                228
         10.2 การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์                                          230
         10.3 เวกเตอร์กับเรขาคณิต                                                231
         10.4 เวกเตอร์ในพิกัดฉาก และเวกเตอร์หนึ่งหน่วย                           233
         10.5 ผลคูณเชิงสเกลาร์                                                   235
         10.6 เวกเตอร์ในพิกัดฉากสามมิติ                                          237
         10.7 ผลคูณเชิงเวกเตอร์                                                  240
เรื่องแถม สิ่งที่ไม่ต้องรู้ก็ได้ : ลําดับการคิดค้นเนื้อหาคณิตศาสตร์              250
                           Math E-Book Release 2.2       (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                                9

         เรื่อง                                                                     หน้า
บทที่ 11 จํานวนเชิงซ้อน                                                             251
         11.1 การคํานวณเบื้องต้น                                                    252
         11.2 สังยุค และค่าสัมบูรณ์                                                 254
         11.3 รูปเชิงขั้ว                                                           256
         11.4 สมการพหุนาม                                                           259
เรื่องแถม ใช้จานวนเชิงซ้อนช่วยคํานวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
              ํ                                                                     268

บทที่ 12 ทฤษฎีกราฟ                                                                  269
         12.1 ส่วนประกอบของกราฟ                                                     270
         12.2 กราฟออยเลอร์                                                          272
         12.3 วิถีที่สั้นที่สุด และต้นไม้แผ่ทั่วที่น้อยที่สุด                       274

บทที่ 13 ลําดับและอนุกรม                                                            279
         13.1 ลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต                                              280
         13.2 ลิมิตของลําดับอนันต์                                                  282
         13.3 อนุกรมและซิกม่า                                                       284
         13.4 อนุกรมเลขคณิต เรขาคณิต และอื่นๆ                                       285

บทที่ 14 ลิมิตและความต่อเนื่อง                                                      295
         14.1 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต                                                 296
         14.2 ลิมิตในรูปแบบยังไม่กําหนด                                             298
         14.3 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน                                              300
เรื่องแถม การคํานวณลิมิตในรูปแบบยังไม่กําหนด ด้วยกฎของโลปีตาล                       306

บทที่ 15 อนุพันธ์และการอินทิเกรต                                                    307
         15.1 อัตราการเปลี่ยนแปลง                                                   307
         15.2 สูตรในการหาอนุพันธ์                                                   309
         15.3 ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด และค่าสุดขีด                                 312
         15.4 สูตรในการอินทิเกรต                                                    317
         15.5 อินทิกรัลจํากัดเขต และพื้นที่ใต้โค้ง                                  319
เรื่องแถม เทคนิคการอินทิเกรตโดยเปลี่ยนตัวแปร                                        332

บทที่ 16 ความน่าจะเป็น                                                              333
         16.1 หลักมูลฐานเกี่ยวกับการนับ                                             333
         16.2 วิธีเรียงสับเปลี่ยน                                                   335
         16.3 วิธีจัดหมู่ และกฎการแบ่งกลุ่ม                                         337
         16.4 การนับในกรณีอื่นๆ                                                     339
         16.5 ทฤษฎีบททวินาม                                                         341
         16.6 ความน่าจะเป็น                                                         345
เรื่องแถม เรื่องของการนับจํานวนความสัมพันธ์ จํานวนฟังก์ชัน                          358
                        Math E-Book Release 2.2             (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                       10

         เรื่อง                                                                 หน้า
บทที่ 17 สถิติ                                                                  359
         17.1 การรวบรวมและนําเสนอข้อมูล                                         360
         17.2 ค่ากลางของข้อมูล                                                  363
         17.3 ตําแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล                                         374
         17.4 ค่าการกระจายของข้อมูล                                             378
         17.5 ค่ามาตรฐาน และการแจกแจงแบบปกติ                                    383
         17.6 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล                             388

ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ 1 (14 ฉบับ)                                403
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2541                                          408
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2542                                          417
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2542                                          426
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2543                                          435
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2543                                          444
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2544                                          453
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2544                                          462
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2545                                          471
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2545                                          481
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2546                                          492
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2546                                          502
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2547                                          512
         ฉบับที่     |     ตุลาคม 2547                                          523
         ฉบับที่     |     มีนาคม 2548                                          532
สถิติคะแนนสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ 1                                   541
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (17 ปี)
(เฉพาะข้อที่เป็นคณิตศาสตร์)
         ชุดที่ 1 | รวมปี 2532 ถึงปี 2541                                       542
         ชุดที่ 2 | รวมตุลาคม 2541 ถึงมีนาคม 2548                               573

โจทย์ทดสอบ : เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย
         ชุดที่ 1 (มี 2 ส่วน, 70 ข้อ)                                           588
         ชุดที่ 2 (35 ข้อ)                                                      606

ภาคผนวก : Math E-Book ฉบับเข้มข้น                                               616
ดรรชนี                                                                          657


                              Math E-Book Release 2.2   (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                       11                                          เซต




                                        { s,e,t }

                                                                      º··Õè   1 e«µ
                                    “กลุ่มของสิ่งต่างๆ”    ในวิชาคณิตศาสตร์จะ
                            เรียกว่า เซต (Set) เช่น เซตของชื่อวันทั้งเจ็ด, เซต
                            ของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสองแล้วมีค่าน้อยกว่า 7, เซต
                            ของจํานวนเฉพาะบวกที่หาร 360 ลงตัว, ฯลฯ สิ่งที่อยู่
                            ภายในแต่ละเซต เรียกว่า สมาชิก (Element หรือ
                            Member)
          นิยมตั้งชื่อเซตด้วยอักษรตัวใหญ่ เช่น A, B, C และเขียนสัญลักษณ์แทนเซตด้วยวงเล็บ
ปีกกา ดังนี้ { } เช่น ให้ A แทนเซตของชื่อวันทั้งเจ็ด, B แทนเซตของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสอง
แล้วมีค่าน้อยกว่า 7, C แทนเซตของจํานวนเฉพาะบวกที่หาร 360 ลงตัว, D แทนเซตของจํานวน
เฉพาะบวกที่น้อยกว่า 7, และ E แทนเซตของจํานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 3 ถึง 33 จะได้ว่า
          A = { อาทิตย์, จันทร์, อังคาร, พุธ, พฤหัสบดี, ศุกร์, เสาร์ }
การเขียนแจกแจงสมาชิกของเซต จะคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัวด้วยจุลภาค (comma)
          B = {−2, −1, 0, 1, 2} หรือ B = {0, 1, −1, 2, −2}
การเขียนแจกแจงสมาชิกของเซต สามารถสลับที่สมาชิกในเซตได้โดยความหมายไม่เปลี่ยน
          C = {2, 3, 5}        D = {2, 3, 5}     จะกล่าวได้ว่า C = D
สมาชิกตัวที่ซ้ํากันนับเป็นตัวเดียวกัน และไม่ต้องเขียนซ้ํา ( 360 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 )
         E = {4, 5, 6, 7, ..., 32}
หากมีสมาชิกเป็นจํานวนมาก อาจใช้เครื่องหมายจุด “...” เพื่อละสมาชิกบางตัวไว้ในฐานที่เข้าใจ

                       Math E-Book Release 2.2      (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                               12                                                               เซต

          เซตที่หาจํานวนสมาชิกได้ เรียกว่า เซตจํากัด (Finite                           S ¨u´·Õè¼i´º‹oÂ! S
Set) และสัญลักษณ์ที่ใช้แทน “จํานวนสมาชิกของ A” คือ n (A)                         e«µµ‹o仹ÕÁ¨Ò¹Ç¹ÊÁÒªi¡e·‹Òã´
                                                                                           é Õí
เช่นในตัวอย่างข้างต้น n (A) = 7 , n (B) = 5 , n (C) = 3 ,                        {∅, 0, 1, {2, 3},(4, 5)}
n (E) = 29 นอกจากนั้น เซตจํากัดที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย จะเรียกว่า                  ¤Òµoº¤×o 5 µaÇ ä´Œæ¡‹ e«µÇ‹Ò§, eÅ¢ 0,
                                                                                  í
เซตว่าง (Null Set หรือ Empty Set) ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ ∅                        eÅ¢ 1, e«µ {2,3}, æÅa¤Ù‹oa¹´aº (4,5)
                                                                                 ¹a蹤×oe«µ¹aºe»š¹ 1 ¤Ù‹oa¹´aº¹aºe»š¹ 1
นั่นคือ n (∅) = 0
                                                                                 {(1, 2),(2, 1 {1, 2}, {2, 1}}
                                                                                              ),
          เซตที่จํานวนสมาชิกมากจนหาค่าไม่ได้ เรียกว่า เซต                        ¤íÒµoº¤×o 3 µaÇ ä´Œæ¡‹ ¤Ù‹oa¹´aº (1,2), ¤Ù‹
อนันต์ (Infinite Set) เช่น F แทนเซตของจํานวนเต็มที่น้อยกว่า 2,                   oa¹´aº (2,1), æÅae«µ {1,2}
G แทนเซตของจํานวนใดๆ ที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1                                      (¤Ù‹oa¹´aº 1-2 ¡aº 2-1 ¶×oÇ‹Òµ‹Ò§¡a¹ 测e«µ
                                                                                 1-2 ¡aºe«µ 2-1 ¶×oÇ‹ÒeËÁ×o¹¡a¹æÅaäÁ‹
          F = {1, 0, −1, −2, −3, ...} , n (F) หาค่าไม่ได้
                                                                                 µŒo§¹aº«éÒ¹a¤Ãaº)
                                                                                            í
           G เขียนแบบแจกแจงสมาชิกไม่ได้ แต่เขียนแบบบอก
เงื่อนไขได้ในรูป { สมาชิก | เงื่อนไข } คือ                                       e«µ¢o§ª×o¤¹ã¹»Ãae·Èä·Âã¹¢³a¹Õé
                                                                                         è
G = { x | 0 < x < 1}                                                             e»š¹e«µ¨Ò¡a´ËÃ×oo¹a¹µ ... ¤íÒµoº¤×o
                                                                                           í
                                                                                 e«µ¨Ò¡a´¤Ãaº ¶Ö§æÁŒ¨íҹǹÊÁÒªi¡¨a´ÙÇ‹Ò
                                                                                      í
อ่านว่า เซตของ x (สมาชิก) โดยที่        0 < x < 1      (เงื่อนไข)
                                                                                 ÁÒ¡¢¹Ò´ä˹ 测¡çäÁ‹ÁÒ¡¶Ö§o¹a¹µ¹a..

       สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” คือ ∈ เช่น 2 ∈ B , 3 ∈ C , 0.5 ∈ G
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” คือ ∉ เช่น 2.5 ∉ B , 4 ∉ C , 0 ∉ G

         ขอบเขตของสิ่งที่เราสนใจ เรียกว่า เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) หรือเซต                                U
นั่นคือ สมาชิกของเซตทุกเซตจะต้องอยู่ใน U ทั้งหมด และจะไม่สนใจสิ่งที่อยู่ภายนอก U
เช่น ถ้า U = {−2, −1, 0, 0.5, 7} และ H = { x | x > 0 } จะได้ว่า H = {0, 0.5, 7}
แต่ถ้าเปลี่ยนเป็น U = เซตของจํานวนเต็ม จะได้ว่า H = {0, 1, 2, 3, ...}
         การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขควรระบุเอกภพสัมพัทธ์กํากับด้วย แต่ถ้าไม่ได้ระบุไว้
โดยทั่วไปให้ถือว่า U เป็นเซตของจํานวนจริงใดๆ ( R )
เช่น H = { x | x > 0 } มีความหมายเดียวกับ H = { x ∈ R | x > 0 }

                                1.1 สับเซต และเพาเวอร์เซต
       สับเซต (Subset) คือเซตย่อย จะกล่าวว่า B เป็นสับเซตของ A ได้ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัว
ของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A ด้วย (และ B จะไม่เป็นสับเซตของ A หากว่ามีสมาชิกบางตัวของ
เซต B ไม่เป็นสมาชิกของเซต A) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “B เป็นสับเซตของ A” คือ B ⊂ A
และ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “B ไม่เป็นสับเซตของ A” คือ B ⊄ A
        ตัวอย่างเช่น A      = {m, p, r, w}
จะมีเซต B ที่ทาให้ B ⊂
              ํ             A   ได้ถึง 16 แบบ ดังนี้
∅
{m}         {p}          {r}         {w}
                                                                                         S ¢ŒoÊa§e¡µ! S
{m, p}      {m, r}       {m, w}      {p, r}      {p, w}      {r, w}            »Ãao¤ {a, b} ⊂ A
{m, p, r}      {m, p, w} {m, r, w}   {p, r, w}                                 ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇ‹Ò a ∈ A æÅa b ∈ A
{m, p, r, w}


                                Math E-Book Release 2.2             (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                                    13                                                              เซต

ข้อควรทราบ
1. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต           ∅ ⊂ A
2. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวเอง A ⊂ A
3. เซตที่มีสมาชิก n ตัว จะมีสับเซตทั้งสิ้น 2 n แบบ ... (เช่นในตัวอย่างข้างต้น 2 4 = 16 )
4. บางตําราใช้สัญลักษณ์ ⊂ แทนการเป็น สับเซตแท้ (Proper Subset) ซึ่งจะมีเพียง 2 n − 1 แบบ
เท่านั้น (คือนับเฉพาะเซตที่เล็กกว่าเท่านั้น ไม่นับตัวมันเอง) และใช้สัญลักษณ์ ⊆ แทนการเป็นสับ
เซตใดๆ (นั่นคือ A ⊆ A แต่ A ⊄ A ) ... แต่ในเล่มนี้จะรวบใช้เครื่องหมาย ⊂ แทนการเป็นสับ
เซตใดๆ ทุกแบบ รวมถึงตัวมันเองด้วย

           เพาเวอร์เซต (Power Set) คือเซตที่บรรจุด้วยสับเซตทั้งหมดที่เป็นไปได้
เพาเวอร์เซตของ A จะใช้สัญลักษณ์ว่า P(A)
                                                                                 S ¢ŒoÊa§e¡µ! S
ดังนั้น ถ้า A มีสมาชิก n ตัวแล้ว P(A) ย่อมมีสมาชิก 2 n ตัว
เช่นในตัวอย่าง A = {m, p, r, w}                                            »Ãao¤ {a, b} ∈ P(A)
จะได้ P (A) = { ∅, {m}, {p}, {r}, {w}, {m, p}, {m, r}, ..., {m, p, r, w} } ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇ‹Ò {a, b} ⊂ A
                                                                                             ¹a蹤×o a ∈ A æÅa b ∈ A

เพิ่มเติม จากเนื้อหาเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนและจัดหมู่
(กฎการนับนี้จะได้ศึกษาอย่างละเอียดในบทที่ 16 หัวข้อ 16.3)
                                                         ⎛n⎞         n!
มีของ n ชิ้น หยิบออกมาทีละ r ชิ้น ได้ไม่ซ้ํากันทังสิ้น
                                                 ้       ⎜r ⎟ =                 ชุด
                                                         ⎝ ⎠    (n −r)! ⋅ r !
โดยที่ x ! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ ... ⋅ x
เช่นถ้าเซตหนึ่งมีสมาชิก 7 ตัว จะมีสับเซตที่หยิบสมาชิกมาเพียง 3 ตัว
       7
อยู่ ⎛ 3 ⎞ = 7 ! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ 7 = 35 แบบ
     ⎜ ⎟
    ⎝ ⎠      4!⋅ 3!      1⋅2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 1⋅2 ⋅ 3



•  ตัวอยาง ใหเขียนสับเซตทุกๆ แบบ และเขียนเพาเวอรเซตของ
                                                                                              S ¨u´·Õè¼i´º‹oÂ! S
           ก. A = {a}                                                                 ¹Œo§æ Áa¡¨aÊaºÊ¹ÃaËÇ‹Ò§ ∅ ¡aº {∅}
                   1
ตอบ มีสับเซต 2 = 2 แบบ ไดแก ∅ และ {a}                                               Ç‹Òµ‹Ò§¡a¹o‹ҧäà ...
ดังนั้น P (A) = {∅, {a}}                                                              ∅ (e«µÇ‹Ò§) e»ÃÕºeÊÁ×o¹¡Å‹o§e»Å‹Òæ äÁ‹
           ข. B = {a, b}                                                              ÁÕoaäÃoÂÙ‹ã¹¹aé¹eÅ (¨Ò¹Ç¹ÊÁÒªi¡e·‹Ò¡aº 0)
                                                                                                            í
                   2
ตอบ มีสับเซต 2 = 4 แบบ ไดแก ∅ , {a} , {b} และ {a, b}                                ¨ae¢Õ¹Êa­Åa¡É³e»š¹ { } ¡çä´Œ
ดังนั้น P (B) = {∅, {a}, {b}, {a, b}}                                                 测¶ŒÒ¶ÒÁÇ‹Ò¡Å‹o§ãºË¹Ö觫Öè§ÁÕ¡Å‹o§e»Å‹ÒoÕ¡
           ค. C = {2, 3, 5}                                                           ãºoÂÙ‹¢ŒÒ§ã¹ ¹aºe»š¹¡Å‹o§Ç‹Ò§e»Å‹ÒËÃ×oäÁ‹
                   3
ตอบ มีสับเซต 2 = 8 แบบ ไดแก ∅ , {2} , {3} , {5} , {2, 3} ,                          ¤Òµoº¡ç¤×oäÁ‹e»Å‹ÒæÅŒÇ㪋äËÁ¤Ãaº
                                                                                       í

{2, 5} , {3, 5} และ {2, 3, 5}                                                         ¡çeËÁ×o¹¡a¹¡aº “e«µ¢o§e«µÇ‹Ò§” {∅}
ดังนั้น P (C) = {∅, {2}, {3}, {5}, {2, 3}, {2, 5}, {3, 5}, {2, 3, 5}}                 «Öè§äÁ‹ä´Œe»š¹e«µÇ‹Ò§oÕ¡µ‹oä»æÅŒÇ ...
                                                                                      ËÃ×o¶ŒÒµoºÊaé¹æ ¡ç¤×o n(∅) = 0
           ง. D = ∅
                   0
                                                                                       测 n({∅}) = 1
ตอบ มีสับเซต 2 = 1 แบบ ไดแก ∅ ดังนั้น P (D) = {∅}



                          Math E-Book Release 2.2                (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                           14                                                    เซต

• ตัวอยาง กําหนด E = {∅, {0}, {∅}} ใหหา P(E)
ตอบ {∅, {∅}, {{0}}, {{∅}}, {∅, {0}}, {∅, {∅}}, {{0}, {∅}}, {∅, {0}, {∅}}}

•  ตัวอยาง กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง A = {1, 3, 5, 7} และ      B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}   ใหหา
           ก. จํานวนแบบของเซต X ซึ่ง X ∈ P (A)
ตอบ คําวา X ∈ P (A) ก็คือ X ⊂ A
                                     4
ดังนั้น มีเซต X ทีเ่ ปนไปไดทั้งหมด 2 = 16 แบบ
หากศึกษาเรื่องวิธีจัดหมูแลว จะทราบวิธีคํานวณอีกแบบ ดังนี้
⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞
⎜ 0 ⎟ + ⎜ 1 ⎟ + ⎜ 2 ⎟ + ⎜ 3 ⎟ + ⎜ 4 ⎟ = 1 + 4 + 6 + 4 + 1 = 16     แบบ
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

        ข. จํานวนแบบของเซต X ซึ่ง X ∈ P (A) และ n (X) < 2
ตอบ คําวา X ∈ P (A) ก็คือ X ⊂ A ซึ่งมี 16 แบบ (ดังขอ ก.) แตขอนี้ตองการ n (X) < 2 เทานั้น
                                                          4       4       4
หากศึกษาเรื่องวิธีจัดหมูแลวจึงจะทราบวิธีคํานวณ ดังนี้ ⎛ 0 ⎞ + ⎛ 1 ⎞ + ⎛ 2 ⎞ = 1 + 4 + 6 = 11 แบบ
                                                        ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
                                                        ⎝ ⎠      ⎝ ⎠     ⎝ ⎠
(แตถายังไมไดศกษา ก็คงตองเขียนนับเอาโดยตรง)
                 ึ
         ค. จํานวนแบบของเซต Y ซึ่ง A ⊂ Y และ Y ⊂ B
ตอบ ตองการ A ⊂ Y ก็แปลวา สมาชิก 1, 3, 5, 7 ตองอยูใน Y ครบทุกตัว ... และ Y ⊂ B แปลวา
2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง 1, 3, 5, 7 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข
Y ⊂ B แลว) ... การที่ 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได เปรียบเสมือนการหาสับเซต
                                           3
ทุกแบบของ {2, 4, 6} นันเอง จึงตอบวา 2 = 8 แบบ
                         ่

                                          แบบฝึกหัด 1.1
(1) กําหนด A, B เป็นเซตที่มีลักษณะ        A ⊂ B   และ   A ≠ B     ถ้า   x ∈ A    และ   y ∈B       แล้ว
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
        (1.1) {x} ⊂ B                                    (1.3)    {A} ⊂ {B}
        (1.2) {y} ⊄ A                                    (1.4)    {A} ≠ {B}

(2) ให้   A = {{∅}, a, b, {a}, {a, b}}   ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
          (2.1) {∅} ∈ A                                   (2.3) {{a}, b} ⊂ A
          (2.2) {∅} ⊂ A                                   (2.4) {a, b} ∈ A และ         {a, b} ⊄ A

(3) ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่
        (3.1) ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C
        (3.2) ถ้า A ∈ B และ B ∈ C แล้ว A ∈ C
        (3.3) ถ้า A ⊄ B และ B ⊄ C แล้ว A ⊄ C



                              Math E-Book Release 2.2         (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                                15                                                          เซต

(4) ให้ A เป็นเซตใดๆ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
         (4.1) { x | x = A } = {A}                             (4.3)   { x | {x} ⊂ A } = {A}
         (4.2) { x | x ∈ A } = A                               (4.4)    { x | {x} ⊂ ∅ } = ∅

(5) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
        (5.1) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สับเซตของ A มีทั้งหมด 32 แบบ
        (5.2) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สับเซตแท้ของ A มีทั้งหมด 32 แบบ
        (5.3) ถ้า n (A) = 5 แล้ว เพาเวอร์เซตของ A มีทั้งหมด 32 แบบ
        (5.4) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สมาชิกของเพาเวอร์เซตของ A มีทั้งหมด 32 ตัว
(6) ถ้า A มีสับเซตแท้ 511 เซต แสดงว่า A มีสมาชิกกี่ตัว
และในจํานวน 511 เซตนั้น สับเซตที่มีสมาชิกเพียง 5 ตัวมีกี่เซต
(7) ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่
        (7.1) ∅ ∈ ∅                                            (7.5)   ∅ ∈ P (∅)
        (7.2) ∅ ⊂ ∅                                            (7.6)    ∅ ⊂ P (∅)
        (7.3) ∅ ∈ {∅}                                          (7.7)   {∅} ∈ P (∅)
        (7.4) ∅ ⊂ {∅}                                          (7.8)   {∅} ⊂ P (∅)

(8) ถ้า   A = {∅, a, {b}, {a, b}}  แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
          (8.1)   ∅ ∈ P (A)                             (8.6) a ∈ P (A)
          (8.2)   {∅} ∈ P (A)                           (8.7) {a} ∈ P (A)
          (8.3)   ∅ ⊂ P (A)                             (8.8) {b} ∈ P (A)
          (8.4)   {∅} ⊂ P (A)                           (8.9) {{b}} ∈ P (A)
          (8.5)   {∅, a, {b}} ∈ P (A)                   (8.10) {∅, a, {b}} ⊂                P (A)

(9) ถ้า   A = {∅, 1, 2, 3, {1}, {1, 2}, {1, 2, 3}}   แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
          (9.1) {∅, {1}, {1, 2}} ∈ P (A)                      (9.3) {{1}, {2}, {3}} ∈ P (A)
          (9.2) {∅, {1}, {1, 2}} ⊂ P (A)                      (9.4) {{1}, {2}, {3}} ⊂ P (A)
(10) [Ent’39] ให้ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} แล้วจงหา n (X) และ               n (Y)
เมื่อกําหนด X = { A ∈ P (S) | 1 ∈ A และ 7 ∉ A }
และ Y = { A ∈ X | ผลบวกของสมาชิกภายใน A ไม่เกิน 6 }

          1.2 แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และการดําเนินการของเซต
          การแสดงเซตด้วย แผนภาพของเวนน์และออยเลอร์                                       S ¨u´·Õè¼i´º‹oÂ! S
(Venn-Euler Diagram) ช่วยให้เห็นลักษณะของเซตชัดเจนขึ้น                         ¤ÇèaÇÒ´æ¼¹ÀÒ¾e«µ A æÅa B ã¹æºº
การเขียนแผนภาพดังกล่าวนิยมให้เอกภพสัมพัทธ์ U เป็นกรอบ                          ·aèÇä» ¤×oãËŒÁÕÊÁÒªi¡Ã‹ÇÁ¡a¹¡‹o¹
สี่เหลี่ยม ซึ่งภายในบรรจุรูปปิด (วงกลม วงรี ฯลฯ) ที่ใช้แทน                     (eËÁ×o¹¡aºÃÙ»¡ÅÒ§) æŌǨҡ¹aé¹eÁ×èo·ÃÒº
ขอบเขตของเซต A, B, C ต่างๆ โดยจะเขียนให้มีบริเวณที่เซต                         Ç‹Òªié¹Ê‹Ç¹ã´äÁ‹ÁÕÊÁÒªi¡ ¤‹o¢մËÃ×oæÃe§Ò
สองเซตซ้อนทับกัน หากว่าสองเซตนั้นมีสมาชิกร่วมกัน ดังภาพ                        ·ié§ä».. ·íÒ溺¹Õéoo¡Òʼi´¨a¹ŒoÂŧ¤Ãaº..


                         Math E-Book Release 2.2             (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                               16                                                    เซต

      U                                    U                                      U
                                                                                                     A

              A                 B                  A             B                                       B
       A และ B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน              A และ B มีสมาชิกร่วมกัน                 A เป็นสับเซตของ B

                  สมมติว่า   A = {0, 1, 2, 3, 4}        U
                  B = {1, 3, 5, 7, 9}                        04     1   9 B
                                                        A
                  C = {2, 3, 5, 7, 11}                           2 3 57
                  จะเขียนแผนภาพได้ดังนี้                           11
                                                                       C

         การดําเนินการเกี่ยวกับเซต เป็นการทําให้เกิดเซตใหม่ขึ้นจากเซตที่มีอยู่เดิม
1. ยูเนียน (Union : ∪ ) ... เซต A ∪ B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ใน A หรือ B ทั้งหมด
          U                                U                                  U
                                                                                             A

                  A              B                 A         B                                   B
                                                                           ยูเนียนของ A กับ B ได้เป็น B
2. อินเตอร์เซกชัน (Intersection : ∩ ) ... เซต A ∩ B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ในทั้ง A และ B
บางตําราใช้สัญลักษณ์เป็น AB (คือ ละเครื่องหมายอินเตอร์เซคชันไว้)
          U                                U                                  U
                                                                                             A

                  A              B                 A         B                                   B
   อินเตอร์เซกชันของ A กับ B เป็นเซตว่าง                                อินเตอร์เซกชันของ A กับ B เป็น A

                              3. คอมพลีเมนต์ (Complement : ' )                         U
                              เซต A' คือเซตของสมาชิกที่ไม่ได้อยู่ใน A
                              บางตําราใช้สัญลักษณ์เป็น A c หรือ A                                A
4. ผลต่าง (Difference หรือ Relative Complement : − )
B − A คือเซตของสิ่งที่อยู่ใน B แต่ไม่อยู่ใน A ... หรือ B − A = B ∩ A'
จะเรียก B − A ว่า “คอมพลีเมนต์ของ B เมื่อเทียบกับ A” ก็ได้
          U                                U                                  U
                                                                                             A

                  A              B                 A         B                                   B
ข้อสังเกต โดยทั่วไป     n (B − A) ≠ n (B) − n (A)      แต่   n (B − A) = n (B) − n (A ∩ B)


                               Math E-Book Release 2.2               (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                            17                                                    เซต

สมบัติที่เกี่ยวกับการดําเนินการของเซต
• การแจกแจง                                                • คอมพลีเมนต์ และเพาเวอร์เซต
 A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C)                           (A ∪ B) ' = A '∩ B '
 A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)                            (A ∩ B) ' = A '∪ B '
 A − (B ∪ C) = (A − B) ∩ (A − C)                            P (A) ∩ P (B) = P (A ∩ B)
 A − (B ∩ C) = (A − B) ∪ (A − C)                            P (A) ∪ P (B) ⊂ P (A ∪ B)


หมายเหตุ ในภาษาอังกฤษบางครั้งอ่าน         A ∪B   ว่า A cup B และอ่าน             A ∩B   ว่า A cap B

•   ตัวอยาง กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง A = {1, 3, 5, 7} และ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} ใหหา
(ในขอ ก. และ ข. จําเปนตองใชความเขาใจเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและจัดหมู ดวย)
           ก. จํานวนแบบของเซต Y ซึ่ง A ∩ Y ≠ ∅ และ Y ⊂ B
ตอบ วิธีคดตางจากตัวอยางที่แลว ( A ⊂ Y ⊂ B ) เล็กนอย ... ขอนี้ตองการ A ∩ Y ≠ ∅ แสดงวา
             ิ
สมาชิก 1, 3, 5, 7 ตองมีอยูใน Y (มีกีตัวก็ได แตไมมีเลยไมไดเพราะจะทําให A ∩ Y = ∅ )
                                            ่
การอยูกี่ตัวก็ได แตไมอยูเลยไมได ก็คือการหาสับเซตทุกแบบของ {1, 3, 5, 7} ทีไมใชเซตวาง นั่นเอง ใน
                                                                                ่
                 4
ขั้นตอนนี้จึงได 2 − 1 = 15 แบบ ...
           อีกเงื่อนไขคือ Y ⊂ B แปลวา 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง
                                                                                                      3
บางตัวของ 1, 3, 5, 7 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Y ⊂ B แลว) ... ขันนี้เหมือนตัวอยางที่แลว จึงได 2 = 8
                                                                  ้
แบบ ... คําตอบขอนี้ตองนําสองเงื่อนไขมาประกอบกัน สรุปวาทั้งสองขั้นตอนทําใหไดผลลัพธตางๆ กัน
ทั้งสิ้น 15 × 8 = 120 แบบ
            ข. จํานวนแบบของเซต Z ซึ่ง {1, 2, 3} ∩ Z ≠ ∅ และ Z ⊂ A
ตอบ วิธีคดเหมือนขอ ก. ... นันคือ ตองการ {1, 2, 3} ∩ Z ≠ ∅ แสดงวา สมาชิก 1, 3 ตองมีอยูใน Z
              ิ                    ่
(มีกี่ตัวก็ได แตไมมีเลยไมไดเพราะจะทําให A ∩ Z = ∅ ) ที่สาคัญคือ สมาชิก 2 หามอยูใน Z เพราะจะ
                                                              ํ
                                                       2
ขัดแยงกับอีกเงื่อนไข ( Z ⊂ A ) ... ในขั้นตอนนี้จึงได 2 − 1 = 3 แบบ ...
            อีกเงื่อนไขคือ Z ⊂ A แปลวา 5, 7 จะอยูใน Z กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง
                                                                                               2
บางตัวของ 1, 3 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Z ⊂ A แลว) ... ขันนี้เหมือนตัวอยางที่แลว จึงได 2 = 4 แบบ
                                                           ้
... คําตอบขอนีตองนําสองเงื่อนไขมาประกอบกัน สรุปวาทั้งสองขันตอนทําใหไดผลลัพธตางๆ กันทั้งสิ้น
                   ้                                            ้
 3 × 4 = 12 แบบ


          ค. จํานวนแบบของเซต Z ซึ่ง {1, 2, 3} ∩ Z = ∅ และ Z ⊂ A
ตอบ ขอนี้งายทีสุด เนื่องจาก ตองการ {1, 2, 3} ∩ Z = ∅ แสดงวา สมาชิก 1, 2, 3 หามมีอยูใน Z
                 ่
เลยแมแตตัวเดียว เมื่อประกอบกับอีกเงื่อนไขคือ Z ⊂ A จึงไดวา สมาชิก 5, 7 เทานันที่จะอยูใน Z (กี่
                                                                                    ้
ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได เพราะแม Z = ∅ ก็ยังทําใหเงือนไข Z ⊂ A เปนจริงอยูดี) ... จึงไดคาตอบ
                                                          ่                                     ํ
      2
เปน 2 = 4 แบบ




                        Math E-Book Release 2.2          (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                                18                                                 เซต

• ตัวอยาง ถา C = {∅, {∅}, 0, {{∅}, 0}, {∅, {0}}, {{∅, {0}}}} ใหหาคาของ
         ก. n (P (C))
                                                    6
ตอบ เนื่องจาก n (C) = 6 ดังนั้น n (P (C)) = 2 = 64
           ข.   n (P (C) − C)
ตอบ   n (P (C) − C)     ไมไดคิดจาก 64 − 6 = 58 ... เพราะโดยทั่วไปสมาชิกของ C นันไมไดอยูใน
                                                                                     ้
P (C) ทั้งหมด การจะคิด n (P (C) − C) ตองดูวา สมาชิกของ C นั้นอยูใน P (C) กี่ตัว
                                                                      
           เริ่มพิจารณาเรียงไปทีละตัว เริ่มจาก ∅ “อยู” (เพราะ ∅ เปนสับเซตของทุกเซต นอกจากนั้น
การเขียนเพาเวอรเซตใหเปนระเบียบยังมักจะเริ่มดวย ∅ ) ... ตอมา {∅} ก็ “อยู” อยูในขั้นตอนที่หยิบ
สมาชิกจาก C ไปหนึ่งตัว (เซตวางที่ปรากฏในนี้เปนสมาชิกตัวแรกสุดใน C ) หรือกลาววา “อยู” เพราะ
                                                                                            
∅ ∈ C ... ตอมา 0 อันนี้ “ไมอยู” เพราะไมใชเซต สิ่งที่อยูในเพาเวอรเซตใดๆ ได ตองเปนเซต!... ตอมา
                                                          
{{∅}, 0} อันนี้ “อยู” มาจากขั้นตอนที่หยิบสมาชิกจาก C ไปสองตัว (ในที่นี้เปนตัวสองกับตัวสาม) หรือ
กลาววา “อยู” เพราะ {∅} ∈ C และ 0 ∈ C ... ตอมา {∅, {0}} อันนี้ “ไมอยู” เพราะ {0} ∉ C ...
                                                                              
และสุดทาย {{∅, {0}}} อันนี้ก็ “อยู” เพราะวา {∅, {0}} ∈ C มาจากขั้นตอนที่หยิบสมาชิกจาก C ไป
หนึ่งตัว (เปนตัวที่หา) นั่นเอง
           สรุปแลว สมาชิกของ C นั้นอยูใน P (C) 4 ตัว ดังนั้น n (P (C) − C) = 64 − 4 = 60
           ค.   n (C − P (C))
ตอบ n (C − P (C)) ก็ไมไดคดจาก 6 − 64 ... แตตองดูวา สมาชิกของ P (C) นันอยูใน C กี่ตัว ซึ่งมี
                               ิ                                                 ้ 
วิธีคิดเชนเดียวกับขอ ข. คือได 4 ตัว หรือกลาววา n (C ∩ P (C)) = 4 ... ดังนั้น จึงทําให
n (C − P (C)) = 6 − 4 = 2

           หากดูแผนภาพประกอบจะเขาใจยิ่งขึ้น
เราทราบวา (ขอ ก.) n (C) = 6 และ n (P (C)) = 64                            2          4        60
จากนั้นนับในขอ ข. วา n (C ∩ P (C)) = 4
จึงได (ข.) n (C − P (C)) = 2 และ (ค.) n (P (C) − C) = 60                       C             P(C)
        ง. n [(P (C) − C) ∪ (C − P (C))]
ตอบ จากขอ ข. กับ ค. (หรือจากแผนภาพ) ไดคําตอบเปน           60 + 2 = 62

(นํามาบวกกันไดทันที เพราะสองสวนนีไมไดซอนทับกัน)
                                     ้

                                           แบบฝึกหัด 1.2
(11) กําหนดให้      A ∪ B = {0, 1, 2, 3, 4, 5}      A ∩ B = {1, 3, 5}       B ∩ C = {2, 3, 5}
A ∪ C = {0, 1, 2, 3, 5}         A ∩ C = {0, 3, 5}  แล้ว ข้อใดผิด
      ก.   A ∩ B ' = {0}          ข. B ∩ C ' = {1}       ค. A ∩ C ' = {1}              ง.   B ∩ A ' = {2, 4}

(12) ให้เขียนเซต      C'∪ B'    แบบแจกแจงสมาชิก เมื่อกําหนดให้
U = { x ∈ I | 1 < x < 10 }        เมื่อ I = เซตของจํานวนเต็ม
                                Math E-Book Release 2.2        (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                            19                                                  เซต

B = {x | x     หาร 3 ลงตัว } และ       C = {x | x < 5}

(13) [Ent’38] ถ้า A = {0, 1} และ B = {0, {1}, {0, 1}} แล้ว
        (13.1) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด A ∈ P (B)
        (13.2) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด {1} ∈ P (A) ∩ P (B)
        (13.3) ค่าของ n (P (A ∪ B)) − n (P (A ∩ B)) เป็นเท่าใด
(14) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
        (14.1) ∅ ' = U                                     (14.7) A ∩ A ' = ∅
        (14.2) U ' = ∅                                     (14.8) A ∪ A ' = U
        (14.3) A ⊂ (A ∪ B)                                 (14.9) A − U = ∅ และ U − A = A '
        (14.4) B ⊂ (A ∪ B)                                 (14.10) A − ∅ = A และ ∅ − A = ∅
        (14.5) (A ∩ B) ⊂ A                                 (14.11) A − A = ∅
        (14.6) (A ∩ B) ⊂ B                                 (14.12) A − B = A ∩ B '
(15) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
        (15.1) ถ้า A ⊂ B แล้ว P (A) ⊂ P (B)
        (15.2) ถ้า A ∪ B = ∅ แล้ว A = ∅ และ B = ∅
        (15.3) ถ้า A ∩ B = ∅ แล้ว A = ∅ และ B = ∅
        (15.4) ถ้า A − B = ∅ และ B − C = B แล้ว A ' ∪ C ' = U
        (15.5) ถ้า A − B = ∅ และ B − C ≠ ∅ แล้ว A − C ≠ ∅
(16) สําหรับเซต A, B ใดๆ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
        (16.1) A ∩ B ≠ A ∪ B                       (16.5) ถ้า             x ∉ A   แล้ว   x ∉ A ∪B
        (16.2) A − B ≠ B − A                       (16.6) ถ้า             x ∈ A   แล้ว   x ∉ A '∩B'
        (16.3) A ∩ B = A − B '                     (16.7) ถ้า            x ∉ A    แล้ว   x ∈ A '∩B'
        (16.4) (A ∪ B) ' = B '− A                  (16.8) ถ้า             x ∈ A   แล้ว   x ∈ (A ' ∪ B ') '

(17) เขียนเซตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปที่สั้นที่สุด
         (17.1) A − (A ∩ B)                                (17.6) (A ∪ B) − B
         (17.2) (A − B) ∪ B                                (17.7) (A ∩ B) − B
         (17.3) (A − B) ∩ B                                (17.8) A − (A − B)
         (17.4) A ∩ (A − B)                                (17.9) (A − B) ∩ (B − A ')
         (17.5) A ∪ (A − B)
(18) ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่
        (18.1) ถ้า A ∪ C = B ∪ C แล้ว A = B
        (18.2) ถ้า A ∩ C = B ∩ C แล้ว A = B
        (18.3) ถ้า A − C = B − C แล้ว A = B
        (18.4) ถ้า A ' = B ' แล้ว A = B
(19) ให้บอกเงื่อนไขที่ทําให้   A −B = A      อย่างน้อย 3 กรณี


                         Math E-Book Release 2.2         (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                                20                                         เซต

(20) เขียนเซตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปที่สั้นที่สุด
         (20.1) [Ent’21] (A − B) ∪ (B − A) ∪ (A ∩ B)
         (20.2) [A ∩ (A '∪ B)] ∪ [B ∩ (B '∪ A ')]
         (20.3) ([(A − B) ∪ (B − A)] − A ') ∪ ( A '− [(A − B) ∪ (B − A)])
         (20.4) [(A ∪ B) '∩ (B − C ')] ∪ ([(D − E) ∩ (C '− E ')] ∪ (A − E ')) '
(21) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
         (21.1) (A ∩ B ∩ C) ∪ (A '∩ B ∩ C) ∪ (B '∪ C ') = U
         (21.2) (A ∩ B ∩ C ∩ D ') ∪ (A '∩ C) ∪ (B '∩ C) ∪ (C ∩ D) =                 C
         (21.3) P (A ∩ B) ⊂ P (A ∪ B)
         (21.4) P (A − B) ∩ P (B − A) = {∅}
         (21.5) ถ้า A ⊂ B แล้ว P (A ∪ B) = P (A) ∪ P (B)
(22) ให้ A = {0, 1, 2, 3} , B = {{0}, 1, 2, {3}} และ C = {0, {1}, {2}, 3}
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
        (22.1) P (A) ∩ P (B) ∩ P (C ') = {∅, {1}, {2}, {1, 2}}
        (22.2) P (A) ∩ P (B ') ∩ P (C) = {∅, {0}, {3}, {0, 3}}
        (22.3) P (A ') ∩ P (B) ∩ P (C) = {∅, {0}}
        (22.4) P (A) ∩ P (B ') ∩ P (C ') = {∅}
(23) ถ้า n (U) = 35 , n (A) = 22 , n (B) = 18
ให้หาว่า n (A '∩ B ') จะมีค่ามากที่สุดได้เท่าใด
(24) ถ้า   n (A) = a , n (B) = b , n (C) = c , n (D) = d
n (A ∩ B) = b , n (B ∩ C) = c , n (C ∩ D) = d           แล้ว
ให้หา   n (A ∩ B ∩ C ∩ D)      และ    n (A ∪ B ∪ C ∪ D)

(25) ให้   A, B, C    เป็นเซตซึ่ง    P (C) = {∅, {a}, {c}, C} , n (P (A)) = 8 , n (P (B)) = 16 ,
C ⊂ A,      C ⊂ B , {b, d, e} ⊂ A ∪ B         และ   b ∈ A ∩B '      ข้อใดผิด
           ก.   d ∈ (A ∪ B ') '                                ข.   e ∈ (C ∪ B ') '
           ค.   b ∉ (A ' ∪ B ') '                              ง.   {b, e} ⊂ (A '∪ B) '

(26) เมื่อ A = {∅, 1, {1}} และ A ∩ B '           = ∅   แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
         (26.1) n [ P (A) ∩ P (B) ] = 8                      (26.3) P (A − B) = {∅}
         (26.2) {1} ∈ P (A ∩ B)                              (26.4) P (B − A) = {∅}
(27) [Ent’36] ถ้า A = {∅, {∅}, 0, {0}, {1}, {0, 1}} แล้ว
จงหาจํานวนสมาชิกของเซต [ P (A) − A ] ∪ [ A − P (A) ]
(28) มีเซต A ที่ตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้กี่แบบ
        (28.1) A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {1, 3, 5}
        (28.2) A ∪ B = {1, 2, 3, ..., 15} และ B = {2, 4, 6, 8, 10}


                                    Math E-Book Release 2.2         (คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET                                   21                                                                   เซต

(29) กําหนดให้ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} และ             B = {1, 2, 3}      แล้ว
จะมีเซต X ตามเงื่อนไขต่อไปนี้ได้กี่แบบ
        (29.1) B ⊂ X ⊂ A
        (29.2) X ⊂ A และ B ∩ X ≠ ∅
(30) ถ้า        B ⊂ A    โดย    n (A) = 10 , n (B) = 4    ให้หาค่า       n (C)   ในแต่ละข้อต่อไปนี้
            (30.1)     C = {S |B ⊂ S ⊂ A}
            (30.2)      C = {S ⊂ A | S ∩B ≠ ∅}

(31) กําหนด A = {0, 2, 4, 6, 8} B = {0, 1, 2}     C = {1, 2, 3}                              D = {0, 2, 3}
ให้หาจํานวนเซต X ซึ่ง X ⊂ A และตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้
         (31.1) B ∩ C ' ⊂ X                     (31.3) B ∩ D ⊂                           X
         (31.2) B ∩ C ' ⊄ X                     (31.4) B ∩ D ⊄                           X

(32) ถ้า        U = {1, 2, 3, 4, ..., 8}
A = U − {1}                  B = {2, 4, 6}       และ C = {1, 7}
มีเซต   D       ที่เป็นไปได้กี่แบบที่ตรงตามเงื่อนไข (B '− C) ⊂ D         ⊂ A

(33) กําหนดให้          U = { x ∈ I | −2 < x < 6 }         เมื่อ   I =    เซตของจํานวนเต็ม
            2
A = {k | k ∈ U }             และ   B = {     k |k ∈ U}
จํานวนสมาชิกของเซต             C = {x | A ∩B ⊂ x     และ        x ⊂ A ∪B}          เป็นเท่าใด
(34) ให้ A = {a, b, c, d, f} และ B = {a, c, d, e}
เซต X ซึ่ง X ⊂ A ∪ B และ A ∩ B ∩ X ≠ ∅ มีกี่เซต
(35) ให้ A = {1, 3, 5, 7, 9} และ Sk = { B ⊂ A | n (B) =                    k}
ให้หาค่า n (S) เมื่อ S = S1 ∪ S2 ∪ S3 ∪ S4 ∪ S5
(36) กําหนดเซต A, B เป็นสับเซตของ U หาก n (U) =                       100 , n (A ') = 40 , n (B) = 55 ,
n (A ∩ B ') = 32 แล้วค่าของ n (A '∩ B ') เป็นเท่าใด



                                     1.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
• โจทย์ปัญหาที่เป็นเหตุการณ์ จะใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ ช่วยในการคํานวณส่วนประกอบต่างๆ
และมีสูตรในการหาจํานวนสมาชิกในเซตเพิ่มเติมดังนี้
สําหรับ 2 เซต                                                                       ·Ò¤ÇÒÁe¢ŒÒ㨴ŒÇÂÃÙ»ÀÒ¾¡ç´Õ¹a¤Ãaº..
                                                                                     í
n (A ∪ B) = n (A) + n (B) − n (A ∩ B)                                                             =         +           -
สําหรับ 3 เซต
n (A ∪ B ∪ C) = n (A) + n (B) + n (C) − n (A ∩ B)                                             =         +           +
                          − n (A ∩ C) − n (B ∩ C) + n (A ∩ B ∩ C)
                                                                                                      - -       -           +



                              Math E-Book Release 2.2           (คณิต มงคลพิทักษสุข)
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2
Release2.2

More Related Content

What's hot

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนeafbie
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
รายงาน Is
รายงาน Isรายงาน Is
รายงาน IsSarm Kanyarat
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)Pinmanas Kotcha
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์Nichakorn Sengsui
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนManit Wongmool
 
7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์tooktik40
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)Pete Pitch
 
อีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวPanda Jing
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 

What's hot (20)

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
รายงาน Is
รายงาน Isรายงาน Is
รายงาน Is
 
ปก
ปกปก
ปก
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
 
น้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าวน้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าว
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียน
 
7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
 
อีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อีบุ๊ค เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 

Viewers also liked

111020 analytic geometry
111020 analytic geometry111020 analytic geometry
111020 analytic geometrymartanna
 
Analytic Geometry Period 1
Analytic Geometry Period 1Analytic Geometry Period 1
Analytic Geometry Period 1ingroy
 
Analytic geom and distance formula
Analytic geom and distance formulaAnalytic geom and distance formula
Analytic geom and distance formulajustsayso
 
Lecture #2 analytic geometry
Lecture #2 analytic geometryLecture #2 analytic geometry
Lecture #2 analytic geometryDenmar Marasigan
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometrymstf mstf
 
Analytic Geometry
Analytic GeometryAnalytic Geometry
Analytic Geometryvmayyy
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์photmathawee
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
Analytic geometry lecture2
Analytic geometry lecture2Analytic geometry lecture2
Analytic geometry lecture2admercano101
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นอนันตชัย แปดเจริญ
 
Calculus With Analytic Geometry. Swokowski
Calculus With Analytic Geometry. Swokowski Calculus With Analytic Geometry. Swokowski
Calculus With Analytic Geometry. Swokowski Alonnszo López
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 

Viewers also liked (20)

111020 analytic geometry
111020 analytic geometry111020 analytic geometry
111020 analytic geometry
 
Analytic Geometry Period 1
Analytic Geometry Period 1Analytic Geometry Period 1
Analytic Geometry Period 1
 
Analytic geom and distance formula
Analytic geom and distance formulaAnalytic geom and distance formula
Analytic geom and distance formula
 
Lecture #2 analytic geometry
Lecture #2 analytic geometryLecture #2 analytic geometry
Lecture #2 analytic geometry
 
Graph theory
Graph theoryGraph theory
Graph theory
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Analytic Geometry
Analytic GeometryAnalytic Geometry
Analytic Geometry
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้นทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
Analytic geometry lecture2
Analytic geometry lecture2Analytic geometry lecture2
Analytic geometry lecture2
 
Basic Analytical Geometry
Basic Analytical GeometryBasic Analytical Geometry
Basic Analytical Geometry
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
Calculus With Analytic Geometry. Swokowski
Calculus With Analytic Geometry. Swokowski Calculus With Analytic Geometry. Swokowski
Calculus With Analytic Geometry. Swokowski
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 

Similar to Release2.2

นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson planskruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1maiginkai
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O netDhanee Chant
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAnanyaluk Chaiwut
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 

Similar to Release2.2 (20)

1
1 1
1
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson plans
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง pat1
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O net
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 

More from ทิวา อินต๊ะวงศ์ (8)

Vit onet all
Vit onet allVit onet all
Vit onet all
 
Math bkk
Math bkkMath bkk
Math bkk
 
Math bkk
Math bkkMath bkk
Math bkk
 
ข้อสอบฟิสิกส์ A net 49
ข้อสอบฟิสิกส์ A net 49ข้อสอบฟิสิกส์ A net 49
ข้อสอบฟิสิกส์ A net 49
 
เจาะลึกข้อสอบ Ent ฟิสิกส์
เจาะลึกข้อสอบ Ent ฟิสิกส์เจาะลึกข้อสอบ Ent ฟิสิกส์
เจาะลึกข้อสอบ Ent ฟิสิกส์
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Ans pat 1-2
Ans pat 1-2Ans pat 1-2
Ans pat 1-2
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 

Release2.2

  • 1. ใช้ดีถูกใจอย่าลืมอุดหนุนฉบับตีพมพ์เป็นเล่มด้วยนะครับ ิ * เนื้อหาตามหลักสูตรใหม่ครบทุกบทเรียน ม.4-5-6 * โจทย์แบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมกว่า 2,000 ข้อ * ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยครบทัง 14 ฉบับ (2541-2548) ้ * พร้อมเฉลยคําตอบ วิธคด และเรืองที่น่ารู้อกมากมาย.. ี ิ ่ ี เหมาะสําหรับเตรียมสอบประจําภาค ม.4-5-6 สอบโควตารับตรง และสอบเข้ามหาวิทยาลัย Release 2.2 เซต ตรรกศาสตร์/การให้เหตุผล ระบบจํานวนจริง/ทฤษฎีจํานวน เรขาคณิตวิเคราะห์ ความสัมพันธ์/ฟังก์ชัน กําหนดการเชิงเส้น ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เอกซ์โพเนนเชียล/ลอการิทมึ เมตริกซ์ เวกเตอร์ จํานวนเชิงซ้อน ทฤษฎีกราฟ ลําดับ/อนุกรม ลิมิต/ความต่อเนื่อง อนุพันธ์/การอินทิเกรต สถิติ ความน่าจะเป็น คณิต มงคลพิทักษ์สุข http://math.reads.it วศ.บ. ไฟฟ้า จุฬาฯ (เกียรตินิยม) kanuay@thai.com
  • 2. 2 Math E-Book Release 2.2 เรียบเรียงโดย คณิต มงคลพิทักษ์สุข เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ที่เว็บไซต์ http://math.reads.it และไทยแวร์ดอตคอม Release 2.0 13 ตุลาคม 2548 Release 2.1 28 ธันวาคม 2548 Release 2.2 14 มิถุนายน 2549 ตีพิมพ์ครั้งแรก (จาก Release 2.0) ธันวาคม 2548 ในชื่อ “คณิตศาสตร์ O-NET & A-NET” โดยสํานักพิมพ์ SCIENCE CENTER (ธรรมบัณฑิต) ราคาปก 159 บาท สงวนลิขสิทธิตามกฎหมาย ์ ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ เว้นแต่ได้รับอนุญาต ฉบับตีพิมพ์มีจําหน่ายแล้วที่ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ร้านซีเอ็ด ร้านขายแบบเรียนทั่วไป และ ถนนราชดําเนิน ตรอกสาเก ธรรมบัณฑิต โรงแรม รัตนโกสินทร์ 7-Eleven ร้านธรรมบัณฑิต วัดบูรณศิริ 3/1 ถนนอัษฎางค์ ริมคลองหลอด ถนนอัษฎางค์ คลองหลอด ไปกระทรวงมหาดไทย สนามหลวง เขตพระนคร กทม. 10200 แม่ธรณี แผงหนังสือ กระทรวง ธนาณัติสั่งจ่าย ป.ณ.หน้าพระลาน สนามหลวงเดิม ยุติธรรม ในนาม ผู้จัดการ สนามหลวง โทร. 0-2225-7160, 0-2221-5884
  • 3. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 3 ¤íÒªÕé樧 ภายในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย เนือหาคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น ้ พื้นฐาน พ.ศ.2544 ช่วงชันที่ 4 (หรือ ม.4 – ม.6) ครบทุกหัวข้อ (ซึ่งพยายามเขียนให้กระชับ ้ ที่สุด) และ โจทย์แบบฝึกหัด ที่เรียงลําดับจากง่ายไปยาก พร้อมทั้งเนื้อหาและเทคนิคการ คํานวณที่ควรทําความเข้าใจเพิ่มเติม เนื้อหาบางบทเรียนสามารถเริ่มทําความเข้าใจได้ทันที แต่ บางบทเรียนก็จําเป็นต้องใช้พนฐานความรู้จากบทเรียนอื่นประกอบด้วย ดังนั้นเพื่อป้องกันการ ื้ สับสนผู้อ่านควรศึกษาเรียงตามหัวข้อดังนี้ ตรรกศาสตร์ เซต ระบบจํานวนจริง ความน่าจะเป็น เมตริกซ์ ทฤษฎีกราฟ พื้นฐาน ฟังก์ชัน เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอร์ เพิ่มเติม กําหนดการเชิงเส้น จํานวนเชิงซ้อน สถิติ ลําดับ+อนุกรม ตรีโกณมิติ ลิมิต+ความต่อเนื่อง เอกซ์โพ.+ลอการิทึม อนุพันธ์+อินทิเกรต นอกจากนีในตอนท้ายยังมี ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ ครบทั้ง 14 ้ ฉบับ (ต.ค.41 ถึง มี.ค.48) และวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (2532 ถึง 2548, เฉพาะข้อที่เป็น คณิตศาสตร์) เพื่อใช้สําหรับฝึกฝนเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย (O-NET / A-NET) อีกด้วย ในท้ายบทเรียนและท้ายข้อสอบมี เฉลยคําตอบและวิธีคด กํากับไว้ทั้งหมดแล้ว โดย ิ เฉลยวิธีคิดในหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงการสรุปความคิดรวบยอดของข้อนันๆ ไม่ได้แสดงวิธีทํา ้ อย่างละเอียดทุกขั้นตอน ทั้งนี้เป็นความตั้งใจที่จะเน้นให้ผอ่านได้ลองคิดและเกิดความเข้าใจไป ู้ พร้อมๆ กัน เพื่อให้ทําข้อสอบได้รวดเร็วขึ้น เชื่อว่าหากผู้อานได้ให้เวลาทําความเข้าใจเนือหา ่ ้ อย่างถี่ถ้วน และฝึกทําโจทย์แบบฝึกหัดไปทีละขั้นๆ พร้อมกับตรวจเฉลยทุกข้อ ก็จะติดตาม บทเรียนจนจบได้อย่างลุล่วง สิ่งที่ต้องการแนะนําในที่นี้คอ หากมีข้อสงสัยให้รีบถามจากผู้รู้ ไม่ ื ควรปล่อยให้ตดค้างอยู่ :] ิ Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 4. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 4 แนวโจทย์ข้อสอบเข้าฯ ในปัจจุบัน โจทย์ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยปัจจุบันนี้เปลี่ยนแนวไป ทําให้หลายคนบ่นว่ายากขึ้นมาก ส่วนตัวผู้เขียนว่าเป็นข้อสอบที่ดีเพราะเริ่มเน้นความเข้าใจในเนื้อหา ในนิยามหลักๆ ของบทเรียน ลักษณะข้อสอบแบบนี้อันที่จริงไม่ถือว่ายาก แต่ค่อนไปในทางลึกซึ้งมากกว่า คนที่จะทําข้อสอบแบบนี้ ได้ถูก จะต้องรู้ลึกและแม่นจริง สูตรลัดกลายเป็นสิ่งไร้ค่า และการขยันเรียนที่โรงเรียนโดยตลอด พร้อมกับทําความเข้าใจในแบบฝึกหัดเพิ่มเติมด้วยตนเอง จะได้ผลดีมากกว่าการกวดวิชา เรียนคณิตศาสตร์ยังไงให้ได้ผลดี (1) ปัญหาแรกของคนที่บอกว่าตัวเองเรียนไม่รู้เรื่องเลย ทําโจทย์ไม่เป็นเลย อยู่ที่เรียนผิดวิธี ครับ ถ้าไม่เข้าใจบทเรียนให้ลองถามตัวเองว่าเกิดจากเหตุใดต่อไปนี้ (ก) ไม่ตั้งใจเรียน กรณีนี้ไม่มีวิธีแก้วิธีใดดีไปกว่าการบังคับตัวเองให้ตั้งใจเรียน :] (ข) ถ้าตั้งใจแล้วแต่ไม่เข้าใจ แปลว่าผู้สอนอาจจะถ่ายทอดได้ไม่ดี แบบนี้คงต้องย้ายไปเรียนกับคนที่ สอนแล้วเข้าใจ (เข้าใจกับสนุก หรือเข้าใจกับมีสูตรลัดเยอะ เป็นคนละเรื่องกันนะครับ!) (2) ทีนี้พอเข้าใจบทเรียนแล้ว การที่จะทําได้ดีไม่ดี อยู่ที่การฝึกฝนอีกอย่างหนึ่งด้วย (ถ้านั่ง ฟังอย่างเดียวแต่ไม่ได้ลงมือฝึกด้วยตัวเองเลย ก็คงคล้ายกับเรียนว่ายน้ําทางทีวีนั่นแหละครับ) ยิ่งทํา โจทย์เยอะและแปลก จะยิ่งได้เปรียบ เพราะความแม่นยําลึกซึ้งในวิชานั้นสอนกันไม่ได้ อีกสิ่งหนึ่งที่ควรปรับปรุงคือ แทนที่จะจําวิธีแก้โจทย์เป็นรูปแบบตายตัว อยากให้ “มอง คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ” คือฝึกมองให้กว้างว่าแต่ละเรื่องที่เรารู้นั้น เอาไปเป็นเครื่องมือช่วย แก้ปัญหาจุดไหนของเรื่องไหนได้บ้าง ต้องบอกได้ว่าทําไมโจทย์ข้อนี้ถึงควรทําด้วยวิธีนี้ หรือรู้จักมองว่า เนื้อหาบทไหนเชื่อมโยงถึงกันได้บ้าง (ซึ่งในหนังสือเล่มนี้ได้แทรกคําอธิบายถึงความเกี่ยวโยงไว้ให้บ้าง แล้ว) การฝึกแบบนี้น่าจะทําข้อสอบได้ดีขึ้นครับ.. นับตั้งแต่เริ่มลงมือพิมพ์จนวันนี้ (ตุลาคม 2548) ใช้เวลาถึง 2 ปี และหนังสือเล่มนีคงจะยังไม่ ้ สําเร็จด้วยดีถ้าขาดบุคคลเหล่านี้ หากหนังสือเล่มนี้มีส่วนดีประการใด ก็เป็นเพราะบุคคลทังหมดนีครับ.. ้ ้ - อาจารย์ทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์คณิตศาสตร์ ที่ได้ให้วิชาความรู้กับผม ขอขอบพระคุณ อ.ชัยศักดิ์ และ อ.จงดี (สาธิตปทุมวัน) เป็นพิเศษครับ ทั้งสองท่านเป็นต้นแบบที่ดีในการสอน - ป๊า ม้า ยังคงเข้าใจและยอมเรื่อยมา บอยกับน้องยุ ช่วยพิมพ์เฉลยอย่างขยันขันแข็ง - ผู้เขียนหนังสือเรียนและคู่มือต่างๆ ผู้ออกข้อสอบเข้าฯ รวมทั้งเว็บไซต์ของ สกอ. - อ.สมพล (กวงเจ็ก) และ อ.พนม สนพ. Science Center ที่ให้โอกาสนําเสนอผลงาน - ชง สําหรับความคิดริเริ่มพิมพ์ชีท และกล้า สําหรับความคิดเรื่องข้อสอบพื้นฐานวิศวะ - น้องภัค น้องหนึ่ง น้องโอ๊ต น้องเคน สําหรับข้อสอบทั้งสองวิชา รวมไปถึงน้องๆ ทั้งหลาย ที่เคยเป็นศิษย์กันมา ตั้งแต่ใช้ชีทลายมือเขียนมาจนกระทั่งพิมพ์เสร็จ (ขึ้นหลักร้อยแล้ว แต่ยังจําได้ ทุกคนครับ) โดยเฉพาะแอน, เนย์, เภา, ตูน เป็นน้องกลุ่มแรกที่ได้ใช้หนังสือเล่มนี้ ให้คําแนะนํา และ ช่วยตรวจแก้ข้อสอบด้วย - ความร้ายกาจของ “เจ๊ชุดดํา” แห่งฟู้ดเซ็นเตอร์ชั้น 3 ที่ทําให้เกิดความคิดว่า คนเราควร ทํางานในหน้าทีของตัวเองให้ดีที่สุด แล้วผมก็เดินกลับบ้านมาเริ่มพิมพ์หนังสือเมื่อสองปีที่แล้ว! ่ - Thaiware.com, se-ed.net, f0nt.com ... สามเว็บไทยใจดี มีข้อสงสัย คําแนะนํา หรือพบข้อบกพร่อง กรุณาติดต่อผู้เขียนที่ kanuay@thai.com และสอบถามปัญหาต่างๆ ได้ที่เว็บบอร์ดใน http://math.reads.it ยินดีตอบทุกปัญหาครับ :] ขอบคุณที่ให้ความสนใจครับ คณิต มงคลพิทักษ์สุข Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 5. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 5 ÊÒÃa¡ÒÃeÃÕ¹ÃÙŒ (e¹×éoËÒ·Õè㪌Êoº O-NET / A-NET) ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยจะเปลี่ยนระบบ เป็นแอดมิสชันส์ (Central University Admissions System) ซึ่งแบ่งคะแนนสอบออกเป็น 4 ส่วน ่ 1. GPAX รวมทุกวิชาในระดับ ม.ปลาย [10%] 2. GPA เฉพาะวิชาหลัก 4-5 วิชา ต่างๆ กันไปแล้วแต่คณะที่เลือก [20%] 3. O-NET (Ordinary National Educational Test) สอบรวมทั้งประเทศ [35%-40%] เป็นข้อสอบบังคับ นักเรียนทุกสาขาจะต้องสอบ มี 5 วิชาได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา (ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 2 ชั่วโมง) ... ซึ่ง นักเรียนแต่ละคนสอบ O-NET ได้เพียงปีเดียว หลังจบ ม.6 4. A-NET (Advanced National Educational Test) สอบรวมทั้งประเทศ [30%-35%] เป็นข้อสอบฉบับเพิ่มเติม มีรายวิชาต่างกันไปตามสาขาที่สอบ (ไม่เกิน 3 วิชา และอาจมี วิชาความถนัดของแต่ละสาขาด้วย เช่น วิศวะฯ สถาปัตย์ ครู ศิลปะ ดนตรี สุขศึกษา) ข้อสอบจะ ครอบคลุมเนื้อหากว้างและลึกกว่า O-NET (ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 2 ชั่วโมง ยกเว้น วิทยาศาสตร์ 3 ชั่วโมง) โดยคณิตศาสตร์จะใช้สอบสําหรับนักเรียนที่เลือกสาขาคํานวณเท่านั้น ... นักเรียนแต่ละคนสอบ A-NET ได้ 3 ปี หมายเหตุ (1) O-NET และ A-NET มีการจัดสอบปีละ 1 ครั้ง ปลายเดือนกุมภาพันธ์ (2) ทุกวิชาจะมีข้อสอบส่วนอัตนัย เป็นแบบเติมคําตอบสั้นๆ (Short Answer) ด้วย (3) ชื่อวิชาต่างจากระบบเดิม คือคณิตศาสตร์ 1 (O-NET) จะง่ายกว่าคณิตศาสตร์ 2 (A-NET) ค่าน้ําหนักของวิชาคณิตศาสตร์ในการสอบแต่ละสาขา - สาขาบริหารธุรกิจ พาณิชย์ บัญชี เศรษฐศาสตร์ | GPA 4% | O-NET 7% | A-NET 20% - สาขาวิศวกรรมศาสตร์ และสาขาเกษตร | GPA 4% | O-NET 8% | A-NET 10% - สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม | GPA 5% | O-NET 7% | A-NET 10% - สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | GPA 4% | O-NET 7% | A-NET 10% - สาขาสังคมศาสตร์ | GPA 5% (เลือกวิชาอื่นแทนได้) | O-NET 20% - สาขาการจัดการ การท่องเที่ยว | GPA 5% | O-NET 14% - สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ | GPA 5% | O-NET 8% - สาขาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ | GPA 4% | O-NET 8% - สาขาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข พลศึกษา การกีฬา | GPA 4% | O-NET 7% - สาขาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ | GPA ไม่ใช้คณิตศาสตร์ | O-NET 7% - สาขามนุษยศาสตร์ | GPA 5% (เลือกวิชาอื่นแทนได้) | O-NET 7-10% | A-NET ไม่แน่นอน รายละเอียดเพิ่มเติม อยู่ในเว็บไซต์ของ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (NIETS) http://www.ntthailand.com Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 6. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 6 หัวข้อคณิตศาสตร์พื้นฐาน (สําหรับข้อสอบ O-NET) บทที่ 1 เซต (ทั้งหมด) บทที่ 2 ระบบจํานวนจริง (ทังหมดยกเว้นหัวข้อ 2.2 และ 2.5) ้ บทที่ 3 ตรรกศาสตร์ (เฉพาะหัวข้อ 3.5) บทที่ 5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ทั้งหมดยกเว้นหัวข้อ 5.2 และ 5.5) บทที่ 7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (เฉพาะเกริ่นนํา และหัวข้อ 7.9) บทที่ 8 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (เฉพาะหัวข้อ 8.1) บทที่ 13 ลําดับและอนุกรม (เฉพาะหัวข้อ 13.1 และ 13.4 ที่ไม่เกี่ยวกับอนันต์) บทที่ 16 ความน่าจะเป็น (เฉพาะหัวข้อ 16.1 และ 16.6) บทที่ 17 สถิติ (ทั้งหมดยกเว้นหัวข้อ 17.5 และ 17.6 และสมบัติต่างๆ) หัวข้อคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (สําหรับข้อสอบ A-NET) คือทุกหัวข้อในหนังสือเล่มนี้ รวมทั้งหัวข้อเพิ่มเติมที่ไม่อยู่ในหนังสือเรียน ได้แก่ บทที่ 2 การหารสังเคราะห์ บทที่ 13 อนุกรมแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่เลขคณิตและเรขาคณิต บทที่ 16 การนับในกรณีอื่นๆ (หัวข้อ 16.4) บทที่ 17 สูตรลดทอนในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 7. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 7 ÊÒúa­ เรื่อง หน้า บทที่ 1 เซต 11 1.1 สับเซตและเพาเวอร์เซต 12 1.2 แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และการดําเนินการของเซต 15 1.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต 21 บทที่ 2 ระบบจํานวนจริง 31 2.1 สมบัติของจํานวนจริง 32 2.2 ทฤษฎีบทเศษเหลือ และตัวประกอบ 36 2.3 อสมการ 39 2.4 ค่าสัมบูรณ์ 44 2.5 ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น 48 เรื่องแถม ถ้าไม่มีเครื่องคํานวณ จะหาค่ารากที่สองได้อย่างไร 58 บทที่ 3 ตรรกศาสตร์ 59 3.1 ตัวเชื่อมประพจน์ และตารางค่าความจริง 60 3.2 สัจนิรันดร์ 63 3.3 การอ้างเหตุผล 65 3.4 ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ 67 3.5 การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย 69 เรื่องแถม มองตรรกศาสตร์ให้เป็นการคํานวณ จากพื้นฐานของดิจิตัล 82 บทที่ 4 เรขาคณิตวิเคราะห์ 83 4.1 เบื้องต้น : จุด 84 4.2 เบื้องต้น : เส้นตรง 86 4.3 ภาคตัดกรวย : พื้นฐานการเขียนกราฟ 92 4.4 ภาคตัดกรวย : วงกลม 94 4.5 ภาคตัดกรวย : พาราโบลา 96 4.6 ภาคตัดกรวย : วงรี 99 4.7 ภาคตัดกรวย : ไฮเพอร์โบลา 102 บทที่ 5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 119 5.1 ลักษณะของความสัมพันธ์ 120 5.2 โดเมน เรนจ์ และตัวผกผันของความสัมพันธ์ 121 5.3 กราฟของความสัมพันธ์ 124 Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 8. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 8 เรื่อง หน้า 5.4 ลักษณะของฟังก์ชัน 127 5.5 ฟังก์ชันประกอบ และฟังก์ชันผกผัน 131 เรื่องแถม หลักในการหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน fog 146 บทที่ 6 กําหนดการเชิงเส้น 147 บทที่ 7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 157 7.1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติในวงกลมหนึ่งหน่วย 158 7.2 ระบบเรเดียน และการลดรูปมุม 160 7.3 สมการตรีโกณมิติ 162 7.4 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 165 7.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่างมุม 166 7.6 ฟังก์ชันผกผันของตรีโกณมิติ 169 7.7 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ 171 7.8 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ 172 7.9 การประยุกต์หาระยะทางและความสูง 173 บทที่ 8 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม 187 8.1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และกฎของเลขยกกําลัง 187 8.2 การแก้สมการที่เป็นเอกซ์โพเนนเชียล 191 8.3 ฟังก์ชันลอการิทึม และกฎของลอการิทึม 192 8.4 การแก้สมการที่เป็นลอการิทึม 195 เรื่องแถม จําเป็นต้องตรวจคําตอบของสมการ (หรืออสมการ) เมื่อใดบ้าง 204 บทที่ 9 เมตริกซ์ 205 9.1 การบวก ลบ และคูณเมตริกซ์ 206 9.2 ดีเทอร์มินันต์ 208 9.3 อินเวอร์สการคูณ 211 9.4 การดําเนินการตามแถว 215 9.5 การใช้เมตริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น 216 บทที่ 10 เวกเตอร์ 227 10.1 การบวกและลบเวกเตอร์ 228 10.2 การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ 230 10.3 เวกเตอร์กับเรขาคณิต 231 10.4 เวกเตอร์ในพิกัดฉาก และเวกเตอร์หนึ่งหน่วย 233 10.5 ผลคูณเชิงสเกลาร์ 235 10.6 เวกเตอร์ในพิกัดฉากสามมิติ 237 10.7 ผลคูณเชิงเวกเตอร์ 240 เรื่องแถม สิ่งที่ไม่ต้องรู้ก็ได้ : ลําดับการคิดค้นเนื้อหาคณิตศาสตร์ 250 Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 9. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 9 เรื่อง หน้า บทที่ 11 จํานวนเชิงซ้อน 251 11.1 การคํานวณเบื้องต้น 252 11.2 สังยุค และค่าสัมบูรณ์ 254 11.3 รูปเชิงขั้ว 256 11.4 สมการพหุนาม 259 เรื่องแถม ใช้จานวนเชิงซ้อนช่วยคํานวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ํ 268 บทที่ 12 ทฤษฎีกราฟ 269 12.1 ส่วนประกอบของกราฟ 270 12.2 กราฟออยเลอร์ 272 12.3 วิถีที่สั้นที่สุด และต้นไม้แผ่ทั่วที่น้อยที่สุด 274 บทที่ 13 ลําดับและอนุกรม 279 13.1 ลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต 280 13.2 ลิมิตของลําดับอนันต์ 282 13.3 อนุกรมและซิกม่า 284 13.4 อนุกรมเลขคณิต เรขาคณิต และอื่นๆ 285 บทที่ 14 ลิมิตและความต่อเนื่อง 295 14.1 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต 296 14.2 ลิมิตในรูปแบบยังไม่กําหนด 298 14.3 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน 300 เรื่องแถม การคํานวณลิมิตในรูปแบบยังไม่กําหนด ด้วยกฎของโลปีตาล 306 บทที่ 15 อนุพันธ์และการอินทิเกรต 307 15.1 อัตราการเปลี่ยนแปลง 307 15.2 สูตรในการหาอนุพันธ์ 309 15.3 ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด และค่าสุดขีด 312 15.4 สูตรในการอินทิเกรต 317 15.5 อินทิกรัลจํากัดเขต และพื้นที่ใต้โค้ง 319 เรื่องแถม เทคนิคการอินทิเกรตโดยเปลี่ยนตัวแปร 332 บทที่ 16 ความน่าจะเป็น 333 16.1 หลักมูลฐานเกี่ยวกับการนับ 333 16.2 วิธีเรียงสับเปลี่ยน 335 16.3 วิธีจัดหมู่ และกฎการแบ่งกลุ่ม 337 16.4 การนับในกรณีอื่นๆ 339 16.5 ทฤษฎีบททวินาม 341 16.6 ความน่าจะเป็น 345 เรื่องแถม เรื่องของการนับจํานวนความสัมพันธ์ จํานวนฟังก์ชัน 358 Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 10. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 10 เรื่อง หน้า บทที่ 17 สถิติ 359 17.1 การรวบรวมและนําเสนอข้อมูล 360 17.2 ค่ากลางของข้อมูล 363 17.3 ตําแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล 374 17.4 ค่าการกระจายของข้อมูล 378 17.5 ค่ามาตรฐาน และการแจกแจงแบบปกติ 383 17.6 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล 388 ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ 1 (14 ฉบับ) 403 ฉบับที่ | ตุลาคม 2541 408 ฉบับที่ | มีนาคม 2542 417 ฉบับที่ | ตุลาคม 2542 426 ฉบับที่ | มีนาคม 2543 435 ฉบับที่ | ตุลาคม 2543 444 ฉบับที่ | มีนาคม 2544 453 ฉบับที่ | ตุลาคม 2544 462 ฉบับที่ | มีนาคม 2545 471 ฉบับที่ | ตุลาคม 2545 481 ฉบับที่ | มีนาคม 2546 492 ฉบับที่ | ตุลาคม 2546 502 ฉบับที่ | มีนาคม 2547 512 ฉบับที่ | ตุลาคม 2547 523 ฉบับที่ | มีนาคม 2548 532 สถิติคะแนนสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ 1 541 ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (17 ปี) (เฉพาะข้อที่เป็นคณิตศาสตร์) ชุดที่ 1 | รวมปี 2532 ถึงปี 2541 542 ชุดที่ 2 | รวมตุลาคม 2541 ถึงมีนาคม 2548 573 โจทย์ทดสอบ : เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย ชุดที่ 1 (มี 2 ส่วน, 70 ข้อ) 588 ชุดที่ 2 (35 ข้อ) 606 ภาคผนวก : Math E-Book ฉบับเข้มข้น 616 ดรรชนี 657 Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 11. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 11 เซต { s,e,t } º··Õè 1 e«µ “กลุ่มของสิ่งต่างๆ” ในวิชาคณิตศาสตร์จะ เรียกว่า เซต (Set) เช่น เซตของชื่อวันทั้งเจ็ด, เซต ของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสองแล้วมีค่าน้อยกว่า 7, เซต ของจํานวนเฉพาะบวกที่หาร 360 ลงตัว, ฯลฯ สิ่งที่อยู่ ภายในแต่ละเซต เรียกว่า สมาชิก (Element หรือ Member) นิยมตั้งชื่อเซตด้วยอักษรตัวใหญ่ เช่น A, B, C และเขียนสัญลักษณ์แทนเซตด้วยวงเล็บ ปีกกา ดังนี้ { } เช่น ให้ A แทนเซตของชื่อวันทั้งเจ็ด, B แทนเซตของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสอง แล้วมีค่าน้อยกว่า 7, C แทนเซตของจํานวนเฉพาะบวกที่หาร 360 ลงตัว, D แทนเซตของจํานวน เฉพาะบวกที่น้อยกว่า 7, และ E แทนเซตของจํานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 3 ถึง 33 จะได้ว่า A = { อาทิตย์, จันทร์, อังคาร, พุธ, พฤหัสบดี, ศุกร์, เสาร์ } การเขียนแจกแจงสมาชิกของเซต จะคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัวด้วยจุลภาค (comma) B = {−2, −1, 0, 1, 2} หรือ B = {0, 1, −1, 2, −2} การเขียนแจกแจงสมาชิกของเซต สามารถสลับที่สมาชิกในเซตได้โดยความหมายไม่เปลี่ยน C = {2, 3, 5} D = {2, 3, 5} จะกล่าวได้ว่า C = D สมาชิกตัวที่ซ้ํากันนับเป็นตัวเดียวกัน และไม่ต้องเขียนซ้ํา ( 360 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 ) E = {4, 5, 6, 7, ..., 32} หากมีสมาชิกเป็นจํานวนมาก อาจใช้เครื่องหมายจุด “...” เพื่อละสมาชิกบางตัวไว้ในฐานที่เข้าใจ Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 12. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 12 เซต เซตที่หาจํานวนสมาชิกได้ เรียกว่า เซตจํากัด (Finite S ¨u´·Õè¼i´º‹oÂ! S Set) และสัญลักษณ์ที่ใช้แทน “จํานวนสมาชิกของ A” คือ n (A) e«µµ‹o仹ÕÁ¨Ò¹Ç¹ÊÁÒªi¡e·‹Òã´ é Õí เช่นในตัวอย่างข้างต้น n (A) = 7 , n (B) = 5 , n (C) = 3 , {∅, 0, 1, {2, 3},(4, 5)} n (E) = 29 นอกจากนั้น เซตจํากัดที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย จะเรียกว่า ¤Òµoº¤×o 5 µaÇ ä´Œæ¡‹ e«µÇ‹Ò§, eÅ¢ 0, í เซตว่าง (Null Set หรือ Empty Set) ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ ∅ eÅ¢ 1, e«µ {2,3}, æÅa¤Ù‹oa¹´aº (4,5) ¹a蹤×oe«µ¹aºe»š¹ 1 ¤Ù‹oa¹´aº¹aºe»š¹ 1 นั่นคือ n (∅) = 0 {(1, 2),(2, 1 {1, 2}, {2, 1}} ), เซตที่จํานวนสมาชิกมากจนหาค่าไม่ได้ เรียกว่า เซต ¤íÒµoº¤×o 3 µaÇ ä´Œæ¡‹ ¤Ù‹oa¹´aº (1,2), ¤Ù‹ อนันต์ (Infinite Set) เช่น F แทนเซตของจํานวนเต็มที่น้อยกว่า 2, oa¹´aº (2,1), æÅae«µ {1,2} G แทนเซตของจํานวนใดๆ ที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1 (¤Ù‹oa¹´aº 1-2 ¡aº 2-1 ¶×oÇ‹Òµ‹Ò§¡a¹ 测e«µ 1-2 ¡aºe«µ 2-1 ¶×oÇ‹ÒeËÁ×o¹¡a¹æÅaäÁ‹ F = {1, 0, −1, −2, −3, ...} , n (F) หาค่าไม่ได้ µŒo§¹aº«éÒ¹a¤Ãaº) í G เขียนแบบแจกแจงสมาชิกไม่ได้ แต่เขียนแบบบอก เงื่อนไขได้ในรูป { สมาชิก | เงื่อนไข } คือ e«µ¢o§ª×o¤¹ã¹»Ãae·Èä·Âã¹¢³a¹Õé è G = { x | 0 < x < 1} e»š¹e«µ¨Ò¡a´ËÃ×oo¹a¹µ ... ¤íÒµoº¤×o í e«µ¨Ò¡a´¤Ãaº ¶Ö§æÁŒ¨íҹǹÊÁÒªi¡¨a´ÙÇ‹Ò í อ่านว่า เซตของ x (สมาชิก) โดยที่ 0 < x < 1 (เงื่อนไข) ÁÒ¡¢¹Ò´ä˹ 测¡çäÁ‹ÁÒ¡¶Ö§o¹a¹µ¹a.. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” คือ ∈ เช่น 2 ∈ B , 3 ∈ C , 0.5 ∈ G สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” คือ ∉ เช่น 2.5 ∉ B , 4 ∉ C , 0 ∉ G ขอบเขตของสิ่งที่เราสนใจ เรียกว่า เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) หรือเซต U นั่นคือ สมาชิกของเซตทุกเซตจะต้องอยู่ใน U ทั้งหมด และจะไม่สนใจสิ่งที่อยู่ภายนอก U เช่น ถ้า U = {−2, −1, 0, 0.5, 7} และ H = { x | x > 0 } จะได้ว่า H = {0, 0.5, 7} แต่ถ้าเปลี่ยนเป็น U = เซตของจํานวนเต็ม จะได้ว่า H = {0, 1, 2, 3, ...} การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขควรระบุเอกภพสัมพัทธ์กํากับด้วย แต่ถ้าไม่ได้ระบุไว้ โดยทั่วไปให้ถือว่า U เป็นเซตของจํานวนจริงใดๆ ( R ) เช่น H = { x | x > 0 } มีความหมายเดียวกับ H = { x ∈ R | x > 0 } 1.1 สับเซต และเพาเวอร์เซต สับเซต (Subset) คือเซตย่อย จะกล่าวว่า B เป็นสับเซตของ A ได้ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัว ของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A ด้วย (และ B จะไม่เป็นสับเซตของ A หากว่ามีสมาชิกบางตัวของ เซต B ไม่เป็นสมาชิกของเซต A) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “B เป็นสับเซตของ A” คือ B ⊂ A และ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “B ไม่เป็นสับเซตของ A” คือ B ⊄ A ตัวอย่างเช่น A = {m, p, r, w} จะมีเซต B ที่ทาให้ B ⊂ ํ A ได้ถึง 16 แบบ ดังนี้ ∅ {m} {p} {r} {w} S ¢ŒoÊa§e¡µ! S {m, p} {m, r} {m, w} {p, r} {p, w} {r, w} »Ãao¤ {a, b} ⊂ A {m, p, r} {m, p, w} {m, r, w} {p, r, w} ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇ‹Ò a ∈ A æÅa b ∈ A {m, p, r, w} Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 13. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 13 เซต ข้อควรทราบ 1. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต ∅ ⊂ A 2. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวเอง A ⊂ A 3. เซตที่มีสมาชิก n ตัว จะมีสับเซตทั้งสิ้น 2 n แบบ ... (เช่นในตัวอย่างข้างต้น 2 4 = 16 ) 4. บางตําราใช้สัญลักษณ์ ⊂ แทนการเป็น สับเซตแท้ (Proper Subset) ซึ่งจะมีเพียง 2 n − 1 แบบ เท่านั้น (คือนับเฉพาะเซตที่เล็กกว่าเท่านั้น ไม่นับตัวมันเอง) และใช้สัญลักษณ์ ⊆ แทนการเป็นสับ เซตใดๆ (นั่นคือ A ⊆ A แต่ A ⊄ A ) ... แต่ในเล่มนี้จะรวบใช้เครื่องหมาย ⊂ แทนการเป็นสับ เซตใดๆ ทุกแบบ รวมถึงตัวมันเองด้วย เพาเวอร์เซต (Power Set) คือเซตที่บรรจุด้วยสับเซตทั้งหมดที่เป็นไปได้ เพาเวอร์เซตของ A จะใช้สัญลักษณ์ว่า P(A) S ¢ŒoÊa§e¡µ! S ดังนั้น ถ้า A มีสมาชิก n ตัวแล้ว P(A) ย่อมมีสมาชิก 2 n ตัว เช่นในตัวอย่าง A = {m, p, r, w} »Ãao¤ {a, b} ∈ P(A) จะได้ P (A) = { ∅, {m}, {p}, {r}, {w}, {m, p}, {m, r}, ..., {m, p, r, w} } ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇ‹Ò {a, b} ⊂ A ¹a蹤×o a ∈ A æÅa b ∈ A เพิ่มเติม จากเนื้อหาเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนและจัดหมู่ (กฎการนับนี้จะได้ศึกษาอย่างละเอียดในบทที่ 16 หัวข้อ 16.3) ⎛n⎞ n! มีของ n ชิ้น หยิบออกมาทีละ r ชิ้น ได้ไม่ซ้ํากันทังสิ้น ้ ⎜r ⎟ = ชุด ⎝ ⎠ (n −r)! ⋅ r ! โดยที่ x ! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ ... ⋅ x เช่นถ้าเซตหนึ่งมีสมาชิก 7 ตัว จะมีสับเซตที่หยิบสมาชิกมาเพียง 3 ตัว 7 อยู่ ⎛ 3 ⎞ = 7 ! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ 7 = 35 แบบ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 4!⋅ 3! 1⋅2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 1⋅2 ⋅ 3 • ตัวอยาง ใหเขียนสับเซตทุกๆ แบบ และเขียนเพาเวอรเซตของ S ¨u´·Õè¼i´º‹oÂ! S ก. A = {a} ¹Œo§æ Áa¡¨aÊaºÊ¹ÃaËÇ‹Ò§ ∅ ¡aº {∅} 1 ตอบ มีสับเซต 2 = 2 แบบ ไดแก ∅ และ {a} Ç‹Òµ‹Ò§¡a¹o‹ҧäà ... ดังนั้น P (A) = {∅, {a}} ∅ (e«µÇ‹Ò§) e»ÃÕºeÊÁ×o¹¡Å‹o§e»Å‹Òæ äÁ‹ ข. B = {a, b} ÁÕoaäÃoÂÙ‹ã¹¹aé¹eÅ (¨Ò¹Ç¹ÊÁÒªi¡e·‹Ò¡aº 0) í 2 ตอบ มีสับเซต 2 = 4 แบบ ไดแก ∅ , {a} , {b} และ {a, b} ¨ae¢Õ¹Êa­Åa¡É³e»š¹ { } ¡çä´Œ ดังนั้น P (B) = {∅, {a}, {b}, {a, b}} 测¶ŒÒ¶ÒÁÇ‹Ò¡Å‹o§ãºË¹Ö觫Öè§ÁÕ¡Å‹o§e»Å‹ÒoÕ¡ ค. C = {2, 3, 5} ãºoÂÙ‹¢ŒÒ§ã¹ ¹aºe»š¹¡Å‹o§Ç‹Ò§e»Å‹ÒËÃ×oäÁ‹ 3 ตอบ มีสับเซต 2 = 8 แบบ ไดแก ∅ , {2} , {3} , {5} , {2, 3} , ¤Òµoº¡ç¤×oäÁ‹e»Å‹ÒæÅŒÇ㪋äËÁ¤Ãaº í {2, 5} , {3, 5} และ {2, 3, 5} ¡çeËÁ×o¹¡a¹¡aº “e«µ¢o§e«µÇ‹Ò§” {∅} ดังนั้น P (C) = {∅, {2}, {3}, {5}, {2, 3}, {2, 5}, {3, 5}, {2, 3, 5}} «Öè§äÁ‹ä´Œe»š¹e«µÇ‹Ò§oÕ¡µ‹oä»æÅŒÇ ... ËÃ×o¶ŒÒµoºÊaé¹æ ¡ç¤×o n(∅) = 0 ง. D = ∅ 0 测 n({∅}) = 1 ตอบ มีสับเซต 2 = 1 แบบ ไดแก ∅ ดังนั้น P (D) = {∅} Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 14. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 14 เซต • ตัวอยาง กําหนด E = {∅, {0}, {∅}} ใหหา P(E) ตอบ {∅, {∅}, {{0}}, {{∅}}, {∅, {0}}, {∅, {∅}}, {{0}, {∅}}, {∅, {0}, {∅}}} • ตัวอยาง กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง A = {1, 3, 5, 7} และ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} ใหหา ก. จํานวนแบบของเซต X ซึ่ง X ∈ P (A) ตอบ คําวา X ∈ P (A) ก็คือ X ⊂ A 4 ดังนั้น มีเซต X ทีเ่ ปนไปไดทั้งหมด 2 = 16 แบบ หากศึกษาเรื่องวิธีจัดหมูแลว จะทราบวิธีคํานวณอีกแบบ ดังนี้ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎜ 0 ⎟ + ⎜ 1 ⎟ + ⎜ 2 ⎟ + ⎜ 3 ⎟ + ⎜ 4 ⎟ = 1 + 4 + 6 + 4 + 1 = 16 แบบ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ข. จํานวนแบบของเซต X ซึ่ง X ∈ P (A) และ n (X) < 2 ตอบ คําวา X ∈ P (A) ก็คือ X ⊂ A ซึ่งมี 16 แบบ (ดังขอ ก.) แตขอนี้ตองการ n (X) < 2 เทานั้น 4 4 4 หากศึกษาเรื่องวิธีจัดหมูแลวจึงจะทราบวิธีคํานวณ ดังนี้ ⎛ 0 ⎞ + ⎛ 1 ⎞ + ⎛ 2 ⎞ = 1 + 4 + 6 = 11 แบบ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ (แตถายังไมไดศกษา ก็คงตองเขียนนับเอาโดยตรง) ึ ค. จํานวนแบบของเซต Y ซึ่ง A ⊂ Y และ Y ⊂ B ตอบ ตองการ A ⊂ Y ก็แปลวา สมาชิก 1, 3, 5, 7 ตองอยูใน Y ครบทุกตัว ... และ Y ⊂ B แปลวา 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง 1, 3, 5, 7 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Y ⊂ B แลว) ... การที่ 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได เปรียบเสมือนการหาสับเซต 3 ทุกแบบของ {2, 4, 6} นันเอง จึงตอบวา 2 = 8 แบบ ่ แบบฝึกหัด 1.1 (1) กําหนด A, B เป็นเซตที่มีลักษณะ A ⊂ B และ A ≠ B ถ้า x ∈ A และ y ∈B แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (1.1) {x} ⊂ B (1.3) {A} ⊂ {B} (1.2) {y} ⊄ A (1.4) {A} ≠ {B} (2) ให้ A = {{∅}, a, b, {a}, {a, b}} ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (2.1) {∅} ∈ A (2.3) {{a}, b} ⊂ A (2.2) {∅} ⊂ A (2.4) {a, b} ∈ A และ {a, b} ⊄ A (3) ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ (3.1) ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C (3.2) ถ้า A ∈ B และ B ∈ C แล้ว A ∈ C (3.3) ถ้า A ⊄ B และ B ⊄ C แล้ว A ⊄ C Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 15. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 15 เซต (4) ให้ A เป็นเซตใดๆ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (4.1) { x | x = A } = {A} (4.3) { x | {x} ⊂ A } = {A} (4.2) { x | x ∈ A } = A (4.4) { x | {x} ⊂ ∅ } = ∅ (5) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (5.1) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สับเซตของ A มีทั้งหมด 32 แบบ (5.2) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สับเซตแท้ของ A มีทั้งหมด 32 แบบ (5.3) ถ้า n (A) = 5 แล้ว เพาเวอร์เซตของ A มีทั้งหมด 32 แบบ (5.4) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สมาชิกของเพาเวอร์เซตของ A มีทั้งหมด 32 ตัว (6) ถ้า A มีสับเซตแท้ 511 เซต แสดงว่า A มีสมาชิกกี่ตัว และในจํานวน 511 เซตนั้น สับเซตที่มีสมาชิกเพียง 5 ตัวมีกี่เซต (7) ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ (7.1) ∅ ∈ ∅ (7.5) ∅ ∈ P (∅) (7.2) ∅ ⊂ ∅ (7.6) ∅ ⊂ P (∅) (7.3) ∅ ∈ {∅} (7.7) {∅} ∈ P (∅) (7.4) ∅ ⊂ {∅} (7.8) {∅} ⊂ P (∅) (8) ถ้า A = {∅, a, {b}, {a, b}} แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (8.1) ∅ ∈ P (A) (8.6) a ∈ P (A) (8.2) {∅} ∈ P (A) (8.7) {a} ∈ P (A) (8.3) ∅ ⊂ P (A) (8.8) {b} ∈ P (A) (8.4) {∅} ⊂ P (A) (8.9) {{b}} ∈ P (A) (8.5) {∅, a, {b}} ∈ P (A) (8.10) {∅, a, {b}} ⊂ P (A) (9) ถ้า A = {∅, 1, 2, 3, {1}, {1, 2}, {1, 2, 3}} แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (9.1) {∅, {1}, {1, 2}} ∈ P (A) (9.3) {{1}, {2}, {3}} ∈ P (A) (9.2) {∅, {1}, {1, 2}} ⊂ P (A) (9.4) {{1}, {2}, {3}} ⊂ P (A) (10) [Ent’39] ให้ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} แล้วจงหา n (X) และ n (Y) เมื่อกําหนด X = { A ∈ P (S) | 1 ∈ A และ 7 ∉ A } และ Y = { A ∈ X | ผลบวกของสมาชิกภายใน A ไม่เกิน 6 } 1.2 แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และการดําเนินการของเซต การแสดงเซตด้วย แผนภาพของเวนน์และออยเลอร์ S ¨u´·Õè¼i´º‹oÂ! S (Venn-Euler Diagram) ช่วยให้เห็นลักษณะของเซตชัดเจนขึ้น ¤ÇèaÇÒ´æ¼¹ÀÒ¾e«µ A æÅa B ã¹æºº การเขียนแผนภาพดังกล่าวนิยมให้เอกภพสัมพัทธ์ U เป็นกรอบ ·aèÇä» ¤×oãËŒÁÕÊÁÒªi¡Ã‹ÇÁ¡a¹¡‹o¹ สี่เหลี่ยม ซึ่งภายในบรรจุรูปปิด (วงกลม วงรี ฯลฯ) ที่ใช้แทน (eËÁ×o¹¡aºÃÙ»¡ÅÒ§) æŌǨҡ¹aé¹eÁ×èo·ÃÒº ขอบเขตของเซต A, B, C ต่างๆ โดยจะเขียนให้มีบริเวณที่เซต Ç‹Òªié¹Ê‹Ç¹ã´äÁ‹ÁÕÊÁÒªi¡ ¤‹o¢մËÃ×oæÃe§Ò สองเซตซ้อนทับกัน หากว่าสองเซตนั้นมีสมาชิกร่วมกัน ดังภาพ ·ié§ä».. ·íÒ溺¹Õéoo¡Òʼi´¨a¹ŒoÂŧ¤Ãaº.. Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 16. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 16 เซต U U U A A B A B B A และ B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน A และ B มีสมาชิกร่วมกัน A เป็นสับเซตของ B สมมติว่า A = {0, 1, 2, 3, 4} U B = {1, 3, 5, 7, 9} 04 1 9 B A C = {2, 3, 5, 7, 11} 2 3 57 จะเขียนแผนภาพได้ดังนี้ 11 C การดําเนินการเกี่ยวกับเซต เป็นการทําให้เกิดเซตใหม่ขึ้นจากเซตที่มีอยู่เดิม 1. ยูเนียน (Union : ∪ ) ... เซต A ∪ B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ใน A หรือ B ทั้งหมด U U U A A B A B B ยูเนียนของ A กับ B ได้เป็น B 2. อินเตอร์เซกชัน (Intersection : ∩ ) ... เซต A ∩ B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ในทั้ง A และ B บางตําราใช้สัญลักษณ์เป็น AB (คือ ละเครื่องหมายอินเตอร์เซคชันไว้) U U U A A B A B B อินเตอร์เซกชันของ A กับ B เป็นเซตว่าง อินเตอร์เซกชันของ A กับ B เป็น A 3. คอมพลีเมนต์ (Complement : ' ) U เซต A' คือเซตของสมาชิกที่ไม่ได้อยู่ใน A บางตําราใช้สัญลักษณ์เป็น A c หรือ A A 4. ผลต่าง (Difference หรือ Relative Complement : − ) B − A คือเซตของสิ่งที่อยู่ใน B แต่ไม่อยู่ใน A ... หรือ B − A = B ∩ A' จะเรียก B − A ว่า “คอมพลีเมนต์ของ B เมื่อเทียบกับ A” ก็ได้ U U U A A B A B B ข้อสังเกต โดยทั่วไป n (B − A) ≠ n (B) − n (A) แต่ n (B − A) = n (B) − n (A ∩ B) Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 17. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 17 เซต สมบัติที่เกี่ยวกับการดําเนินการของเซต • การแจกแจง • คอมพลีเมนต์ และเพาเวอร์เซต A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C) (A ∪ B) ' = A '∩ B ' A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C) (A ∩ B) ' = A '∪ B ' A − (B ∪ C) = (A − B) ∩ (A − C) P (A) ∩ P (B) = P (A ∩ B) A − (B ∩ C) = (A − B) ∪ (A − C) P (A) ∪ P (B) ⊂ P (A ∪ B) หมายเหตุ ในภาษาอังกฤษบางครั้งอ่าน A ∪B ว่า A cup B และอ่าน A ∩B ว่า A cap B • ตัวอยาง กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง A = {1, 3, 5, 7} และ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} ใหหา (ในขอ ก. และ ข. จําเปนตองใชความเขาใจเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและจัดหมู ดวย) ก. จํานวนแบบของเซต Y ซึ่ง A ∩ Y ≠ ∅ และ Y ⊂ B ตอบ วิธีคดตางจากตัวอยางที่แลว ( A ⊂ Y ⊂ B ) เล็กนอย ... ขอนี้ตองการ A ∩ Y ≠ ∅ แสดงวา ิ สมาชิก 1, 3, 5, 7 ตองมีอยูใน Y (มีกีตัวก็ได แตไมมีเลยไมไดเพราะจะทําให A ∩ Y = ∅ ) ่ การอยูกี่ตัวก็ได แตไมอยูเลยไมได ก็คือการหาสับเซตทุกแบบของ {1, 3, 5, 7} ทีไมใชเซตวาง นั่นเอง ใน ่ 4 ขั้นตอนนี้จึงได 2 − 1 = 15 แบบ ... อีกเงื่อนไขคือ Y ⊂ B แปลวา 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง 3 บางตัวของ 1, 3, 5, 7 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Y ⊂ B แลว) ... ขันนี้เหมือนตัวอยางที่แลว จึงได 2 = 8 ้ แบบ ... คําตอบขอนี้ตองนําสองเงื่อนไขมาประกอบกัน สรุปวาทั้งสองขั้นตอนทําใหไดผลลัพธตางๆ กัน ทั้งสิ้น 15 × 8 = 120 แบบ ข. จํานวนแบบของเซต Z ซึ่ง {1, 2, 3} ∩ Z ≠ ∅ และ Z ⊂ A ตอบ วิธีคดเหมือนขอ ก. ... นันคือ ตองการ {1, 2, 3} ∩ Z ≠ ∅ แสดงวา สมาชิก 1, 3 ตองมีอยูใน Z ิ ่ (มีกี่ตัวก็ได แตไมมีเลยไมไดเพราะจะทําให A ∩ Z = ∅ ) ที่สาคัญคือ สมาชิก 2 หามอยูใน Z เพราะจะ ํ 2 ขัดแยงกับอีกเงื่อนไข ( Z ⊂ A ) ... ในขั้นตอนนี้จึงได 2 − 1 = 3 แบบ ... อีกเงื่อนไขคือ Z ⊂ A แปลวา 5, 7 จะอยูใน Z กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง 2 บางตัวของ 1, 3 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Z ⊂ A แลว) ... ขันนี้เหมือนตัวอยางที่แลว จึงได 2 = 4 แบบ ้ ... คําตอบขอนีตองนําสองเงื่อนไขมาประกอบกัน สรุปวาทั้งสองขันตอนทําใหไดผลลัพธตางๆ กันทั้งสิ้น ้ ้ 3 × 4 = 12 แบบ ค. จํานวนแบบของเซต Z ซึ่ง {1, 2, 3} ∩ Z = ∅ และ Z ⊂ A ตอบ ขอนี้งายทีสุด เนื่องจาก ตองการ {1, 2, 3} ∩ Z = ∅ แสดงวา สมาชิก 1, 2, 3 หามมีอยูใน Z ่ เลยแมแตตัวเดียว เมื่อประกอบกับอีกเงื่อนไขคือ Z ⊂ A จึงไดวา สมาชิก 5, 7 เทานันที่จะอยูใน Z (กี่ ้ ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได เพราะแม Z = ∅ ก็ยังทําใหเงือนไข Z ⊂ A เปนจริงอยูดี) ... จึงไดคาตอบ ่ ํ 2 เปน 2 = 4 แบบ Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 18. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 18 เซต • ตัวอยาง ถา C = {∅, {∅}, 0, {{∅}, 0}, {∅, {0}}, {{∅, {0}}}} ใหหาคาของ ก. n (P (C)) 6 ตอบ เนื่องจาก n (C) = 6 ดังนั้น n (P (C)) = 2 = 64 ข. n (P (C) − C) ตอบ n (P (C) − C) ไมไดคิดจาก 64 − 6 = 58 ... เพราะโดยทั่วไปสมาชิกของ C นันไมไดอยูใน ้ P (C) ทั้งหมด การจะคิด n (P (C) − C) ตองดูวา สมาชิกของ C นั้นอยูใน P (C) กี่ตัว  เริ่มพิจารณาเรียงไปทีละตัว เริ่มจาก ∅ “อยู” (เพราะ ∅ เปนสับเซตของทุกเซต นอกจากนั้น การเขียนเพาเวอรเซตใหเปนระเบียบยังมักจะเริ่มดวย ∅ ) ... ตอมา {∅} ก็ “อยู” อยูในขั้นตอนที่หยิบ สมาชิกจาก C ไปหนึ่งตัว (เซตวางที่ปรากฏในนี้เปนสมาชิกตัวแรกสุดใน C ) หรือกลาววา “อยู” เพราะ  ∅ ∈ C ... ตอมา 0 อันนี้ “ไมอยู” เพราะไมใชเซต สิ่งที่อยูในเพาเวอรเซตใดๆ ได ตองเปนเซต!... ตอมา   {{∅}, 0} อันนี้ “อยู” มาจากขั้นตอนที่หยิบสมาชิกจาก C ไปสองตัว (ในที่นี้เปนตัวสองกับตัวสาม) หรือ กลาววา “อยู” เพราะ {∅} ∈ C และ 0 ∈ C ... ตอมา {∅, {0}} อันนี้ “ไมอยู” เพราะ {0} ∉ C ...  และสุดทาย {{∅, {0}}} อันนี้ก็ “อยู” เพราะวา {∅, {0}} ∈ C มาจากขั้นตอนที่หยิบสมาชิกจาก C ไป หนึ่งตัว (เปนตัวที่หา) นั่นเอง สรุปแลว สมาชิกของ C นั้นอยูใน P (C) 4 ตัว ดังนั้น n (P (C) − C) = 64 − 4 = 60 ค. n (C − P (C)) ตอบ n (C − P (C)) ก็ไมไดคดจาก 6 − 64 ... แตตองดูวา สมาชิกของ P (C) นันอยูใน C กี่ตัว ซึ่งมี ิ ้  วิธีคิดเชนเดียวกับขอ ข. คือได 4 ตัว หรือกลาววา n (C ∩ P (C)) = 4 ... ดังนั้น จึงทําให n (C − P (C)) = 6 − 4 = 2 หากดูแผนภาพประกอบจะเขาใจยิ่งขึ้น เราทราบวา (ขอ ก.) n (C) = 6 และ n (P (C)) = 64 2 4 60 จากนั้นนับในขอ ข. วา n (C ∩ P (C)) = 4 จึงได (ข.) n (C − P (C)) = 2 และ (ค.) n (P (C) − C) = 60 C P(C) ง. n [(P (C) − C) ∪ (C − P (C))] ตอบ จากขอ ข. กับ ค. (หรือจากแผนภาพ) ไดคําตอบเปน 60 + 2 = 62 (นํามาบวกกันไดทันที เพราะสองสวนนีไมไดซอนทับกัน) ้ แบบฝึกหัด 1.2 (11) กําหนดให้ A ∪ B = {0, 1, 2, 3, 4, 5} A ∩ B = {1, 3, 5} B ∩ C = {2, 3, 5} A ∪ C = {0, 1, 2, 3, 5} A ∩ C = {0, 3, 5} แล้ว ข้อใดผิด ก. A ∩ B ' = {0} ข. B ∩ C ' = {1} ค. A ∩ C ' = {1} ง. B ∩ A ' = {2, 4} (12) ให้เขียนเซต C'∪ B' แบบแจกแจงสมาชิก เมื่อกําหนดให้ U = { x ∈ I | 1 < x < 10 } เมื่อ I = เซตของจํานวนเต็ม Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 19. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 19 เซต B = {x | x หาร 3 ลงตัว } และ C = {x | x < 5} (13) [Ent’38] ถ้า A = {0, 1} และ B = {0, {1}, {0, 1}} แล้ว (13.1) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด A ∈ P (B) (13.2) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด {1} ∈ P (A) ∩ P (B) (13.3) ค่าของ n (P (A ∪ B)) − n (P (A ∩ B)) เป็นเท่าใด (14) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (14.1) ∅ ' = U (14.7) A ∩ A ' = ∅ (14.2) U ' = ∅ (14.8) A ∪ A ' = U (14.3) A ⊂ (A ∪ B) (14.9) A − U = ∅ และ U − A = A ' (14.4) B ⊂ (A ∪ B) (14.10) A − ∅ = A และ ∅ − A = ∅ (14.5) (A ∩ B) ⊂ A (14.11) A − A = ∅ (14.6) (A ∩ B) ⊂ B (14.12) A − B = A ∩ B ' (15) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (15.1) ถ้า A ⊂ B แล้ว P (A) ⊂ P (B) (15.2) ถ้า A ∪ B = ∅ แล้ว A = ∅ และ B = ∅ (15.3) ถ้า A ∩ B = ∅ แล้ว A = ∅ และ B = ∅ (15.4) ถ้า A − B = ∅ และ B − C = B แล้ว A ' ∪ C ' = U (15.5) ถ้า A − B = ∅ และ B − C ≠ ∅ แล้ว A − C ≠ ∅ (16) สําหรับเซต A, B ใดๆ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (16.1) A ∩ B ≠ A ∪ B (16.5) ถ้า x ∉ A แล้ว x ∉ A ∪B (16.2) A − B ≠ B − A (16.6) ถ้า x ∈ A แล้ว x ∉ A '∩B' (16.3) A ∩ B = A − B ' (16.7) ถ้า x ∉ A แล้ว x ∈ A '∩B' (16.4) (A ∪ B) ' = B '− A (16.8) ถ้า x ∈ A แล้ว x ∈ (A ' ∪ B ') ' (17) เขียนเซตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปที่สั้นที่สุด (17.1) A − (A ∩ B) (17.6) (A ∪ B) − B (17.2) (A − B) ∪ B (17.7) (A ∩ B) − B (17.3) (A − B) ∩ B (17.8) A − (A − B) (17.4) A ∩ (A − B) (17.9) (A − B) ∩ (B − A ') (17.5) A ∪ (A − B) (18) ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่ (18.1) ถ้า A ∪ C = B ∪ C แล้ว A = B (18.2) ถ้า A ∩ C = B ∩ C แล้ว A = B (18.3) ถ้า A − C = B − C แล้ว A = B (18.4) ถ้า A ' = B ' แล้ว A = B (19) ให้บอกเงื่อนไขที่ทําให้ A −B = A อย่างน้อย 3 กรณี Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 20. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 20 เซต (20) เขียนเซตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปที่สั้นที่สุด (20.1) [Ent’21] (A − B) ∪ (B − A) ∪ (A ∩ B) (20.2) [A ∩ (A '∪ B)] ∪ [B ∩ (B '∪ A ')] (20.3) ([(A − B) ∪ (B − A)] − A ') ∪ ( A '− [(A − B) ∪ (B − A)]) (20.4) [(A ∪ B) '∩ (B − C ')] ∪ ([(D − E) ∩ (C '− E ')] ∪ (A − E ')) ' (21) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (21.1) (A ∩ B ∩ C) ∪ (A '∩ B ∩ C) ∪ (B '∪ C ') = U (21.2) (A ∩ B ∩ C ∩ D ') ∪ (A '∩ C) ∪ (B '∩ C) ∪ (C ∩ D) = C (21.3) P (A ∩ B) ⊂ P (A ∪ B) (21.4) P (A − B) ∩ P (B − A) = {∅} (21.5) ถ้า A ⊂ B แล้ว P (A ∪ B) = P (A) ∪ P (B) (22) ให้ A = {0, 1, 2, 3} , B = {{0}, 1, 2, {3}} และ C = {0, {1}, {2}, 3} ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (22.1) P (A) ∩ P (B) ∩ P (C ') = {∅, {1}, {2}, {1, 2}} (22.2) P (A) ∩ P (B ') ∩ P (C) = {∅, {0}, {3}, {0, 3}} (22.3) P (A ') ∩ P (B) ∩ P (C) = {∅, {0}} (22.4) P (A) ∩ P (B ') ∩ P (C ') = {∅} (23) ถ้า n (U) = 35 , n (A) = 22 , n (B) = 18 ให้หาว่า n (A '∩ B ') จะมีค่ามากที่สุดได้เท่าใด (24) ถ้า n (A) = a , n (B) = b , n (C) = c , n (D) = d n (A ∩ B) = b , n (B ∩ C) = c , n (C ∩ D) = d แล้ว ให้หา n (A ∩ B ∩ C ∩ D) และ n (A ∪ B ∪ C ∪ D) (25) ให้ A, B, C เป็นเซตซึ่ง P (C) = {∅, {a}, {c}, C} , n (P (A)) = 8 , n (P (B)) = 16 , C ⊂ A, C ⊂ B , {b, d, e} ⊂ A ∪ B และ b ∈ A ∩B ' ข้อใดผิด ก. d ∈ (A ∪ B ') ' ข. e ∈ (C ∪ B ') ' ค. b ∉ (A ' ∪ B ') ' ง. {b, e} ⊂ (A '∪ B) ' (26) เมื่อ A = {∅, 1, {1}} และ A ∩ B ' = ∅ แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด (26.1) n [ P (A) ∩ P (B) ] = 8 (26.3) P (A − B) = {∅} (26.2) {1} ∈ P (A ∩ B) (26.4) P (B − A) = {∅} (27) [Ent’36] ถ้า A = {∅, {∅}, 0, {0}, {1}, {0, 1}} แล้ว จงหาจํานวนสมาชิกของเซต [ P (A) − A ] ∪ [ A − P (A) ] (28) มีเซต A ที่ตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้กี่แบบ (28.1) A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {1, 3, 5} (28.2) A ∪ B = {1, 2, 3, ..., 15} และ B = {2, 4, 6, 8, 10} Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)
  • 21. คณิตศาสตร O-NET / A-NET 21 เซต (29) กําหนดให้ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} และ B = {1, 2, 3} แล้ว จะมีเซต X ตามเงื่อนไขต่อไปนี้ได้กี่แบบ (29.1) B ⊂ X ⊂ A (29.2) X ⊂ A และ B ∩ X ≠ ∅ (30) ถ้า B ⊂ A โดย n (A) = 10 , n (B) = 4 ให้หาค่า n (C) ในแต่ละข้อต่อไปนี้ (30.1) C = {S |B ⊂ S ⊂ A} (30.2) C = {S ⊂ A | S ∩B ≠ ∅} (31) กําหนด A = {0, 2, 4, 6, 8} B = {0, 1, 2} C = {1, 2, 3} D = {0, 2, 3} ให้หาจํานวนเซต X ซึ่ง X ⊂ A และตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้ (31.1) B ∩ C ' ⊂ X (31.3) B ∩ D ⊂ X (31.2) B ∩ C ' ⊄ X (31.4) B ∩ D ⊄ X (32) ถ้า U = {1, 2, 3, 4, ..., 8} A = U − {1} B = {2, 4, 6} และ C = {1, 7} มีเซต D ที่เป็นไปได้กี่แบบที่ตรงตามเงื่อนไข (B '− C) ⊂ D ⊂ A (33) กําหนดให้ U = { x ∈ I | −2 < x < 6 } เมื่อ I = เซตของจํานวนเต็ม 2 A = {k | k ∈ U } และ B = { k |k ∈ U} จํานวนสมาชิกของเซต C = {x | A ∩B ⊂ x และ x ⊂ A ∪B} เป็นเท่าใด (34) ให้ A = {a, b, c, d, f} และ B = {a, c, d, e} เซต X ซึ่ง X ⊂ A ∪ B และ A ∩ B ∩ X ≠ ∅ มีกี่เซต (35) ให้ A = {1, 3, 5, 7, 9} และ Sk = { B ⊂ A | n (B) = k} ให้หาค่า n (S) เมื่อ S = S1 ∪ S2 ∪ S3 ∪ S4 ∪ S5 (36) กําหนดเซต A, B เป็นสับเซตของ U หาก n (U) = 100 , n (A ') = 40 , n (B) = 55 , n (A ∩ B ') = 32 แล้วค่าของ n (A '∩ B ') เป็นเท่าใด 1.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต • โจทย์ปัญหาที่เป็นเหตุการณ์ จะใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ ช่วยในการคํานวณส่วนประกอบต่างๆ และมีสูตรในการหาจํานวนสมาชิกในเซตเพิ่มเติมดังนี้ สําหรับ 2 เซต ·Ò¤ÇÒÁe¢ŒÒ㨴ŒÇÂÃÙ»ÀÒ¾¡ç´Õ¹a¤Ãaº.. í n (A ∪ B) = n (A) + n (B) − n (A ∩ B) = + - สําหรับ 3 เซต n (A ∪ B ∪ C) = n (A) + n (B) + n (C) − n (A ∩ B) = + + − n (A ∩ C) − n (B ∩ C) + n (A ∩ B ∩ C) - - - + Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)