SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
๑. นางสาวสุภาภรณ์ ผึ้งเถื่อน รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๒๘
๒. นางสาวณัทภัค พลยาง รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๔๓
๓. นางสาวสุวณีย์ แสงนิ่ม รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๐
๔. นางสาวพิชญานิน เจริญสุข รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๑
๕. นางสาวกรวรรณ นววงศ์วิวัฒน์ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๒
๖. นางสาววณิชชา ใจยาธิ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๓
๗. นางสาวพิกุล นามจุมจัง รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๘
๘. นางสาวธนพร สุนรกุมภ์ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๙
นิสิตคณะครุศาสตร์ชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาภาษาไทย D๒
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ)
Bachelor of Arts (Thai for Foreigners)
ลักษณะของหลักสูตร หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาภาษาไทย (สาหรับนักศึกษาต่างชาติ)
การจัดการเรียนการสอน
ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยทั้ง ๔ ทักษะ ได้แก่ ทักษะการฟัง เพื่อเข้าใจสารอย่างครบถ้วน
ทักษะการอ่าน เพื่อฝึกการออกเสียง และจับใจความสาคัญ ทักษะการพูด เพื่อถ่ายทอดความรู้
ความคิด ประสบการณ์ และแสดงความคิดเห็น ทักษะการเขียน โดยฝึกการจัดลาดับความคิด
การวางโครงเรื่อง ฝึกใช้คา ประโยค และเรียบเรียงประโยคเป็นย่อหน้า เพื่อสร้างงานเขียน
ประเภทต่างๆ ได้
ที่มา: http://www.libarts.mju.ac.th/foreignersType.php
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Arts Program in Thai)
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร ๔ ปี)
รับนิสิตไทย
และนิสิตต่างชาติที่มีพื้นฐานการใช้ภาษาไทยได้
การจัดการเรียนการสอน เปิดสอนเป็นวิชาเอกเลือก
๒๐๘๔๕๒ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ ๓(๓-๒-๕)
ที่มา : http://www.human.nu.ac.th/th/acad/courses-ba-thai.php
ชื่อหลักสูตร ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ(นานาชาติ)
(Course in Thai as a Foreign Language)
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรระดับปริญญาตรี ๔ ปี
การจัดการเรียนการสอน มุ่งให้ภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศเพื่อเป็นเครื่องมือสาหรับ
การศึกษา การประกอบอาชีพและการพัฒนาความสัมพันธ์อันดี ด้านการเมือง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม ในระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ บัณฑิตจะมีความสามารถ
ด้านภาษาต่างประเทศอย่างน้อย ๒ ภาษา กล่าวคือ ภาษาแม่ของผู้เรียน ภาษาอังกฤษ
และภาษาไทยอย่างดี
ที่มา : http://www.human.cmu.ac.th/curriculum.php
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย
Bachelor of Arts Program in Thai Language and Culture
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตร ๔ ปี จานวนหน่วยกิต เปิดรับนิสิตไทย และนิสิตต่างชาติ
โครงสร้างหลักสูตร รวมตลอดหลักสูตร ๑๔๑ หน่วยกิต
หมวดวิชาปรับพื้นฐานความรู้ภาษาไทย ๑๘ หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาบังคับหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๒๑ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเลือกหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๙ หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ ๘๖ หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
ที่มา : http://www.mfu.ac.th/bachelor-art-thaiculture.php
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
Bachelor of Arts Program in Thai
ลักษณะของหลักสูตร สอนระดับปริญญาตรี ๔ ปี สาขาวิชาภาษาไทย
การจัดการเรียนการสอน เปิดสอนเป็นวิชาเอกเลือก
๑๔๔๑๒๐ การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ๓(๒-๒-๕)
Teaching Thai as a Foreign Language
ที่มา: http://www.libarts.up.ac.th/v2/detail.php#D_3
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Arts Program in Thai )
ลักษณะของหลักสูตร สอนระดับปริญญาตรี ๔ ปี สาขาวิชาภาษาไทย
การจัดการเรียนการสอน เปิดสอนเป็นวิชาเอก-โท เลือก
THAI ๓๗๐๑ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
THAI ๔๗๐๒ การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
ที่มา: http://www.thai.cmru.ac.th/p3_Instruction.php
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย
Bachelor of Arts Program in Thai Language and Culture
ลักษณะของหลักสูตร เปิดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี รับนักศึกษาไทยและ
นักศึกษาชาวต่างชาติ ที่สามารถพูด ฟัง อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทยเป็นอย่างดี
การจัดการเรียนการสอน
จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๑๔๘ หน่วยกิต
ที่มา : http://www.reg.crru.ac.th/orasis2.010/?f=mis%2Fcurriculum%2Finfo%2Fmain.php
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
สาหรับชาวต่างประเทศ (Bachelor of Arts Program in Communicative Thai Language
for Foreigners)
ลักษณะของหลักสูตร เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี ๔ ปี
การจัดการเรียนการสอน นักศึกษามีการพัฒนาทักษะการสื่อสาร (ฟัง พูด อ่าน เขียน
และไทยศึกษา) เป็นไปตามเกณฑ์ของสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาว
ต่างประเทศ
ที่มา : http://www.ctlf.lpru.ac.th/index_main_html.php?name=course_th&file=course_th
โครงสร้างหลักสูตร
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๒๕ หน่วยกิต
๑. หมวดศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต
๒. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๘๙ หน่วยกิต
๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
ที่มา : http://www.ctlf.lpru.ac.th/index_main_html.php?name=course_th&file=course_th
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ
(Bachelor of Arts Program in Thai for Career )
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ
มุ่งความเป็นเลิศในการผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยอย่างมี
ประสิทธิผล สามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพในหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและ
เอกชน เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น
ที่มา: http://regis.nsru.ac.th/info/academic/course49/02_ThaiForProfessional.html
จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๑๓๐ หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จานวน ๓๑ หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ จานวน ๙๓ หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี จานวนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
ที่มา: http://regis.nsru.ac.th/info/academic/course49/02_ThaiForProfessional.html
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Arts Program in Thai)
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรี ๔ ปี
การจัดการเรียนการสอน จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า ๑๒๗ หน่วยกิต เปิดสอนเป็นรายวิชา
มส.ภท. ๒๕๖ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ ๓ (๓-๐-๖)
THAI256 Thai for Foreigners
ที่มา : http://huso.psru.ac.th/2015/pdf/laksoot/thai.pdf
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕)
(Bachelor of Arts Program in Thai)
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี จานวนหน่วยกิต
ที่เรียนตลอดหลักสูตร : ๑๒๗ หน่วยกิต
การจัดการเรียนการสอน เปิดสอนเป็นรายวิชา
๑๕๔๔๒๐๘ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ ๓ (๓-๐-๖)
Thai for Foreigners
ที่มา : http://human.uru.ac.th/Major/thai/thai55.pdf
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
( BACHELOR OF ARTS PROGRAM IN THAI FOR COMMUNICATION)
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) เป็ นหลักสูตรที่จัดการศึกษาเป็ นภาษาไทย
โดยเปิดสอนทั้งนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติ ในกรณีที่เป็นนักศึกษาต่างชาติ
ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องมีพื้นฐานภาษาไทยก็ได้ แต่จะต้องลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทย
พื้นฐานเป็นเวลา ๒ ภาคการศึกษา ทั้งนี้ผู้เรียนสามารถสาเร็จการศึกษาได้ภายใน
ระยะเวลา ๔ ปีตามกาหนด
การจัดการเรียนการสอน
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปจานวน ๓๐ หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๙๓ หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
เปิดสอนเป็นรายวิชาเอกเลือกและ หรือวิชาโท
การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ๑ ๑ (๓-๐-๖)
TC443 TEACHING THAI TO FOREIGNERS I
การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ๒ ๓ (๒-๒-๕)
TC444 TEACHING THAI TO FOREIGNERS II
ที่มา : http://thai.payap.ac.th/site/?page_id=5
หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ที่มาhttps://dl.dropboxusercontent.com/u/58513421/sylla
bus/art2559/thai-2559.pdf
เปิดสอนในรายวิชาเอกเลือก
411228 ภาษาไทยสาหรับการสอนชาวต่างประเทศ ๓(๓-๐-๖)
(Thai for Teaching Foreigners)
การจัดการเรียนการสอน
ลักษณะเฉพาะภาษาไทย สัมมนาภาษาไทย การวิจัยทางภาษาไทย ภาษากับวัฒนธรรมไทย
วรรณกรรมไทยเบื้องต้น ภาษาศาสตร์เบื้องต้นสาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ การอ่านออกเสียง
ภาษาไทย ภาษาไทยเพื่อการท่องเที่ยว
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
ลักษณะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรสาหรับนักศึกษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ (๔ ปี)
ที่มา: http//hs.pdru.ac.th
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
ลักษณะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรที่เปิดสอนสาหรับชาวต่างชาติ หลักสูตรภาษาไทย
สาหรับชาวต่างชาติ (หลักสูตร ๔ ปี)
การจัดการเรียนการสอน
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ ๘๖ หน่วยกิต
- หมวดวิชาเสรี ๖ หน่วยกิต
ที่มา: http//www.kur.ac.th/th/major/hum_thai_for_foreigners.pdf
ชื่อหลักสูตร ศูนย์การศึกษานักศึกษานานาชาติ
การจัดการเรียนการสอน ได้เปิดสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ จานวน ๒ หลักสูตร
๑. หลักสูตร ปริญญาตรี (๒+๒)
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (ศศ.บ. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
๒. หลักสูตรอบรมภาษาไทยระยะสั้น (ประกาศนียบัตร)
๒.๑ อบรมระยะสั้น ๑-๓ เดือน
๒.๒ อบรมระยะสั้น ๑ ปี
ที่มาhttp://dept.npru.ac.th/
ลักษณะของหลักสูตร เปิดให้บุคคลทั่วไปที่เป็นชาวต่างชาติ
การจัดการเรียนการสอน
การสอนภาษาไทย ฟัง-พูด ระดับเบื้องต้น ทุกวันจันทร์- ศุกร์ เวลา ๑๗.๐๐-๑๙.๐๐ น
ระหว่างวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ – ๕ มกราคม ๒๕๔๙
ที่มา http://www.kkw.rmutr.ac.th/thai/th2.html
โครงการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรระดับปริญญาตรี ๔ ปี ภาษาที่ใช้ คือ ภาษาไทย รับนักศึกษาที่ไม่ใช้
ภาษาไทยเป็นภาษาที่หนึ่ง และมีคุณสมบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
การจัดการเรียนการสอน
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๙๙ หน่วยกิต
- หมวดวิชาเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
ที่มา http://liberalarts.kbu.ac.th
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (M.A.)
สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง
ที่มา http://www.hcu.ac.th/master-degree
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรระยะสั้น ของสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
วิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง
ที่มา http://www.thai-itoh.ac.th/2015/course/collaborate/3/7/14
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรอบรมภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
ลักษณะของหลักสูตร
ระยะ ๑ ปี ๓๖๐ ชั่วโมง เน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ตั้งแต่ระดับเริ่มต้น
จนถึงระดับสูงให้กับชาวต่างชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับการศึกษาต่อใน
ระดับที่สูงขึ้น
ที่มา http://www.npu.ac.th/npuli/
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
( Preparatory Thai language program for foreigners)
ลักษณะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรระยะสั้นใช้เวลาเรียน ๓ - ๑๒ เดือน โครงสร้างของหลักสูตร
ประกอบด้วย
๑. ภาษาไทยเบื้องต้น ๒ รายวิชา
๒. ภาษาไทยระดับกลาง ๘ รายวิชา
๓. ภาษาไทยระดับสูง ๘ รายวิชา
รวม ๑๘ รายวิชา
การจัดการเรียนการสอน รับผู้เรียนที่เป็นชาวต่างประเทศที่ยังไม่มีความรู้พื้นฐานและทักษะฟัง พูด
อ่าน เขียนภาษาไทยมาก่อน หรือมีความรู้บ้างแต่ประสงค์จะเรียนรู้ภาษาไทยเพิ่มขึ้น
กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพสังคมและประวัติศาสตร์ โบราณคดีเกี่ยวกับประเทศไทยเพิ่มขึ้น
อาจจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรดังนี้
๑. ทัศนศึกษาแหล่งโบราณคดีและวัฒนธรรม เช่น โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์ หมู่บ้าน อุทยาน
ประวัติศาสตร์สุโขทัย อยุธยา วัดพระแก้ว วัดโพธิ์ วัดอรุณฯ วัดบวรนิเวศฯ
๒. กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมไทย เช่น การทาอาหารไทย การราไทย มวยไทย การแกะสลัก การเล่น
ดนตรีไทย การเล่นดนตรีพื้นบ้าน การร้องเพลงไทยเดิม การร้องเพลงลูกทุ่ง การร้องเพลงสมัยใหม่ เป็นต้น
ที่มา https://sites.google.com/site/khnamnusysastrmms/phakh-wicha/4-phakh-wicha-phasa-thiy-laea-
phasa-tawan-xxk/--phasa-thiy-ni-thana-phasa-tang-prathes
วัตถุประสงค์
 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ครู อาจารย์ผู้สอนภาษาไทย ตลอดจน
บุคคลทั่วไปที่สนใจการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ สาขาวิชาภาษาไทย
 เพื่อให้ครู อาจารย์และผู้สนใจ ได้รับความรู้ เทคนิคและกลวิธีการสอนที่สามารถนาไป
ปรับใช้ในการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา
http://human.msu.ac.th/husoc/news_acti_details.php?news=MTc3&%2F%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E
0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%20%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%
A9%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%202558
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ”
เวลา ระหว่างวันที่ ๗ - ๘ กันยายน ๒๕๕๘
ชื่อรายวิชา TH ๑๕๔๓๑๑๔ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (วิชาเลือก)
Thai for Foreigners
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชา ภาษาไทย
ที่มา
http://reg.rbru.ac.th/registrar/program_info_1.asp?f_cmd=2&levelid=21&programid=102746&facultyid=3&departmentname=%C0
%D2%C9%D2%E4%B7%C2&programname=%C0%D2%C9%D2%E4%B7%C2&facultyname=%C1%B9%D8%C9%C2%C8%D2%CA%B5%C
3%EC%E1%C5%D0%CA%D1%A7%A4%C1%C8%D2%CA%B5%C3%EC&levelname=%BB%C3%D4%AD%AD%D2%B5%C3%D5+%284+%B
B%D5%29#current
ลักษณะของเนื้อหาวิชา หน่วยกิต ๒ (๒-๐-๔)
ปัญหาของโครงสร้างภาษาไทยที่มีผลต่อความเข้าใจของชาวต่างประเทศในเรื่องการออกเสียง
การใช้คา การใช้ประโยค การสื่อความหมายและแนวทางการแก้ปัญหาการสื่อสารในบริบทของสังคมไทย
ชื่อรายวิชา (วิชาเอกเลือก) TH๑๕๔๔๑๐๓ การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
หน่วยกิต ๓ (๒-๒-๕) Thai Teaching for Foreigners
คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
ที่มา
http://reg.bru.ac.th/registrar/class_info_5.asp?courseid=2334&avs
400828829=287
ชื่อรายวิชา (วิชาเอกเลือก) TH๑๕๔๔๑๐๓ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
Thai for Foreigners
ลักษณะของเนื้อหาวิชา หน่วยกิต ๒ (๒-๐-๔)
ที่มา ข้อมูลสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ที่มาhttps://academic.reru.ac.th/index.php?option=com
_content&view=article&id=63&Itemid=245&lang=th
ชื่อรายวิชา (วิชาเอกเลือก) TH๑๕๔๔๑๐๓ ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
Thai for Foreigners
ลักษณะของเนื้อหาวิชา หน่วยกิต ๒ (๒-๐-๔)
การจัดการเรียนการสอน
วิเคราะห์และเปรียบเทียบโครงสร้างของภาษาไทยกับโครงสร้างของภาษาต่างประเทศ
สร้างบทเรียนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมแนวทางแก้ไข
และพัฒนาการใช้ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖
ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Thai as a Foreign Language
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
 มีความรู้เข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมไทยในระดับที่สื่อสารและถ่ายทอดได้อย่างถูกต้อง
 มีทักษะการใช้ภาษาไทยสาหรับการประกอบอาชีพในหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และอาชีพ
อิสระได้อย่างมีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ วิจัย การแก้ไขปัญหาและสร้างสรรค์งานด้วย
การสื่อสารภาษาไทย จากความรู้และประสบการณ์ เพื่อการทางานได้อย่างประสิทธิภาพ
มีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทย มีวิสัยทัศน์และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการนาความรู้ไปประกอบ
อาชีพ เพื่อพัฒนาสังคมและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์
ที่มา https://hs.kku.ac.th/hsthai/?p=112
ชื่อวิชา ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ Thai Language for Foreigners
หน่วยกิต ๓ (๓-๐-๖) รหัสวิชา ๓๑๕๓๒๐๕
คาอธิบายรายวิชา
หลักและทฤษฎีการสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ ในด้านการฟัง การพูด การ
อ่านและการเขียน การสอนวรรณกรรม วรรณคดี ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยเน้นการสอน
ภาษาไทยผ่านกระบวนการด้านวัฒนธรรมและเจตคติที่ดีต่อคนไทยและประเทศไทย
ที่มา http://ict.edu.snru.ac.th/adviser/course/201_55.pdf
จานวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต
นิสิตต่างชาติที่ไม่ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ทางภาษาไทยของภาควิชา ต้องเรียนรายวิชาต่อไปนี้
ก่อนเข้าศึกษาในหลักสูตร
๒๒๘๑๑๓ การสนทนาภาษาไทยในชีวิตประจาวัน
๒๒๘๑๑๔ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
http://www.huso.buu.ac.th/Download/Curriculum/Major/%E0%B8%A8%E0%B8%A8%E0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%
B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%
B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0
%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8.pdf
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔
หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการประกอบด้วย ๓ วิชาเอก ดังต่อไปนี้
ไทยศึกษาบูรณาการ วิชาเอกภาษาและวรรณกรรมไทย
ไทยศึกษาบูรณาการ วิชาเอกไทยศึกษานวัตกรรม
ไทยศึกษานวัตกรรม วิชาเอกภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
ที่มา http://sla.wu.ac.th/its/site/history
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีไทย
กลุ่มวิชาเอกบังคับ รายวิชา ภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ ๒ (๒-๐-๔)
ที่มาhttp://huso.pn.psu.ac.th/main/AcademicSection/Document/Under
graduate/03_BachelorofArts/12_Thai_Literature.pdf
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
รายละเอียดการอบรม
ระยะเวลาการอบรม : วันที่ ๒๗ เมษายน ถึง ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา : ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.
ค่าใช่จ่ายในการอบรม :
บุคคลทั่วไป ๔,๕๐๐ บาท
บุคลากรและนักศึกษาและศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ๔,๒๐๐ บาท
สถานที่อบรม : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ที่มาhttp://www.dpu.ac.th/arts/news/6/
ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์
เปิดอบรมการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศ
จัดอบรมหลักสูตร ๕๐ ชม. การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
Teaching Thai for Speakers of Other Languages (TTSOL)”
ที่มาhttp://www.spu.ac.th/siilc/2012/08/21/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%
B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E
0%B8%A3-50-%E0%B8%8A%E0%B8%A1-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA/#5
รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
รายวิชา กลุ่มวิชาเอกบังคับ
THA๓๓๕การสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศ ๓(๓-๐-๖)
Teaching Thai to Non-native Speakers
http://www.northbkk.ac.th/la/tha_subject.php
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
(Preparatory Thai language program for foreigners)
ที่มา https://sites.google.com/site/khnamnusysastrmms/phakh-wicha/4-phakh-wicha-phasa-thiy-laea-
phasa-tawan-xxk/--phasa-thiy-ni-thana-phasa-tang-prathes
ลักษณะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรระยะสั้นใช้เวลาเรียน ๓ - ๑๒ เดือน
๑. ภาษาไทยเบื้องต้น อ่านและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์การประกอบคาในภาษาไทย
๒. ภาษาไทยระดับกลาง สัทศาสตร์เพื่อการศึกษาภาษาไทย
๓. ภาษาไทยระดับสูง ๘ รายวิชา การฟังและการพูด การอ่าน การเขียน ภาษาไทยและศิลปะไทย
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (BA. in Thai)
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ. ๔ ปี) มี ๓ วิชาเอก
๒.๑ ภาษาและวรรณคดีไทย
๒.๒ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารมวลชน
๒.๓ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
ที่มา http://tol.hu.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=4880
(Communicative Thai for Foreigners)
ระดับปริญญาตรี สาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศที่ต้องการ
ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมไทยให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร์ ระดับปริญญาโท
ศศ.ม. แขนงวิชาการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
(Teaching Thai as a Foreign Language)
ที่มา http://admission.swu.ac.th/major/2556_01_05_01.pdf
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ต่อ)
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต)
(การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ )
(Graduate Diploma in Teaching Thai as a Foreign Language)
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์
ที่มา http://it.hu.swu.ac.th/hu/curriculum1.aspx
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
ลักษณะหลักสูตรการศึกษา
จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full time) โดย ๑ ปีการศึกษา
ประกอบด้วย ๒ ภาคการศึกษา ได้แก่ ภาคต้น และภาคปลาย เวลาเรียน ในเวลาราชการ จัดการเรียน
การสอนในวันจันทร์ - วันศุกร์
ที่มา http://eduserv.ku.ac.th/academics%202008/PDF/ku/human/CS_B.A.Thai.Language.Inter_56.pdf
ที่มาhttps://sites.google.com/a/mahidol.edu/service/xbrm-phu-sxn-phasa-thiy-hi-chaw-tang-chati
หลักสูตรอบรม “ผู้สอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ” รุ่นที่ ๕
วัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. เพื่อจัดอบรมผู้สอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
๒. เพื่อให้บริการวิชาการของคณาจารย์ คณะศิลปศาสตร์ออกสู่ชุมชน
วันเวลา / สถานที่ วันที่ ๒๑ – ๒๙ มกราคม ๒๕๖๐ (ทุกวันเสาร์ – อาทิตย์)
ณ อาคารสิริวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
วิธีการอบรม การบรรยาย อภิปราย และฝึกปฏิบัติ อัตราค่าลงทะเบียน คนละ ๕,๐๐๐ บาท
ผู้เข้าอบรมที่เข้าอบรมตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ ของช่วงเวลาเต็มจะได้รับวุฒิบัตรรับรองการ ผ่านการอบรม ๑ ฉบับ
วิชาเอกเลือกเพิ่มเติม
๑๕๔๒๒๒๑ การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ ๓(๒-๒-๕)
Teaching Thai as a Foreign Language
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (๕ ปี)
Bachelor of Education Program in Thai
ที่มา http://edu.vru.ac.th/website/download/course/57course/thai5-57.pdf
ที่มา http://www.arts.chula.ac.th/~asc/home/blog/category/lang/
โครงการอบรมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนอกเวลาราชการ)
Communicative Thai for Beginners
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๔ มกราคม – ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๐
หัวข้ออบรม อบรมความรู้ภาษาไทยระดับเบื้องต้น เน้นการฝึกทักษะการฟังและการพูด บทสนทนาและคาศัพท์ใน
ชีวิตประจาวัน และความรู้ทางวัฒนธรรมของไทยที่สาคัญและจาเป็นต่อการใช้ชีวิตในประเทศไทย
ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรม
การอบรมแต่ละคอร์สใช้เวลารวม ๔๐ ชั่วโมง รอบวันธรรมดา
อบรมทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ วันละ ๒ ชั่วโมง รวม ๒๐ ครั้ง ระหว่างเวลา ๑๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ น.
อบรมวันเสาร์ อบรมวันละ ๔ ชั่วโมง รวม ๑๐ ครั้ง ระหว่างเวลา ๑๐.๐๐- ๑๒.๐๐ น. เวลา ๑๓.๐๐- ๑๕.๐๐น.
รหัสวิชา ๑๕๔๓๖๐๓
ชื่อวิชา ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ Thai for foreigners ๒ (๒-๐)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ ที่สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาไทย
โดยผ่านเกณฑ์การทดสอบทางภาษาไทย SD-Thai Test จากมหาวิทยาลัยดุสิต
ที่มา http://www.human.dusit.ac.th/program/a_cirriculum/thai.pdf
รหัสวิชา ๑๕๓๒๑๐๒
ชื่อวิชา ภาษาศาสตร์ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ หน่วยกิต ๓(๒-๒-๕)
Thai Linguistics for Foreigners
เปิดสอนนักศึกษาไทยตามหลักสูตรปกติ
ที่มา http://regis.dru.ac.th/DescriptionKH/descriptionLI.php?course_id=1640
คอร์สภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ Thai for foreigners
จานวน 20 hours
จัดโดยสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ฝึกอบรมเกี่ยวกับระดับการเขียนและการ
อ่านภาษาไทย ในเรื่องของวรรณยุกต์ สระ
พยัญชนะ สระผสม ตัวสะกด พยัญชนะควบกล้า
ศึกษาบทสนทนาใน ชีวิตประจาวัน เช่น
การต้อนรับ การทักทาย การรับประทาน
อาหารไทย การโดยสาร การบอกเวลา
ที่มา http://www.ril.ru.ac.th/viewcourse_6.php
โครงการอบรมภาษาต่างประเทศสาหรับบุคคลทั่วไปรุ่นที่ ๑
จัดโดยศูนย์ภาษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
เปิดอบรมภาคฤดูร้อน ๘ หลักสูตร ดังนี้
ที่มา http://web.chandra.ac.th/lang/course.html
เปิดอบรมหลักสูตรภาษาไทย สาหรับชาวต่างชาติ
โครงการจัดตั้งสถาบันการศึกษานานาชาติ เปิดรับสมัครชาวต่างชาติ
เข้าอบรมหลักสูตรภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ เพื่อเตรียมเข้าศึกษาต่อใน
หลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หรือ
สาหรับชาวต่างชาติที่ต้องการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน
ที่มา www.ubru.ac.th/.../7%20จันทร์ที่%2019_conflict-๒๐๑๕๐๙๐๑-๑๓๕๙๑๕.docx

More Related Content

What's hot

บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศlinda kriluck
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNamTarn Sasima
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศจีระภา ตราโชว์
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)G ''Pamiiz Porpam
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศPuck Songpon
 
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศหลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศokpkanjana
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศjutamat tawebunyasap
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNuzzNussara
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑Oiw Kiddie
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง jutamat tawebunyasap
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยNamTarn Sasima
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisTeacher Sophonnawit
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่jutamat tawebunyasap
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์เจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1Medploy Ploypraphat
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)Teacher Sophonnawit
 

What's hot (20)

บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศหลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysis
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
 

Viewers also liked

D2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศD2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศAorsuwanee
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431vanichar
 
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศD2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศAorsuwanee
 
ปฏิทิน รายเดิอน
ปฏิทิน รายเดิอนปฏิทิน รายเดิอน
ปฏิทิน รายเดิอนAorsuwanee
 
สุวณีย์ No.16 d.3
สุวณีย์ No.16 d.3สุวณีย์ No.16 d.3
สุวณีย์ No.16 d.3Aorsuwanee
 
แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3
แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3
แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3Aorsuwanee
 
ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21Pa'rig Prig
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูSuwanan Nonsrikham
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)Aorsuwanee
 
Education in Rancho Santa Margarita California
Education in Rancho Santa Margarita CaliforniaEducation in Rancho Santa Margarita California
Education in Rancho Santa Margarita CaliforniaKingdom Academy
 
A framework for differentiated instruction
A framework for differentiated instructionA framework for differentiated instruction
A framework for differentiated instructionsuesharma
 
U3 t3 4-aa3_marcosgaspar
U3 t3 4-aa3_marcosgasparU3 t3 4-aa3_marcosgaspar
U3 t3 4-aa3_marcosgasparHITRATT
 
3Com 3C96612M-TP
3Com 3C96612M-TP3Com 3C96612M-TP
3Com 3C96612M-TPsavomir
 
Victor carrizo
Victor carrizo Victor carrizo
Victor carrizo victorVzL
 
What Kind of Experience is Musical Experience
What Kind of Experience is Musical ExperienceWhat Kind of Experience is Musical Experience
What Kind of Experience is Musical ExperienceVitor Guerreiro
 

Viewers also liked (20)

D2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศD2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่ 4 การสำรวจหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431
 
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศD2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
ปฏิทิน รายเดิอน
ปฏิทิน รายเดิอนปฏิทิน รายเดิอน
ปฏิทิน รายเดิอน
 
สุวณีย์ No.16 d.3
สุวณีย์ No.16 d.3สุวณีย์ No.16 d.3
สุวณีย์ No.16 d.3
 
แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3
แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3
แผ่นพับ สุวณีย์ No.16 d3
 
ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Education in Rancho Santa Margarita California
Education in Rancho Santa Margarita CaliforniaEducation in Rancho Santa Margarita California
Education in Rancho Santa Margarita California
 
Tarea 1
Tarea 1Tarea 1
Tarea 1
 
A framework for differentiated instruction
A framework for differentiated instructionA framework for differentiated instruction
A framework for differentiated instruction
 
U3 t3 4-aa3_marcosgaspar
U3 t3 4-aa3_marcosgasparU3 t3 4-aa3_marcosgaspar
U3 t3 4-aa3_marcosgaspar
 
3Com 3C96612M-TP
3Com 3C96612M-TP3Com 3C96612M-TP
3Com 3C96612M-TP
 
Cooking for Freedom
Cooking for FreedomCooking for Freedom
Cooking for Freedom
 
Victor carrizo
Victor carrizo Victor carrizo
Victor carrizo
 
Electrician CV.(1)
Electrician CV.(1)Electrician CV.(1)
Electrician CV.(1)
 
What Kind of Experience is Musical Experience
What Kind of Experience is Musical ExperienceWhat Kind of Experience is Musical Experience
What Kind of Experience is Musical Experience
 

Similar to D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ

งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีSutat Inpa
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4okpkanjana
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยnokporn phetwiset
 
ประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxAlexandrosTao
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอกมหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอกpotemax
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3Tharinee Japhimai
 
Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Thai Cooperate in Academic
 

Similar to D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ (13)

งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
 
ประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docx
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอกมหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
 
Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013
 
Thai Language and Culture in the ES
Thai Language and Culture in the ESThai Language and Culture in the ES
Thai Language and Culture in the ES
 

D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ