SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
รายชื่อสมาชิก
1. นางสาวขนิษฐา โพธิ รหัส 5681124008
2. นางสาวนันทยา ส่งเสริม รหัส 5681124025
3. นางสาวมาริษา กุนันตา รหัส 5681124046
4. นางสาวภัทราพร เรืองบุศ รหัส 5681124051
5. นางสาวชฎาพร สีวอ รหัส 5681124059
6. นางสาวสาวิตรี แขมคา รหัส 5681124075
7. นางสาววรรณา สมบัติวงศ์ รหัส 5681124078
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาที่สอน
ในการสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศนั้น ถือเป็นการสอน
ข้ามวัฒนธรรมทั้งด้านความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และประเพณี ซึ่งมีทั้งสิ่ง
ที่แตกต่างและคล้ายคลึงกัน ทาให้เกิดปัญหา คือ ผู้เรียนถูกอิทธิพลภาษา
ที่หนึ่งหรือภาษาแม่เข้ามาแทรกแซงขณะที่เรียนภาษาเป้าหมาย
ดังนั้นหลักการของการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ จึงควร
เริ่มต้นจากการวางแผนด้วยการ “วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างภาษา
ของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย” (Contrastive Analysis) ซึ่งเป็นวิธีการของ
Jack C. Richards
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาที่สอน (ต่อ)
การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างภาษาของผู้เรียนกับ
ภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis) นี้ เป็นการวิเคราะห์ความ
คล้ายคลึงและความแตกต่างของภาษาทั้งสองก่อนที่จะสอน ซึ่งถือว่า
มีความสาคัญมากในกระบวนการสอน เนื่องจากลักษณะทางภาษาที่มี
ความคล้ายคลึงกันจะเป็นการเอื้อหนุนการเรียนรู้ให้เร็วยิ่งขึ้น และช่วย
ให้กระบวนการสอนมีความง่ายยิ่งขึ้น
การให้โอกาสผู้เรียนเตรียมตัวในการเรียนภาษาใหม่
ครูอาจจะให้ผู้เรียนดูแผนภูมิเสียงภาษาไทย (Table of Thai
consonants and vowels) แล้วครูสอนออกเสียงแล้วให้นักเรียน
ออกเสียงตาม หากเสียงใดมีหรือไม่มีในภาษาอังกฤษก็จะ
แนะนาวิธีการออกเสียงที่ถูกต้อง เช่น คาว่า “เงิน” เสียง ง / ng /
ของไทยมีทั้งตาแหน่งต้นคาและท้ายคา แต่ในภาษาอังกฤษมีเฉพาะ
ตาแหน่งท้ายในคาว่า singing เวลาจะออกเสียงคาว่า “เงิน” ควรออก
คาว่า sing ก่อน แล้วค่อยออกเสียง ngәәn ตาม จากนั้นให้ออกเสียง
ngәәn เดี่ยวๆ
การให้โอกาสผู้เรียนเตรียมตัวในการเรียนภาษาใหม่ (ต่อ)
ส่วนเสียง อือ /uu / ไม่มีในภาษาอังกฤษไม่สามารถ
ยกตัวอย่างคาในภาษาอังกฤษให้ดูได้ แต่แนะนาให้ออกเสียง /uu/ ก่อน
แล้วยิ้มหรือแสยะยิ้ม เมื่อแนะนาอย่างนี้ ผู้เรียนก็จะเปรียบเทียบกับ
ภาษาของตนเองได้
การให้โอกาสผู้เรียนเตรียมตัวในการเรียนภาษาใหม่ (ต่อ)
นอกจากนี้ในการสอนโครงสร้างประโยคครูจะต้องชี้แจ้งให้
ผู้เรียนเข้าใจก่อนว่า ภาษาไทยบางอย่างก็เหมือนภาษาอังกฤษและ
บางอย่างก็แตกต่างกับภาษาอังกฤษ เช่น It’s not far form here (มัน
ไม่ไกลจากที่นี่) แปลตรงตัวได้ทันที และในภาษาไทยวางส่วนขยายหลัง
คาที่ขยาย แต่ภาษาอังกฤษจะวางส่วนขยายหน้าคาขยาย ซึ่งผู้เรียน
อาจจะยังเคยชินกับภาษาที่หนึ่งหรือภาษาแม่อยู่ การฝึกจะช่วยแก้นิสัย
ละปลูกฝังความเคยชินใหม่ ดังนั้น “การสอนแบบตรง” (Direct
method) จึงมีข้อดี คือ ช่วยไม่ให้ผู้เรียนใช้การแปลเป็นภาษาของตนอยู่
ตลอดเวลา
การทาความเข้าใจความรู้สึกของผู้เรียน
บางครั้งผู้เรียนชาวต่างประเทศอาจจะไม่เข้าใจประโยค
คาถามซ้อนปฏิเสธและวิธีการตอบของไทย เช่น
คาถาม ไม่หิวหรือ, ไม่ชอบหรือ, ไม่อร่อยหรือ
คาตอบ ใช่ ไม่หิว, เปล่าครับ ชอบ, ครับ ไม่อร่อย
ประโยคเหล่านี้สาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศรู้สึกว่ายาก แต่
ผู้สอนเคยชินอยู่แล้ว จึงไม่รู้สึกเช่นนั้น จึงทาให้ไม่เข้าใจความรู้สึกของ
ผู้เรียน เพราะฉะนั้นจึงจาเป็นต้องทาการ วิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา
ก่อน เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนเข้าใจก่อนว่าสองภาษานี้เหมือนหรือแตกต่าง
กันในด้านใด อย่างไร
การทาความเข้าใจความรู้สึกของผู้เรียน (ต่อ)
ประโยชน์ของการวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษา
 ช่วยให้ผู้สอนเข้าถึงปัญหาล่วงหน้า และเตรียมการสอนให้ถูกต้องรัดกุม
 ช่วยชี้ขอบข่ายของความลาบาก หรือปัญหาที่เกิดขึ้นในการเรียนรู้
 ช่วยให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมเนื้อหาในการสอนได้เหมาะสมยิ่งขึ้น
 สามารถให้เหตุผลกับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้
 ช่วยในการจัดทาแบบทดสอบและประเมินผล
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาญี่ปุ่น
เสียงพยัญชนะ
1. ในกรณีที่ภาษาไทยถือเป็น 2 หน่วยเสียง แต่ภาษาญี่ปุ่นถือเป็นหน่วย
เสียงเดียว
ภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น
P (ป), ph (ผ พ ภ) P
t (ต ฏ), th (ถ ท ธ ฑ ฒ) t
k (ก), kh (ข ค ฆ) k
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาญี่ปุ่น (ต่อ)
2. เสียงพยัญชนะบางเสียงคล้ายคลึงกันบางส่วน แต่ไม่เหมือนกันทีเดียว
เช่น / r / , / j /
3. เสียงที่ไม่มีในภาษาไทย แต่มีในภาษาญี่ปุ่น เช่น g, ts, dz, t∫, d3, Ø,
z, ∫, 3, N
4. เสียงที่ไม่มีในภาษาญี่ปุ่น แต่มีในภาษาไทย เช่น ph, th, kh, ng, ?
5. เสียงตัวสะกดในภาษาญี่ปุ่นมีเพียงเสียง /- n/ และเปลี่ยนได้เป็น
/ -m /, / -n /, / - ng / แล้วแต่พยัญชนะที่ตามมา แต่ตัวสะกดใน
ภาษาไทยมี 9 เสียง
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาญี่ปุ่น (ต่อ)
1. ภาษาไทยมีเสียงสระมากกว่าภาษาญี่ปุ่น คือ ในภาษาญี่ปุ่นไม่มี แ – ะ
กับ แ - ในและมีเสียงสระบางเสียงมีความคล้ายคลึงกัน ทาให้ผู้เรียน
มีปัญหาในการออกเสียง เช่น เ-ะ กับ เ- ของญี่ปุ่นเมื่ออกเสียงลิ้นจะ
ต่ากว่า เ-ะ กับ เ- ของไทย
2. เสียงที่ไม่มีในภาษาญี่ปุ่น แต่มีในภาษาไทย เช่น e, æ, i, ∂, ‫כ‬u, ia, ua
รวมทั้งการออกเสียงสระให้สั้น – ยาว เป็นเรื่องที่ต้องฝึกฝน ชี้ให้เห็น
ถึงความแตกต่างโดยใช้แบบฝึก เช่น ไข – ขาย, ไกล – กลาย
เสียงสระ
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาญี่ปุ่น (ต่อ)
ในภาษาญี่ปุ่นไม่มีเสียงวรรณยุกต์ แต่มีการเน้นเสียง (accent)
คือ มีระดับเสียงในคาหรือวลี เช่น
hí ga พระอาทิตย์
hì ga ไฟ
kì ga ความรู้สึก
kí ga ต้นไม้
hashì ตะเกียบ
hashí สะพาน
วิธีการเปรียบเทียบภาษา
(Suggest Produces for Contrastive Analysis)
สุธินี สุขตระกูล (2526) เสนอวิธีการเปรียบเทียบภาษาที่ดี คือ
การนาวิธีของแรนดัล วิทแมน (Randal L. Whitman) ผสมผสานกับ
วิธีการของ ดี เพียโทร (De Phiatro) โดยวิธีของวิทแมนเป็นการแบ่ง
ขั้นตอน การเตรียมการวิเคราะห์และเปรียบเทียบอย่างกว้างๆ ส่วนวิธีของ
ดี เพียโทร เป็นรายละเอียดของการเปรียบเทียบภาษา
แผนภูมิแสดงขั้นตอนวิธีการเปรียบเทียบภาษา
L1 (D1)
(X)
(X/Y) (P)
(Y)
L2 (D2)
วิธีการเปรียบเทียบเพื่อความชัดเจนควรเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ต้องสังเกตความแตกต่างระหว่างโครงสร้างผิวของทั้งสองภาษา
อาจสังเกตได้จากส่วนที่ขาดไปจากภาษาหนึ่งหรือเกิดขึ้นมาจากภาษา
หนึ่ง
2. ต้องพิจารณาส่วนที่เป็นสากล แล้วพยายามหาข้ออ้างอิงมาอธิบาย
ปัญหานั้น
3. ควรหาขั้นตอนและกฎที่เปลี่ยนรูปแบบของส่วนนั้นจากโครงสร้าง
ลึกมาสู่โครงสร้างผิวในการวิเคราะห์และเปรียบ โดยพยายามหากฎที่
ร่วมกันให้มากที่สุด
ต่อจากการเปรียบเทียบขั้นสุดท้าย คือ ขั้นทานายสิ่งที่เป็น
ปัญหา อาจจะทาได้ 2 วิธี คือ
1. จากขั้นตอนของการเปรียบเทียบซึ่งไม่ได้เป็นการทานายโดย
แท้จริง แต่เป็นปัญหาที่เห็นได้จากการเปรียบเทียบ
2. การทานายปัญหาจากการใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา
อธิบาย โดยใช้หลักจิตวิทยาเข้ามาเสริมส่วนที่เป็นปัญหา

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนthitiya Pasomboon
 
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นHai Wu
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
สื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
สื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพสื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
สื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพpanjit
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPwaranyuati
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
คำไวพจน์
คำไวพจน์คำไวพจน์
คำไวพจน์Jean Arjarasiri
 
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)Teacher Sophonnawit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
สื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
สื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพสื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
สื่อการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSP
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
คำไวพจน์
คำไวพจน์คำไวพจน์
คำไวพจน์
 
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
แผนที่ 8 local food (kaeng kae kai)
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 

Similar to บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย

หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติJarinya Chaiyabin
 
โครงงานภาษาไทย อรณี
โครงงานภาษาไทย อรณีโครงงานภาษาไทย อรณี
โครงงานภาษาไทย อรณีmai-mai
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีSopa Aruncharoenkit
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จshelercherries
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศthanakit553
 

Similar to บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย (20)

คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
โครงงานภาษาไทย อรณี
โครงงานภาษาไทย อรณีโครงงานภาษาไทย อรณี
โครงงานภาษาไทย อรณี
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรี
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
Reading
ReadingReading
Reading
 

บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย