SlideShare a Scribd company logo
1 of 187
1

หลัก สูต รนิต ิศ าสตร
บัณ ฑิต
สาขาวิช านิต ศ าสตร์
ิ

หลัก สูต รปรับ ปรุง พ.ศ. 2555

คณะมนุษ ยศาสตร์แ ละ
สัง คมศาสตร์
มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ จัน ทร
เกษม
พุท ธศัก ราช 2555
2

สารบัญ
หน้า
หลัก สูต รนิต ิศ าสตรบัณ ฑิต สาขาวิช าวิช านิต ิศ าสตร์ หลัก สูต ร
ปรับ ปรุง พ.ศ. 2555
1
หมวดที่ 1 ข้อ มูล ทั่ว ไป
1
1. ชื่อหลักสูตร
1
2. ชื่อปริญญา
1
3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้าไม่มีไม่
ต้องระบุ)
1
4. จำานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
1
5. รูปแบบของหลักสูตร
1
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบ
หลักสูตร
2
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
2
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำาเร็จการศึกษา
2
9. ชื่อ-นามสุกล ตำาแหน่งทางวิชาการ และคุณวุฒิการศึกษาของ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
3
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำาเป็นต้องนำามา
พิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
3
12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความ
เกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
4
13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่น
ของสถาบัน
5
หมวดที่ 2 ข้อ มูล เฉพาะของหลัก สูต ร
1. ปรัชญา ความสำาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
2. แผนพัฒนาปรับปรุง

6
6
6

หมวดที่ 3 ระบบการจัด การศึก ษา การดำา เนิน การ และ
โครงสร้า งหลัก สูต ร

10
3
1.
ระบบการจัดการศึกษา
10
2.
การดำาเนินการหลักสูตร
10
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
13
3.1
หลักสูตร
13
3.2 ชื่อ สกุล ตำาแหน่ง และคุณวุฒิของอาจารย์
44
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน
หรือสหกิจศึกษา)
51
5. ข้อกำาหนดเกี่ยวกับการทำาโครงงานหรืองานวิจัย
52
หน้า
หมวดที่ 4 ผลการเรีย นรู้ กลยุท ธ์ก ารสอนและการประเมิน ผล
54
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
54
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
55
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียน
รู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)
59
หมวดที่ 5 หลัก เกณฑ์ใ นการประเมิน ผลนัก ศึก ษา
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
3. เกณฑ์การสำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

73
73
74
75

หมวดที่ 6 การพัฒ นาคณาจารย์
1. การเตรียมการสำาหรับอาจารย์ใหม่
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์

75
75
75

หมวดที่ 7 การประกัน คุณ ภาพหลัก สูต ร
1. การบริหารหลักสูตร
2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน
3. การบริหารคณาจารย์
4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
5. การสนับสนุนและการให้คำาแนะนำา นักศึกษา

76
76
77
78
79
79
4
6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึง
พอใจของผู้ใช้บัณฑิต
80
7. ตัวบ่งชี้ผลการดำาเนินงาน (Key Performance Indicators)
80
หมวดที่ 8 การประเมิน และปรับ ปรุง ดำา เนิน การของหลัก สูต ร 82
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
83
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
83
3. การประเมินผลการดำาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 83
4. การทบทวนผลการประเมินวางแผนปรับปรุงหลักสูตร และแผน
กลยุทธ์การสอน
84

หน้า

เอกสารภาคผนวก
85
เอกสารหมายเลข 1 ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลักสูตร
ปรับปรุง
86
เอกสารหมายเลข 2 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ว่า
ด้วยการจัดการศึกษาระดับ
94
ปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554
เอกสารหมายเลข 3 การกำาหนดรหัสวิชาของสาขาวิชา 109
เอกสารหมายเลข 4 หนังสือรับรองมาตรฐานและข้อกำาหนดของ
องค์กรวิชาชีพ
114
4.1 หนังสือรับรองมาตรฐานและข้อกำาหนดของเนติ
บัณฑิตยสภา
115
4.2 หนังสือรับรองมาตรฐานและข้อกำาหนดสภา
ทนายความ
116
เอกสารหมายเลข 5 ประวัติอาจารย์ประจำาสาขาวิชานิติศาสตร์
117
เอกสารหมายเลข 6 ห้องสมุดนิติศาสตร์
121
เอกสารหมายเลข 7 ศาลจำาลอง
125
เอกสารหมายเลข 8 ผลการสำารวจความพึงพอใจของหน่วยงาน
และสถานประกอบการ
128
ต่อบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
เอกสารหมายเลข 9 ผลงานทางวิชาการคณาจารย์
132
5

หลัก สูต รนิต ิศ าสตรบัณ ฑิต
สาขาวิช าวิช านิต ิศ าสตร์
หลัก สูต รปรับ ปรุง พ.ศ. 2555
ชื่อ สถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วิท ยาเขต /คณะ/ภาควิช า
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ภาควิชาสังคมศาสตร์

หมวดที่ 1
ข้อ มูล ทั่ว ไป

1. ชื่อ หลัก สูต ร
ภาษาไทย : หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
2. ชื่อ ปริญ ญา
ชื่อเต็ม

: Bachelor of Laws Program
: นิติศาสตรบัณฑิต
: Bachelor of Laws
6
ชื่อย่อ

: น.บ.
: LL.B. (Legum Baccalaureus)

3. วิช าเอกหรือ ความเชี่ย วชาญเฉพาะของหลัก สูต ร (ถ้า ไม่ม ีไ ม่
ต้อ งระบุ)
- ไม่มี –
4. จำา นวนหน่ว ยกิต ที่เ รีย นตลอดหลัก สูต ร
ไม่น้อยกว่า 137 หน่วยกิต
5. รูป แบบของหลัก สูต ร
5.1
รูป แบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
5.2
ภาษาที่ใ ช้
ภาษาไทย
5.3
การรับ เข้า ศึก ษา
รับนักศึกษาไทย
5.4
ความร่ว มมือ กับ สถาบัน อื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
5.5
การให้ป ริญ ญาแก่ผ ู้ส ำา เร็จ การศึก ษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลัก สูต รและการพิจ ารณาอนุม ัต ิ /เห็น ชอบ
หลัก สูต ร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ปรับปรุงจากหลักสูตรนิติศาสตร
บัณฑิต พ.ศ. 2549
เปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป
สภาวิชาการเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 20/2554 วันที่ 29
เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554
สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 1/2555 วันที่ 11
เดือน มกราคม พ.ศ. 2555
7. ความพร้อ มในการเผยแพร่ห ลัก สูต รที่ม ีค ุณ ภาพและ
มาตรฐาน
ปีการศึกษา 2557 (หลังจากเปิดสอนแล้ว 2 ปี)
7
8. อาชีพ ที่ส ามารถประกอบได้ห ลัง สำา เร็จ การศึก ษา
8.1
ผู้พิพากษาหรือตุลาการศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาล
ทหาร
8.2
พนักงานอัยการหรือนายทหารพระธรรมนูญ
8.3
ทนายความหรือที่ปรึกษาทางกฎหมาย
8.4
นิติกรภาครัฐหรือเอกชน
8.5 เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง เช่น ปลัดอำาเภอ ปลัดองค์การ
บริหารส่วนตำาบล ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
8.6 นายตำารวจสัญญาบัตร นายทหารสัญญาบัตร
8.7 นักการทูตหรือเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ
8.8 เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐสังกัดสำานักงานศาลยุติธรรม
สำานักงานอัยการสูงสุดหรือสังกัดกระทรวงยุติธรรม
8.9
นักวิชาการด้านกฎหมายหรือครูในระดับขั้นพื้นฐานหรือ
อาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
8.10 เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลของภาครัฐและเอกชน
8.11 นักการเมืองระดับชาติและระดับท้องถิ่น
9. ชื่อ -นามสุก ล ตำา แหน่ง ทางวิช าการ และคุณ วุฒ ิก ารศึก ษา
ของอาจารย์ผ ู้ร ับ ผิด ชอบหลัก สูต ร
ตำา แหน่
ลำา ดั
ง
บที่
ทาง
วิช าการ

ชือ -นามสกุล
่

คุณ วุ
ฒิ

1.

อาจารย์ นายเอกพงษ์ สาร
น้อย

น.ม
น.บ.

2.

อาจารย์ นายเจนพล ทอง
ยืน

น.ม.
น.บ.

3.

อาจารย์ นางวัฒนา เล็กพูล น.ม.
เกิด
น.บ.

4.

อาจารย์ นางพัชมณ ใจ
สอาด

น.ม.
น.บ.

สาขาวิช า

ปีท ี่จ บ

กฎหมาย
มหาชน
นิติศาสตร์
กฎหมาย
มหาชน
นิติศาสตร์
กฎหมาย
มหาชน
นิติศาสตร์
กฎหมาย
ธุรกิจ
นิติศาสตร์

2547
2541
2545
2540
2547
2541
2548
2541
8
5.

อาจารย์ น.ส.เบญจวรรณ
ธรรมรัตน์

น.ม.
น.บ.

กฎหมาย
ธุรกิจ
นิติศาสตร์

2548
2540

10. สถานที่จ ัด การเรีย นการสอน
10.1
ห้องเรียนทฤษฏี
10.2
ห้องปฏิบัติการศาลจำาลองมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จันทรเกษม แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
11. สถานการณ์ภ ายนอกหรือ การพัฒ นาที่จ ำา เป็น ต้อ งนำา มา
พิจ ารณาในการวางแผนหลัก สูต ร
11.1 สถานการณ์ห รือ การพัฒ นาทางเศรษฐกิจ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.
2550 - 2554) ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาในกระแส
โลกาภิวัฒน์มีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ มีการรวมตัวของกลุ่ม
เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงในสังคมเมือง การพัฒนาประเทศจะต้อง
ดำาเนินการไปพร้อมกับการพัฒนาและยกระดับการศึกษา
ผลกระทบจากสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและ
วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทำาให้จำาเป็นต้องพัฒนา
หลักสูตรนิติศาสตร์อย่างบูรณาการและมีศักยภาพในเชิงรุกและ
สร้างสรรค์ ให้ตรงกับความต้องการของตลาด เพื่อเชื่อมโยงเป็นเครือ
ข่ายสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการผลิตบุคลากรทาง
กฎหมายที่มีความสามารถเฉพาะด้าน มีความรู้ดีทางด้านภาษาต่าง
ประเทศและกฎหมายธุรกิจ มีวิสัยทัศน์และความคิดสร้างสรรค์พร้อม
ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
แรงงาน ผู้ใช้บัณฑิตและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเพื่อให้ทันต่อคู่แข่งขัน
และการเปลี่ยนแปลงของโลก
ปรัชญาของมหาวิทยาลัยที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา
ท้องถิ่น กล่าวไว้ว่าต้องผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำานึกในความ
เป็นไทย มีความรักและผูกพันท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
จากสถานการณ์และความจำาเป็นข้างต้น การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ทางด้านนิติศาสตร์ให้มีความพร้อมทั้งด้านความรู้ที่ดี จึงมีความ
จำาเป็นและมีความสำาคัญต่อการรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของ
การพัฒนา
9
11.2 สถานการณ์ห รือ การพัฒ นาทางสัง คมและวัฒ นธรรม
การนำาองค์ความรู้และทักษะด้านนิติศาสตร์มาสนับสนุนในการ
ป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญาของภูมิปัญญาท้อง
ถิ่นไทย ปัญหาอาชญากรรมและสังคมปัญหาการก่อการร้าย การระบาด
ของโรคพันธุกรรมใหม่ๆ และการค้ายาเสพติดในหลายรูปแบบจึงจำาเป็น
ต้องมีการพัฒนาคนให้มีคุณธรรมนำาความรู้ เข้าใจกฎหมายต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวัน และกฎหมายระหว่างประเทศ
11.2.1 ภาคประชาชนสามารถเสนอกฎหมายและตรวจสอบ
อำานาจรัฐ โดยยื่นถอดถอนผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมือง ทำาให้ระดับ
ความโปร่งใสของประเทศไทยในมุมมองของนักธุรกิจต่างชาติขยับตัว
ในระดับดีขึ้น
11.2.2 สถาบันมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนและ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากสถานการณ์และการพัฒนาทาง
วัฒนธรรมสังคมดังกล่าวจึงมีความจำาเป็นต้องให้มีความพร้อมทางด้าน
นิติศาสตร์ เพื่อเป็นการรองรับและสนับสนุนการพัฒนาทางสังคมและ
วัฒนธรรม ซึ่งต้องใช้บุคลากรทางด้านนิติศาสตร์ที่มีคุณภาพ
12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อ การพัฒ นาหลัก สูต รและความ
เกี่ย วข้อ งกับ พัน ธกิจ ของสถาบัน
12.1 การพัฒ นาหลัก สูต ร
หลักสูตรมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนาให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
12.1.1 หลักสูตรมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่าง
ประเทศ
12.1.2 หลักสูตรมีมาตรฐานให้ผู้จบการศึกษามีมาตรฐานใน
วิชาชีพทางนิติศาสตร์
12.2 ความเกี่ย วข้อ งกับ พัน ธกิจ ของสถาบัน
12.2.1 สถาบันต้องผลิตบัณฑิตที่มีบุคลิกภาพและมาตรฐานเป็น
ที่ต้องการของสังคม
12.2.2 สถาบันต้องสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความพร้อมทุกด้าน
ตามการพัฒนาหลักสูตรในข้อ 12.1 การพัฒนาหลักสูตรและมีความ
เกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบันตามข้อ 12.2
13. ความสัม พัน ธ์ก ับ หลัก สูต รอื่น ที่เ ปิด สอนในคณะ /ภาควิช า
อื่น ของสถาบัน
10
13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาค
วิชา/หลักสูตรอื่น
-ไม่มี13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/
หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน
LAWP2107
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
3(30-6)
LAWP2108
กฎหมายและจรรยาบรรณสื่อสารมวลชน
3(30-6)
LAWP2501
กฎหมายธุรกิจ
3(30-6)
LAWP3201
กฎหมายอาญา ภาคทั่วไปและลหุโทษ
3(30-6)
LAWP3202
กฎหมายอาญา ภาคความผิด
3(30-6)
LAWP3303
กฎหมายการศึกษา
3(30-6)
LAWP3406
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
3(30-6)
LAWP3501
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายการลงทุนในประเทศจีน 3(30-6)
LAWP3703
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
3(30-6)
LAWP3704
กฎหมายแรงงานและแรงงานสัมพันธ์
3(30-6)
11
LAWP3705
กฎหมายความปลอดภัย
0-6)
LAWP4103
กฎหมายเพื่อชีวิต
3(3-0-6)
LAWP4701
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
0-6)
13.3 การบริหารจัดการ
-ไม่มี-

3(3-

3(3-

หมวดที่ 2
ข้อ มูล เฉพาะของหลัก สูต ร
1.ปรัช ญา ความสำา คัญ และวัต ถุป ระสงค์ข องหลัก สูต ร
1.1 ปรัช ญา
มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิิตที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรม
ยึดมั่นในหลักนิติธรรม (The Rule of law) มีจิตใจรักความยุติธรรม
และบริการสังคม
1.2 วัต ถุป ระสงค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มุ่งที่จะพัฒนาศักยภาพของ
นักศึกษาให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญา
สามารถดำารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นผู้ที่เพียบพร้อมด้วย
คุณธรรมและคุณภาพทางด้านวิชาการเฉพาะสาขา ดังนี้
1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้พื้นฐานทั่วไปทางกฎหมายทั้ง
ในทางทฤษฎีและปฏิบัติเป็นอย่างดี
12
1.2.2 เพือผลิตบัณฑิตให้มทศนคติทสร้างสรรค์ในการปฏิบติ
่
ี ั
ี่
ั
หน้าที่ เพือให้สอดคล้องกับหลักนิตธรรม (The Rule of law)
่
ิ
1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตผู้สามารถประกอบวิชาชีพกฎหมาย
ตามความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
1.2.4 เพื่อส่งเสริมให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถและมี
คุณธรรม ยึดมั่นในหลักนิติธรรม (The Rule of law) มีจิตใจรักความ
ยุติธรรมและบริการสังคม
1.2.5 เพื่อให้บัณฑิตสามารถศึกษาวิชากฎหมายเฉพาะด้าน
ในขั้นสูงต่อไป
1.2.6 เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีวิสัยทัศน์ทันการเปลี่ยนแปลงโลก
และสังคม

2. แผนพัฒ นาปรับ ปรุง
คาดว่าจะดำาเนินการแล้วเสร็จครบถ้วนภายในรอบการศึกษา 5 ปี
2.1 การจัด การหลัก สูต ร
แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่
1. หลักสูตรมีความทันสมัย
ส่งเสริมให้อาจารย์และ
นักศึกษา ติดตาม ค้นคว้า
วิจัยต่างๆ ทางนิติศาสตร์
2. สร้างบรรยากาศและ
กระตุ้นให้นักศึกษาเป็นผู้ใฝ่
เรียนรู้ตลอดชีวิต ค้นคว้า
เพื่อพัฒนาความรู้ทาง
นิติศาสตร์
3. ตรวจสอบและปรับปรุง
หลักสูตรเป็นประจำา
4. ประเมินมาตรฐานของ
หลักสูตรเป็นระยะๆ

กลยุท ธ์

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ด
ี้ ั

1. พัฒนาหลักสูตรให้มี
ความทันสมัยตาม
มาตรฐานด้านนิติศาสตร์
ในระดับสากล
2. ปรับปรุงหลักสูตรทุกๆ
5 ปี
3. หลักสูตรต้องมีเนื้อหา
เหมาะสม มีกิจกรรม
วิชาการที่ช่วยให้
นักศึกษาสามารถติดตาม
ข่าวสารทันสมัยได้จาก
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. มีผู้สนับสนุนการเรียน

1. สามารถเปรียบ
เทียบหลักสูตรกับ
มาตรฐานในสาขาทาง
นิติศาสตร์ และมีการ
ปรับปรุงแก้ไขอย่าง
สมำ่าเสมอ
2. วิชาต่างๆ มีการ
สอนทั้งภาคทฤษฎีและ
การปฏิบัติ เพื่อให้
นักศึกษาสามารถเรียน
รู้ได้ด้วยตนเอง
3. จำานวนอาจารย์และ
ประวัติการทำางาน รวม
13
แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่

2.2

กลยุท ธ์

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ด
ี้ ั

รู้ หรือผู้ช่วยสอน ที่ช่วย
กระตุ้นนักศึกษาให้เรียน
รู้ได้ดีขึ้น
5.อาจารย์ต้องจบ
ปริญญาโทหรือปริญญา
เอกและมีความเชี่ยวชาญ
ในสาขานั้นๆ
6. ส่งเสริมให้อาจารย์ทำา
วิจัยเพื่อใฝ่หาความรู้ใน
สาขานิติศาสตร์
7. ประเมินหลักสูตรโดย
คณะ กรรมการวิชาการ
ภายในทุก 3 ปี และภาย
นอกทุกๆ 5 ปี
8. รวบรวมหลักฐาน
ข้อมูลของนักศึกษา
อาจารย์ อุปกรณ์สอน
และวิจัย งบประมาณ
ความร่วมมือทางวิชาการ
ผลงานตีพิมพ์ของแต่ละ
ภาคการศึกษาเพื่อเป็น
ข้อมูลในการประเมิน
9. สำารวจความพึงพอใจ
ของนักศึกษาที่มีต่อ
หลักสูตรที่สำาเร็จการ
ศึกษา เพื่อทราบถึงความ
พึงพอใจต่อการเรียนการ
สอนและหลักสูตร

ถึงการฝึกอบรมของ
อาจารย์
4. จำานวนผู้สนับสนุน
การเรียนรู้ หรือผู้ช่วย
สอน
5. ผลประเมินการ
เรียนการสอนของ
อาจารย์ และผู้ช่วย
สอนหลังจบภาคการ
ศึกษา
6. หลักสูตรมีการ
ประเมินโดยคณะ
กรรมการวิชาการภาย
ในทุกๆ 3 ปี และภาย
นอกทุกๆ 5 ปี
7. มีการสำารวจความ
พึงพอใจในหลักสูตร
จากบัณฑิต

กลยุท ธ์

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด
ี้

1. ติดตังอุปกรณ์ต่างๆ
้
ในห้องเรียนเพื่อการสอน
ที่มีประสิทธิภาพ
2. มีห้องปฏิบัติการศาล
จำาลอง ที่มีอุปกรณ์ที่ได้
มาตรฐานสากล เพื่อให้

1. รวบรวมและบันทึก
อัตราส่วนอุปกรณ์ต่อ
จำานวนนักศึกษา
จำานวนชัวโมงที่
่
นักศึกษาใช้ห้องปฏิบัติ
การศาลจำาลอง

ทรัพ ยากรประกอบการเรีย นการสอน

แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่
1. มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติ
การศาลจำาลอง เพื่อให้การ
เรียนการสอนภายในเวลา
และภายนอกเวลามี
ประสิทธิภาพ
14
แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่

2.3

กลยุท ธ์

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด
ี้

นักศึกษาได้เรียนและฝึก
ปฏิบัติ
3. มีห้องสมุดที่เปิดนอก
เวลาเรียน และพื้นที่เพียง
พอสำาหรับให้นักศึกษา
4. พัฒนาห้องสมุดใน
สถานศึกษาที่มีตำารา
เรียน มีหนังสืออ้างอิง
งานวิจัย และสื่ออุปกรณ์
ต่างๆ อย่างเพียงพอ

2. รวบรวมจำานวน
ตำาราเรียนและอุปกรณ์
ดิจิตอลที่มีอยู่ พร้อมทั้ง
ปริมาณการใช้งาน
3. สำารวจความพึง
พอใจของนักศึกษาต่อ
การบริการอุปกรณ์เพื่อ
การศึกษา

การให้ค ำา ปรึก ษา และความช่ว ยเหลือ ต่อ นัก ศึก ษา

แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่
1. ผลิตนักศึกษาซึ่งมี
คุณสมบัติที่นายจ้าง หน่วย
งานภาครัฐ ท้องถิ่น และ
สถานประกอบการต้องการ
นักศึกษามีความสามารถทั้ง
ด้านวิชาการ และมีคุณธรรม
จริยธรรม

กลยุท ธ์

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด
ี้

1. มีช่วงเวลาสำาหรับให้
คำาปรึกษาแก่นักศึกษา
2. เตรียมประวัติทางการ
ศึกษาและพฤติกรรมของ
นักศึกษาไว้เพื่อการ
ติดต่อในอนาคต
3. จัดตั้งช่องทางการ
ติดต่อระหว่างนักศึกษา
กับอาจารย์
4. มีศูนย์ช่วยเหลือ และ
ให้บริการแก่ประชาชน
ทางกฎหมาย
5.มีผู้ประสานงานที่
สนับสนุนบริการทางการ
เรียนการสอนและให้คำา
ปรึกษากับนักศึกษา
สนับสนุนค่าใช้จ่าย
สำาหรับกิจกรรมพิเศษ
นอกหลักสูตร รวมทั้งส่ง
เสริมให้นักศึกษาเข้าร่วม
กิจกรรม
6. มีเจ้าหน้าที่ประสาน
งานเกี่ยวกับกิจกรรมเสริม

1. จำานวนชั่วโมงการ
ให้ คำาปรึกษา
2. จำานวนและ
อัตราส่วนของนักศึกษา
ที่สำาเร็จการศึกษาใน
แต่ละปีการศึกษา
3. ประวัติทางวิชาการ
และพฤติกรรมของ
นักศึกษาที่อาจารย์ที่
ปรึกษาสามารถค้นหา
ได้
4. จำานวนกิจกรรม
พิเศษนอกหลักสูตร
จำานวนนักศึกษาที่เข้า
ร่วม และอัตราส่วนเงิน
สนับสนุน
5. เจ้าหน้าที่ที่มี
คุณสมบัติพร้อมในการ
สนับสนุนด้านการเรียน
การสอน และประสาน
งานการทำากิจกรรม
6. ผลการสำารวจความ
พึงพอใจของนักศึกษา
15
แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่

กลยุท ธ์
นอกหลักสูตร

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด
ี้
ต่อการให้การสนับสนุน
ต่างๆ ในแต่ละภาคการ
ศึกษา

2.4 ความต้อ งการของตลาดแรงงาน และสัง คม และ
ความพึง พอใจของนายจ้า งต่อ คุณ ภาพบัณ ฑิต
แผนการพัฒ นา/
เปลีย นแปลง
่
1. ผลิตนักศึกษาที่คุณสมบัติ
ดังนี้
- มีความรู้และทักษะที่สมดุล
กับความต้องการของ
นายจ้าง
- มีความสามารถเป็นผู้นำา
ทางวิชาชีพ และมีความรับ
ผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม

กลยุท ธ์

หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด
ี้

1. ขอคำาที่ปรึกษาจาก
หน่วยงานภาครัฐ และผู้
ประกอบการเพื่อใช้ใน
การปรับปรุงหลักสูตรใน
อนาคต
2. ประเมินทักษะความรู้
จรรยาบรรณและความ
สามารถในการทำางานเป็น
ทีมของนักศึกษาที่สำาเร็จ
การศึกษา
3. ฝึกอบรมและเสวนา
นักศึกษาเพื่อให้ทราบ
ประสบการณ์จริง
4. สอดแทรกคุณค่าทาง
จรรยาบรรณทั้งในและ
นอกห้องเรียน
5.มีวชาเรียนในหมวด
ิ
วิชาศึกษาทั่วไปที่เน้น
การพัฒนาความรู้เท่าทัน
สถานการณ์และความ
เฉลียวฉลาดทางอารมณ์
6. ช่วยเหลือและ
สนับสนุนกิจกรรมพิเศษ
นอกหลักสูตรที่เน้น
คุณธรรม จริยธรรม

1. นำาข้อเสนอแนะของ
นายจ้าง หน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชนมา
ใช้ในการพัฒนาและ
แก้ไขหลักสูตร
2. วิเคราะห์ผลการ
ประเมินความพึงพอใจ
ของนายจ้าง หน่วย
งานภาครัฐและเอกชน
ที่มีต่อผู้สำาเร็จการ
ศึกษา
3. จำานวนวิชาใน
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ที่เน้นจรรยาบรรณและ
หลักการทำางานร่วมกัน
4. จำานวนกิจกรรมหรือ
โครง การที่เกี่ยวข้อง
กับคุณธรรม จริยธรรม
5. สถิติการทำางานใน
สาขานิติศาสตร์ และ
สาขาที่เกี่ยวข้องของผู้
สำาเร็จการศึกษา
16

หมวดที่ 3
ระบบการจัด การศึก ษา การดำา เนิน การ และโครงสร้า ง
หลัก สูต ร
1.ระบบการจัด การศึก ษา
1.1 ระบบ
ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย
ราชภัฏจันทรเกษมว่าด้วยการ
จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
1.2การจัด การศึก ษาภาคฤดูร ้อ น
เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย
1.3 การเทีย บเคีย งหน่ว ยกิต ในระบบทวิภ าค
-ไม่มี2.การดำา เนิน การหลัก สูต ร
2.1 วัน - เวลาในการดำา เนิน การเรีย นการสอน
ภาคเรียนที่ 1มิถุนายน – ตุลาคม
ภาคเรียนที่ 2พฤศจิกายน – มีนาคม
ภาคฤดูร้อน เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย
2.2คุณ สมบัต ิข องผู้เ ข้า ศึก ษาและการคัด เลือ กผู้เ ข้า ศึก ษา
2.2.1 คุณ สมบัต ิข องผู้เ ข้า ศึก ษา
1) ต้องสำาเร็จการศึกษาไม่ตำ่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย
หรือเทียบเท่า
17
2) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำานักงานคณะ
กรรมการการอุดมศึกษา
3) มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
4) มีความประพฤติดี มีความตังใจทีจะใช้ความสามารถของตน
้
่
ในการทีจะศึกษา และปฏิบติ
่
ั
ตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด
2.2.2 การคัด เลือ กผู้เ ข้า ศึก ษา
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมว่าด้วยการจัดการ
ศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2554 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข 2)
2.3 ปัญ หาของนัก ศึก ษาแรกเข้า
2.3.1 ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนระดับมัธยมศึกษา
2.3.2 นักศึกษาไม่มีพื้นฐานวิชากฎหมาย
กลยุท ธ์ใ นการดำา เนิน การเพื่อ แก้ไ ขปัญ หา /ข้อ จำา กัด
ของนัก ศึก ษาในข้อ 2.3
2.4.1 จัดสอนเสริมเตรียมความรู้พื้นฐานก่อนการเรียน
2.4.2 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่แนะนำาการวางเป้า
หมายชีวิตเทคนิคการเรียนในมหาวิทยาลัย และการแบ่งเวลา
2.4.3 จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อทำาหน้าที่สอด
ส่องดูแลตักเตือนให้คำาแนะนำาแก่นักศึกษา และให้เน้นยำ้าในกรณีที่
นักศึกษามีปัญหาตามข้างต้นเป็นกรณีพิเศษ
2.4.4 จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความสัมพันธ์
ของนักศึกษาและการดูแลนักศึกษาได้แก่ วันแรกพบระหว่างนักศึกษา
กับอาจารย์ วันพบผู้ปกครอง การติดตามการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่
1 จากอาจารย์ผู้สอน และจัดกิจกรรมสอนเสริมถ้าจำาเป็น
2.4
18
2.5 แผนการรับ นัก ศึก ษาและผู้ส ำา เร็จ การศึก ษาในระยะ
เวลา 5 ปี
จำา นวน
จำา นวนนัก ศึก ษาแต่ล ะปีก ารศึก ษา
นัก ศึก ษาระดับ
2555 2556 2557 2558 2559
ปริญ ญาตรีช ั้น ปี
ที่ (คน)
100
100
100
100
100
1
80
80
80
80
70
70
70
2
65
65
3
4

รวม
จำา นวนผู้ส ำา เร็จ
การศึก ษา

100

180

250

315
65

315
65

2.6 งบประมาณตามแผน
2.6.1 งบประมาณรายรับ
งบประมาณรายรับ (หน่ว ย บาท)
ปีง บประมาณ
รายละเอีย ด
รายรับ
2555 2556 2557 2558
ค่า บำา รุง การ
570,0 1,026, 1,425, 1,795,
ศึก ษา
00
000
000
500
ค่าลงทะเบียน
330,0 594,0 825,0 1,039,
00
00
00
500
เงินอุดหนุนจาก
รัฐบาล
รวมรายรับ
900,0 1,620, 2,250, 2,835,
00
000
000
000
งบประมาณรายจ่า ย (หน่ว ย บาท)
ปีง บประมาณ
หมวดเงิน
2555 2556 2557 2558
ก.งบดำาเนินการ

2559
1,795,
500
1,039,
500
2,835,
000

2559
19
1. ค่าใช้จ่าย
บุคลากร
2. ค่าใช้จ่าย
ดำาเนินการ
3. ทุนการศึกษา
4. รายจ่ายระดับ
มหาวิทยาลัย

1,145, 1,236 1,335, 1,442, 1,557
040
,643
575
421
,814
84,89 89,13 93,59 98,27 103,1
3
8
5
4
88
-

รวม (ก)

1,229, 1,325 1,429, 1,540, 1,661
933
,781 170
695
,002

ข. งบลงทุน
ค่าครุภัณฑ์
รวม (ข)
รวม (ก) + (ข)
จำา นวนนัก ศึก ษา
*
ค่า ใช้จ ่า ยต่อ หัว
นัก ศึก ษา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,229, 1,325 1,429, 1,540, 1,661
933
,781
170
695
,002
100

200

300

12,29
6,629 4,764
9

400

400

3,852

4,153

2.7 ระบบการจัด การศึก ษา
จัดการศึกษาแบบชั้นเรียนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จันทรเกษมว่าด้วยการจัดการศึกษา
ระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข
2)
2.8 การเทีย บโอนหน่ว ยกิต รายวิช าและการลงทะเบีย น
เรีย นเข้า มหาวิท ยาลัย
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมว่าด้วยการจัดการ
ศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ภาคผนวกเอกสาร
หมายเลข 2)
20
3.หลัก สูต รและอาจารย์ผ ู้ส อน
3.1
หลัก สูต ร
3.1.1 จำา นวนหน่ว ยกิต รวมตลอดหลัก สูต รไม่น ้อ ยกว่า
137 หน่ว ยกิต
3.1.2 โครงสร้า งหลัก สูต ร
1 หมวดวิช าศึก ษาทั่ว ไป
30
หน่ว ยกิต
2 หมวดวิช าเฉพาะ
101
หน่ว ยกิต
2.1 กลุ่มวิชาเอกบังคับ
85
หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอกเลือก
9 หน่วยกิต
2.3 กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
7 หน่วยกิต
3 หมวดวิช าเลือ กเสรี
6
หน่ว ยกิต
3.1.3
รายวิช าในโครงสร้า งหลัก สูต ร
1 หมวดวิช าศึก ษาทั่ว ไป
30
หน่ว ยกิต
1.1. กลุ่ม วิท ยาศาสตร์แ ละคณิต ศาสตร์ เลือ ก
เรีย น
6 หน่ว ยกิต
GESC1101
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3(3-0-6)
Information Technology and
Communication
GESC1102
วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
3(3-0-6)
Sciences for Life
GESC1103
พืชพรรณเพื่อชีวิต
3(3-0-6)
Plants for Life
GESC1104 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ
ชีวิต
3(3-0-6)
21
Natural Resources and Environment for
Life

GESC1105
ชีวิตกับเทคโนโลยี
3(3-0-6)
Life and Technology
GESC1106 การคิดและคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำาวัน
3(3-0-6)
Thinking and Mathematics in Daily Life

1.2 กลุ่ม ภาษา
9 หน่ว ยกิต
วิช าบัง คับ
6 หน่ว ยกิต
GETH1001
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Thai for Communication
GEEN1001
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
English for Communication
วิช าเลือ ก
3 หน่ว ยกิต
GEKR1101
ภาษาเกาหลีเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Basic Korean for Communication
GEKM1101
ภาษาเขมรเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Basic Khmer for Communication
GECN1101
ภาษาจีนเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Basic Chinese for Communication
GEJP1101
ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Basic Japanese for Communication
GEFR1101
ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Basic French for Communication
22
GEVN1101
ภาษาเวียดนามเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร
3(3-0-6)
Basic Vietnamese for Communication
GEEN1101
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารขั้นสูง
3(3-0-6)
English for Advanced Communication
GEEN1102
ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสำาหรับ
การสมัครงาน
3(3-0-6)
English for Career Application
1.3 กลุ่ม วิช ามนุษ ยศาสตร์
7 หน่ว ยกิต
วิช าบัง คับ
1 หน่ว ยกิต
GEHS1001
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
1(1-0-2)
Information for Learning
วิช าเลือ ก
6 หน่ว ยกิต
GEHS1101
สุนทรียภาพของชีวิต
3(3-0-6)
Aesthetics of Life
GEHS1102
การพัฒนาตนเพื่อความสุขของชีวิต
3(3-0-6)
Self-Development for Happiness in Life
GEHS1103
จริยธรรมทางสังคมและการใช้เหตุผล
3(3-0-6)
Social Morality and Reasoning
1.4 กลุ่ม วิช าสัง คมศาสตร์
วิช าบัง คับ

6 หน่ว ยกิต
3

หน่ว ยกิต
GESO1001
พลวัตสังคมไทย
3(3-0-6)
Dynamics of Thai Society
วิช าเลือ ก
3
หน่ว ยกิต
GESO1101
พลวัตสังคมโลก
3(3-0-6)
23
Dynamics of Global Society
GESO1102
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
3(3-0-6)
Man and Environment
GESO1103
กฎหมายในชีวิตประจำาวัน
3(3-0-6)
Law for Daily Life
GESO1104
เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้
3(3-0-6)
Sufficiency Economy and Application
GESO1105
ธุรกิจสำาหรับชีวิตประจำาวัน
3(3-0-6)
Business for Daily Life
1.5 กลุ่ม วิช าพลานามัย
2 หน่ว ยกิต
วิช าบัง คับ
หน่ว ยกิต
GEPA1001
การออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพ
1(0-2-1)
Exercises for Health
GEPA1002
กีฬาประเภทบุคคล
1(0-2-1)
Individual Sports

2.
วิช าเฉพาะ
หน่ว ยกิต
2.1 กลุ่ม วิช าเอกบัง คับ
85 หน่ว ยกิต
LAWP1101
กฎหมายเอกชน 2(2-0-4)
Principle of Private Law
LAWP1102
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินและที่ดิน
0-6)

หมวด
101

หลัก

3(3-
24
Property and Land Law
LAWP1103
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะนิติกรรมและสัญญา
3(3-0-6)
Civil and Commercial Code: Juristic Acts
and Contracts
LAWP1104
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะหนี้
3(30-6)
Civil and Commercial Code: Obligation
LAWP1201
กฎหมายอาญา 1
3(30-6)
Criminal Law 1
LAWP1301
หลัก
กฎหมายมหาชน2(2-0-4)
Principle of Public Law
LAWP2101
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้
3(30-6)
Civil and Commercial Code: Wrongful
Acts, Management of
Affairs without Mandate and Undue
Enrichment
LAWP2102
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน
ให้ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
3(30-6)
Civil and Commercial Code: Sale,
Exchange, Gift, Hire of Property, Hire
Purchase
LAWP2103
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะยืม ฝากทรัพย์ เก็บ
ของในคลังสินค้า
คำ้าประกัน จำานอง จำานำา
3(30-6)
25
Civil and Commercial Code: Loan
Deposit, Warehousing,
Compromise, Suretyship, Mortgate,
Pladge
LAWP2104
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะตัวแทน นายหน้า
ประกันภัย
2(2-0-4)
Civil and Commercial Code: Agency,
Brokerage, Insurance
LAWP2105 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะตั๋วเงินและ
บัญชีเดินสะพัด
2(2-0-4)
Civil and Commercial Code: Bills,
Current Account
LAWP2106
นิติ
ปรัชญา
2(2-0-4)
Legal Philosophy
LAWP2201
กฎหมายอาญา 2
3(30-6)
Criminal Law 2
LAWP2202
กฎหมายอาญา 3
3(3-0-6)
Criminal Law 3
LAWP2301
กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง
3(30-6)
Constitutional Law and Political
Institution
LAWP3101
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะห้างหุ้นส่วน บริษัท
และสมาคม
2(2-0-4)
Civil and Commercial Code
:Partnerships, Companies, Association
LAWP3102
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัว
3(30-6)
26

0-6)

0-6)

0-6)

0-4)

Civil and Commercial Code : Family
LAWP3103
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยมรดก
3(3Civil and Commercial Code : Succession
LAWP3301
กฎหมายปกครอง
3(3Administrative Law
LAWP3302
กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร

3(3-

Taxation Law
LAWP3401
ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

2(2-

Judicial System and Constitution of
Courts
0-6)

0-6)

0-6)

0-6)

0-6)

LAWP3402
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1

3(3-

Criminal Procedure Law 1
LAWP3403
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2

3(3-

Criminal Procedure Law 2
LAWP3404
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1

3(3-

Civil Procedure Law 1
LAWP3405
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2

3(3-

Civil Procedure Law 2
LAWP3701
กฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ

3(3-
27
Bankruptcy Law
LAWP3702
กฎหมายแรงงานและการประกันสังคม
Labor and Social Security Law
LAWP3901
ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์

0-6)

0-4)

3(3-

Evidence Law
LAWP4601
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง

0-6)

3(3-

Research Methodology in Law
LAWP4401
กฎหมายลักษณะพยาน

0-6)

3(3-

2(2-

Public International Law
LAWP4602
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลและอาญา
2(2-0-4)
Private International Law
LAWP4901 การสัมมนาทางนิติศาสตร์
1(0-2-1)
Seminar in Law
หน่ว ยกิต

2.2 กลุ่ม วิช าเอกเลือ ก

9

ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 9
หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งก็ได้ ดังต่อไปนี้
LAWP4101
การ
ว่าความและการจัดทำาเอกสารทางกฎหมาย
3(30-6)
Lawyer Practice and Legal Profession
LAWP4102
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำาผิดของเด็กและ
เยาวชนและวิธีพิจารณาคดีครอบครัว
3(30-6)
28
Juvenile Delinquency and Procedure of

0-6)

Court Law
LAWP4301
ศาล
ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
3(30-6)
Administrative Court and Procedure
LAWP4302
กฎหมายการคลังและภาษีอากรขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
3(3-0-6)
Fiscal Law and Taxation of Local
Authorities
LAWP4303
กฎหมายอาเซียน
3(30-6)
ASEAN Law
LAWP4501
กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา
3(3Intellectual Property Law
LAWP4502
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

0-6)
3(0-6-3)

3(3-

International Trade Law
LAWP4902 การวิจัยทางนิติศาสตร์
Research in Law

2.3 กลุ่ม วิช าปฏิบ ัต ิก ารและฝึก ประสบการณ์ว ิช าชีพ
7 หน่ว ยกิต
LAWP4801
การเตรี
ยมฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย
2(90)
Preparation for Legal Professional
Practice
29
LAWP4802
ประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย
5(225)
Legal Professional Practice

การฝึก

3. หมวดวิช าเลือ กเสรี
6
หน่ว ยกิต
นักศึกษาจะต้องศึกษารายวิชาเลือกเสรีอย่างน้อยจำานวน 6
หน่วยกิต ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพหรืออยู่ในความสนใจที่เปิด
สอนในมหาวิทยาลัยและต้องไม่ซำ้ากับรายวิชาที่เคยศึกษามาแล้ว
4. กลุ่ม วิช าสำา หรับ นัก ศึก ษาสาขาวิช าอื่น
LAWP2107
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
0-6)
Principles of Jurisprudence
LAWP2108
กฎหมายและจรรยาบรรณสื่อสารมวลชน
0-6)
Mass Communication Law Code of
Ethics
LAWP2501
กฎหมายธุรกิจ
0-6)
Business Law
LAWP3201
กฎหมายอาญา ภาคทั่วไปและลหุโทษ
0-6)
Criminal Law : General and petty
offences
LAWP3202
กฎหมายอาญา ภาคความผิด
0-6)
Criminal Law : Offence
LAWP3303
กฎหมายการศึกษา
0-6)

3(3-

3(3-

3(3-

3(3-

3(3-

3(3-
30
Education Law
LAWP3406
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

0-6)

จีน

0-6)

0-6)

0-6)

3(3-

Criminal Procedure Law
LAWP3501
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายการลงทุนในประเทศ
3(3-0-6)
Introduction to Investment Law in China
LAWP3703
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
3(3Tourism Law
LAWP3704
กฎหมายแรงงานและแรงงานสัมพันธ์

3(3-

Labor Law and Labor Relations Law
LAWP3705
กฎหมายความปลอดภัย
3(3-

Safety Law
LAWP4103
กฎหมายเพื่อชีวิต
3(3-0-6)
Law for Life
LAWP4701
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
0-6)
Information Technology Law
3.1.4 แผนการเรีย น
ชั้น ปีท ี่ 1
ภาคการศึก ษาที่ 1
หมวดวิช า
รหัส
ชื่อ วิช า
วิช า
1. หมวดวิชา
GESC1 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
ศึกษาทั่วไป
102
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

3(3-

หน่ว
ยกิต
3
3
31

2. หมวดวิชา
เฉพาะ
2.1 กลุ่มวิชา
เอกบังคับ
3. หมวดวิชา
เลือกเสรี

GETH1
001
GEEN1
001
GEHS1
001
GESO1
001
GEPA1
001
GEPA1
002

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
พลวัตสังคมไทย
การออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพ
กีฬาประเภทบุคคล

LAWP1 หลักกฎหมายเอกชน
101
LAWP1 หลักกฎหมายมหาชน
301
รวม

ภาคการศึก ษาที่ 2
หมวดวิช า
1. หมวดวิชา
ศึกษาทั่วไป

2. หมวดวิชา
เฉพาะ

รหัส
วิช า
GEEN1
102

ชื่อ วิช า

ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อม
สำาหรับการสมัครงาน
พลวัตสังคมโลก
GESO1 การพัฒนาตนเพื่อความสุขของชีวิต
101
จริยธรรมทางสังคมและการใช้
GEHS1 เหตุผล
102
GEHS1
103

3
1
3
1
1

2
2
19
หน่ว ย
กิต
3
3
3
3
32
2.1 กลุ่มวิชา
เอกบังคับ

3. หมวดวิชา
เลือกเสรี

LAWP1
103
LAWP2
301
LAWP1
102
-

3
3
3

LAWP1
201
LAWP1
104
LAWP2
102
LAWP2
103
-

-

-

รวม

ภาคการศึก ษาที่ 1
หมวดวิช า
รหัส
วิช า
1. หมวดวิชา
GESC1
ศึกษาทั่วไป
101
2. หมวดวิชา
เฉพาะ
2.1 กลุ่มวิชา
LAWP2
เอกบังคับ
101

3. หมวดวิชา
เลือกเสรี

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
นิติกรรมและสัญญา
กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบัน
การเมือง
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินและที่ดิน

21

ชื่อ วิช า

หน่ว ย
กิต
3

ชั้น ปีท ี่ 2

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
ละเมิด จัดการงานนอกสั่งและลาภมิ
ควรได้
กฎหมายอาญา 1
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
หนี้
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์
เช่าซื้อ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
ยืม ฝากทรัพย์ เก็บของในคลังสินค้า
คำ้าประกัน จำานอง จำานำา
-

3

รวม

18

3
3
3
3

-
33

ภาคการศึก ษาที่ 2
หมวดวิช า
รหัส
วิช า
1. หมวดวิชา
ศึกษาทั่วไป
2. หมวดวิชา
เฉพาะ
2.1 กลุ่มวิชา
LAWP2
เอกบังคับ
104
LAWP2
105
LAWP2
106
LAWP2
201
LAWP2
202
LAWP3
301

ชื่อ วิช า
-

หน่ว ย
กิต
-

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
ตัวแทน นายหน้า ประกันภัย
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
ตั๋วเงินและบัญชี-เดินสะพัด
นิติปรัชญา
กฎหมายอาญา 2
กฎหมายอาญา 3
กฎหมายปกครอง
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ
ห้างหุ้นส่วน บริษัทฯ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย
ครอบครัว

2

-

-

2
2
3
3
3
2
3

LAWP3
101

3. หมวดวิชา
เลือกเสรี

LAWP3
102
-

รวม
ชั้น ปีท ี่ 3

20
34
ภาคการศึก ษาที่ 1
หมวดวิช า
1. หมวดวิชาศึกษา
ทั่วไป
2. หมวดวิชาเฉพาะ

3. หมวดวิชาเลือก
เสรี
ภาคการศึก ษาที่ 2
หมวดวิช า
1. หมวดวิชาศึกษา
ทั่วไป
2. หมวดวิชาเฉพาะ

รหัส วิช า

LAWP31
03
LAWP34
01
LAWP34
02
LAWP34
04
LAWS37
01
LAWP37
02
LAWP39
01
-

รหัส
วิช า
LAWP3
302
LAWP3
403
LAWP3
405

หน่ว ยกิ
ต
-

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ว่าด้วยมรดก
ระบบศาลและพระธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม
กฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา 1
กฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่ง 1
กฎหมายล้มละลายและการ
ฟื้นฟูกิจการ
กฎหมายแรงงานและการ
ประกันสังคม
ระเบียบวิธีวิจัยทาง
นิติศาสตร์
-

3

รวม

-

ชื่อ วิช า

20

ชื่อ วิช า

หน่ว ยกิ
ต
-

-

-

2
3
3
3
3
3

-

กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร

3

กฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา 2
กฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่ง 2
กฎหมายลักษณะพยาน

3
3
3
35
หมวดวิช า

รหัส
วิช า
LAWS4
401
LAWP4
601
LAWP4
602

ชื่อ วิช า
กฎหมายระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง
กฎหมายระหว่างประเทศ
แผนกคดีบุคคล
และอาญา

3. หมวดวิชาเลือก
เสรี

ภาคการศึก ษาที่ 1
หมวดวิช า
1. หมวดวิชาศึกษา
ทั่วไป
2. หมวดวิชาเฉพาะ
2.1 กลุ่มวิชาเอก
บังคับ
2.2 กลุ่มวิชาเอก
เลือก
2.3 กลุ่มวิชาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ
3. หมวดวิชาเลือก
เสรี

ภาคการศึก ษาที่ 2

หน่ว ยกิ
ต
2
2

รวม

16

ชื่อ วิช า

หน่ว ยกิ
ต
-

ชั้น ปีท ี่ 4
รหัส
-

-

LAWP49 การสัมนาทางนิติศาสตร์
01

1
9

LAWP48 การเตรียมฝึกประสบการณ์
01
วิชาชีพนักกฎหมาย

2
6

รวม

18
36
หมวดวิช า

รหัส

1. หมวดวิชาศึกษา
ทั่วไป
2. หมวดวิชาเฉพาะ
2.1 กลุ่มวิชาเอก
บังคับ
2.2 กลุ่มวิชาเอก
เลือก
2.3 กลุ่มวิชาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ
3. หมวดวิชาเลือก
เสรี

-

-

หน่ว ยกิ
ต
-

-

-

-

-

-

-

3.1.5

ชื่อ วิช า

LAWP48 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
02
นักกฎหมาย
รวม

คำา อธิบ ายรายวิช า
ภาษาจีน เบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
Basic Chinese for Communication
ทักษะพื้นฐานภาษาจีนเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน
เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การแนะนำาตัว
การกล่าวทักทาย การกล่าวขอบคุณ การกล่าวขอโทษ
กล่าวคำาอำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถาน
ที่ ดินฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน

GECN1101

ภาษาอัง กฤษเพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
English for Communication
ทักษะภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน เน้น
การฟัง การพูด เพื่อการสื่อสารขั้นพื้นฐานใน
สถานการณ์ต่างๆ ให้มีทักษะในการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ใน
ชีวิตประจำาวัน สามารถเขียนประโยคพื้นฐานและ
ข้อความสั้น ๆ เพื่อใช้ในการสื่อสาร

GEEN1001

GEEN1101
6)

ภาษาอัง กฤษเพื่อ การสื่อ สารขั้น สูง 3(3-0-

5
5
37
English for Advanced Communication
ทักษะในการใช้ภาษาด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน
ในระดับสูง การสื่อสาร โดยใช้ศัพท์ และรูปแบบของ
ประโยคที่ซับซ้อน การสนทนา อภิปรายโต้ตอบ การนำา
เสนอ การอ่านข้อความที่ซับซ้อน บทความเชิง
วิชาการ และตำาราจากสื่อต่าง ๆ การเขียนประโยค
ระดับซับซ้อน เขียนข้อความตั้งแต่สองย่อหน้า และ
เขียนสรุปสาระสำาคัญของบทความทางวิชาการ
GEEN1102
ภาษาอัง กฤษเพื่อ เตรีย มความพร้อ ม
สำา หรับ การสมัค รงาน
3(3-0-6)
English for Career Application
ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมในการสมัคร
งาน การอ่านเอกสาร
ประชาสัมพันธ์การรับสมัคร
งาน การเขียนประวัติโดยย่อ การเขียนจดหมายสมัคร
งานและเอกสารที่
เกี่ยวข้อง การพัฒนาทักษะการพูด
เพื่อการเตรียมตัวสัมภาษณ์และการติดตามผลการสมัคร
งาน
ภาษาฝรั่ง เศสเบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
Basic French for Communication
ทักษะพื้นฐานภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นด้านการฟัง พูด
อ่าน เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การกล่าว
ทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำา
อำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดิน
ฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน

GEFR1101

GEHS1001
สารสนเทศเพื่อ การเรีย นรู้
1(1-0-2)
Information for Learning
ความหมาย ความสำาคัญของสารสนเทศ แหล่ง
สารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าภายในสถาบันการ
ศึกษาและแหล่งสารสนเทศอื่น ๆ วิธีการสืบค้นฐาน
ข้อมูลต่าง ๆ การรวบรวมสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง และวิธีการนำาเสนอผลการศึกษา
ค้นคว้าตามรูปแบบมาตรฐาน
38
GEHS1101
สุน ทรีย ภาพของชีว ิต
3(3-0-6)
Aesthetics of Life
ความหมายของสุนทรียศาสตร์ และความงดงามของ
ศาสตร์ทางดนตรี นาฏศิลป์และศิลปะทั้งไทยและสากล
ให้เกิดความซาบซึ้งและเห็นคุณค่าของศาสตร์ทางความ
งาม สามารถวิเคราะห์ คุณค่าทางสุนทรียศิลป์ โดย
ผ่านขั้นตอนการเรียนรู้เชิงคุณค่า อันเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนารสนิยม สามารถดำารงตนอยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข
GEHS1102
การ
พัฒ นาตนเพื่อ ความสุข ของชีว ิต
3(3-0-6)
Self-development for Happiness of Life
พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน องค์ประกอบของ
พฤติกรรมพื้นฐานทางสรีรวิทยาที่ส่งผลต่อพฤติกรรม
มนุษย์ พัฒนาการของมนุษย์ทุกช่วงวัย การศึกษา
ตนเอง และการประเมินตนเองเพื่อการพัฒนา
บุคลิกภาพ และการปรับตัวให้เหมาะสมกับการ
เปลี่ยนแปลง การเสริมสร้างบุคลิกภาพ มนุษย์สัมพันธ์
ในการทำางาน สุขภาพจิตและการจัดการความเครียด
การสร้างเสริมชีวิตให้มีความสุข
จริย ธรรมทางสัง คมและ การใช้เ หตุผ ล
3(3-0-6)
Social Morality and Rationality
แนวคิดพื้นฐานของมนุษย์ โลกทัศน์ ชีวทัศน์ การส่ง
เสริมคุณธรรม จริยธรรม การมิีวินัย ความรับผิด
ชอบ การพัฒนาปัญญาตามหลักศาสนธรรม การใช้
เหตุผลอย่างสร้างสรรค์ เพื่อการดำารงชีวิตในสังคม
อย่างมีสันติสุข และสันติธรรม

GEHS1103

ภาษาญี่ป ุ่น เบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
Basic Japanese for Communication

GEJP1101
39
ทักษะพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน
เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การกล่าว
ทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำา
อำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดิน
ฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน
ภาษาเขมรเบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
Basic Khmer for Communication
ทักษะพื้นฐานภาษาเขมรเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน
เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การกล่าว
ทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำา
อำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดิน
ฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน

GEKM1101

ภาษาเกาหลีเ บื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
Basic Korean for Communication
ทักษะพื้นฐานภาษาเกาหลีเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน
เขียน ในหัวข้อที่ใช้ใน
ชีวิตประจำาวัน การกล่าวทักทาย การกล่าวขอบคุณ
กล่าวขอโทษ กล่าวคำาอำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
วันเวลา สถานที่ ดินฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิต
ประจำาวัน

GEKR1101

การออกกำา ลัง กายเพือ สุข ภาพ
่
1(0-2-1)
Exercises for Health
หลักการออกกำาลังกายเพือสุขภาพ การออกกำาลังกายเพือ
่
่
สุขภาพ การทดสอบ สมรรถภาพทางกาย การออกกำาลัง
กายเพือพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิต
่
ตลอดจนสามารถนำาการออกกำาลังกายไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวตประจำาวันได้ เพือพัฒนาคุณภาพชีวต
ิ
่
ิ

GEPA1001

GEPA1002
ประเภทบุค คล
1(0-2-1)

กีฬ า
40
Individual Sports
ทักษะการเล่นกีฬา และมารยาทการเล่นกีฬาประเภท
บุคคลตามความสนใจและความต้องการของผูเรียน เพือ
้
่
การพัฒนา ร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ ให้สามารถ
นำาเอาการเล่นกีฬาเป็นทักษะทางสังคม และการใช้เวลา
ว่างให้เป็นประโยชน์
เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร
3(3-0-6)
Information Technology and
Communication
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบโทรคมนาคม ระบบการ
จัดการสารสนเทศ การใช้งานโปรแกรมระบบ
โปรแกรมสำาเร็จรูปต่าง ๆ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
และอินเทอร์เน็ต เพื่อการศึกษาค้นคว้า การทำารายงาน
การนำาเสนอผลงาน และประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำา
วันอย่างมีประสิทธิภาพโดยเคารพในสิทธิทางปัญญา
จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

GESC1101

วิท ยาศาสตร์เ พื่อ ชีว ิต
3(3-0-6)
Science for Life
กระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การพัฒนาคุณภาพชีวต ความสัมพันธ์ของสุขภาพกับ
ิ
อาหาร การออกกำาลังกาย ยาและสมุนไพร การใช้สาร
เคมีในชีวตประจำาวันอย่างถูกต้องและเหมาะสม ความ
ิ
สำาคัญของพลังงานต่อโลกและชีวต ความปลอดภัยใน
ิ
การดำาเนินชีวต การส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกัน
ิ
สารเสพติด

GESC1102

พืช พรรณเพื่อ ชีว ิต
3(3-0-6)
Plants for Life
คุณและค่าของพืชพรรณทีมตอชีวต และการจัดการ
่ ี ่
ิ
ทรัพยากรต่าง ๆ ตามแนวทางโครงการอนุรกษ์พนธุกรรม
ั
ั
พืชอันเนืองมาจากพระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ
่
ดาฯ สยามบรมราชกุมารี

GESC1103
41
GESC1104
ทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้อ มเพื่อ
ชีว ิต
3(3-0-6)
Natural
Resources and Environment for Life
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ผลกระ
ทบที่เกิดขึ้นจากความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่มีต่อทรัพยากรทางด้านกายภาพ ชีวภาพ
และการดำารงชีวิตของมนุษย์การมีส่วนร่วมในการ
จัดการฟื้นฟู ส่งเสริม บำารุงรักษา คุ้มครองทรัพยากร
ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนา
อย่างยั่งยืน
ชีว ิต กับ เทคโนโลยี
3(3-0-6)
Life and Technology
ความก้าวหน้าและการพัฒนาเทคโนโลยีในปัจจุบันและ
อนาคต บทบาทและผลกระทบของเทคโนโลยีต่อวิถี
ชีวิต เทคโนโลยีด้านเทคโนโลยีชีวภาพ นาโน
เทคโนโลยี เทคโนโลยีพลังงาน เทคโนโลยีสุขภาพ
และความปลอดภัย เทคโนโลยีสะอาด และการใช้
เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด

GESC1105

การคิด และคณิต ศาสตร์ใ นชีว ิต ประจำา วัน
3(3-0-6)
Thinking and Mathematics in Daily Life
การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์ รูปแบบการคิด
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุ การ
แปลความหมายและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ การ
เปรียบเทียบหน่วยวัด อัตราการเปลี่ยนแปลงสกุลเงิน
ดอกเบี้ย ภาษี การประยุกต์คณิตศาสตร์และสถิติ เพื่อ
การตัดสินใจ การคาดการณ์ และการแก้ไขปัญหาใน
ชีวิตประจำาวัน

GESC1106

พลวัต สัง คมไทย
3(3-0-6)
Dynamics of Thai Society

GESO1001
42
ความเป็นมาและวิวัฒนาการของสังคมไทย ในด้าน
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาเหตุการณ์และบุคคลสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม ลักษณะพิเศษของสังคมไทย
และวัฒนธรรมไทย ปลูกฝังแนวทางการดำาเนินชีวิตใน
สังคมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรักษาและส่ง
เสริมคุณค่าความเป็นไทย
พลวัต สัง คมโลก
3(3-0-6)
Dynamics of Global Society
วิวัฒนาการของมนุษย์และสังคม อารยธรรม ระบบ
ความคิด ระบบเศรษฐกิจ และระบบเมือง การปกครอง
โดยเฉพาะกระแสความคิดภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
เน้นหลักสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคและหน้าที่ของ
พลเมือง รวมทั้งวิเคราะห์สถานการณ์ความ
เปลี่ยนแปลงต่างๆ ของสังคมโลกและมีผลกระทบต่อ
สังคมไทย เพื่อให้รู้จัก เข้าใจ และสามารถดำารงชีวิต
ได้อย่างมีดุลยภาพและมีความเข้าใจในโลกปัจจุบันและ
อนาคตได้อย่างมีสำานึกและความรับผิดชอบต่อความเป็น
สังคมพลเมืองทั้งในระดับชาติและระดับโลกต่อไป

GESO1101

มนุษ ย์ก ับ สิ่ง แวดล้อ ม
3(3-0-6)
Man and Environment
ความหมาย ความสำาคัญของสิ่งแวดล้อมและปัญหาสิ่ง
แวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์ เพื่อ
สร้างจิตสำานึกสาธารณะในการอนุรักษ์ การจัดการและ
การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม

GESO1102

กฎหมายในชีว ิต ประจำา วัน
3(3-0-6)
Law in Daily Life
กฎหมายสำาคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินชีวิตประจำา
วันที่พึงทราบ ทั้งในระดับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
และประเทศ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ

GESO1103
43
กฎหมายสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับ
กิจกรรมในชีวิตประจำาวัน เห็นความสำาคัญของ
กฎหมายในฐานะที่เป็นกติกาของสังคม และปฏิบัติตน
ได้อย่างถูกต้องตามที่กฎหมายบัญญัติในฐานะที่เป็น
สมาชิกที่ดีของสังคม
เศรษฐกิจ พอเพีย งและการประยุก ต์ใ ช้
3(3-0-6)
Sufficiency Economy and Applications
แนวทางการศึกษาและการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจ
เพื่อนำาไปสู่การวิเคราะห์วิวัฒนาการของสังคมและ
เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยเน้นให้เห็นถึง
อิทธิพลของวัฒนธรรมและสถาบันที่มีต่อระบบสังคมและ
เศรษฐกิจ ศึกษาปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
และวิธีการนำาไปประยุกต์ใช้กับเศรษฐกิจและสังคมไทย
เพื่อนำาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกัน นอกจาก
นี้การศึกษายังครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์กรณี
ศึกษา ต่างๆ ที่มีการนำาแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง
และทฤษฎีใหม่ไปใช้กับเหตุการณ์จริง

GESO1104

ธุร กิจ สำา หรับ ชีว ิต ประจำา วัน
3(3-0-6)
Business for Daily Life
ลักษณะพื้นฐานและโครงสร้างของธุรกิจประเภทต่างๆ
และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่การ
จัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารงาน
บุคคล การบริหารสำานักงาน การบริหารการผลิต ซึ่ง
ครอบคลุมถึงเอกสารธุรกิจประเภทต่างๆ แนวทางการ
ประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาและประโยชน์ที่
เกี่ยวข้องในการดำาเนินธุรกิจ จรรยาบรรณนักธุรกิจ
เพื่อสามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำารงชีวิต

GESO1105

ภาษาไทยเพื่อ การสื่อ สาร
3(3-0-6)
Thai for Communication

GETH1001
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

More Related Content

Viewers also liked

Ayatahan
AyatahanAyatahan
Ayatahangoogolf
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารtumetr1
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (9)

Ayatahan
AyatahanAyatahan
Ayatahan
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง jutamat tawebunyasap
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้wichsitb
 
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านWuttipong Karun
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdfssuser49d450
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netpimmiecyrille
 
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bE31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bkeng1104
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cPanda Jing
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์Wongvian Wongkaso
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1Totsaporn Inthanin
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 

Similar to หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 (20)

สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O net
 
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bE31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
 
40 ed bd01
40 ed bd0140 ed bd01
40 ed bd01
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

  • 1. 1 หลัก สูต รนิต ิศ าสตร บัณ ฑิต สาขาวิช านิต ศ าสตร์ ิ หลัก สูต รปรับ ปรุง พ.ศ. 2555 คณะมนุษ ยศาสตร์แ ละ สัง คมศาสตร์ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ จัน ทร เกษม พุท ธศัก ราช 2555
  • 2. 2 สารบัญ หน้า หลัก สูต รนิต ิศ าสตรบัณ ฑิต สาขาวิช าวิช านิต ิศ าสตร์ หลัก สูต ร ปรับ ปรุง พ.ศ. 2555 1 หมวดที่ 1 ข้อ มูล ทั่ว ไป 1 1. ชื่อหลักสูตร 1 2. ชื่อปริญญา 1 3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้าไม่มีไม่ ต้องระบุ) 1 4. จำานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 1 5. รูปแบบของหลักสูตร 1 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบ หลักสูตร 2 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำาเร็จการศึกษา 2 9. ชื่อ-นามสุกล ตำาแหน่งทางวิชาการ และคุณวุฒิการศึกษาของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3 10. สถานที่จัดการเรียนการสอน 3 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำาเป็นต้องนำามา พิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 3 12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความ เกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 4 13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่น ของสถาบัน 5 หมวดที่ 2 ข้อ มูล เฉพาะของหลัก สูต ร 1. ปรัชญา ความสำาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2. แผนพัฒนาปรับปรุง 6 6 6 หมวดที่ 3 ระบบการจัด การศึก ษา การดำา เนิน การ และ โครงสร้า งหลัก สูต ร 10
  • 3. 3 1. ระบบการจัดการศึกษา 10 2. การดำาเนินการหลักสูตร 10 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 13 3.1 หลักสูตร 13 3.2 ชื่อ สกุล ตำาแหน่ง และคุณวุฒิของอาจารย์ 44 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) 51 5. ข้อกำาหนดเกี่ยวกับการทำาโครงงานหรืองานวิจัย 52 หน้า หมวดที่ 4 ผลการเรีย นรู้ กลยุท ธ์ก ารสอนและการประเมิน ผล 54 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 54 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 55 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียน รู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 59 หมวดที่ 5 หลัก เกณฑ์ใ นการประเมิน ผลนัก ศึก ษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 3. เกณฑ์การสำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 73 73 74 75 หมวดที่ 6 การพัฒ นาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสำาหรับอาจารย์ใหม่ 2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 75 75 75 หมวดที่ 7 การประกัน คุณ ภาพหลัก สูต ร 1. การบริหารหลักสูตร 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 3. การบริหารคณาจารย์ 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 5. การสนับสนุนและการให้คำาแนะนำา นักศึกษา 76 76 77 78 79 79
  • 4. 4 6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึง พอใจของผู้ใช้บัณฑิต 80 7. ตัวบ่งชี้ผลการดำาเนินงาน (Key Performance Indicators) 80 หมวดที่ 8 การประเมิน และปรับ ปรุง ดำา เนิน การของหลัก สูต ร 82 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 83 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 83 3. การประเมินผลการดำาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 83 4. การทบทวนผลการประเมินวางแผนปรับปรุงหลักสูตร และแผน กลยุทธ์การสอน 84 หน้า เอกสารภาคผนวก 85 เอกสารหมายเลข 1 ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลักสูตร ปรับปรุง 86 เอกสารหมายเลข 2 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ว่า ด้วยการจัดการศึกษาระดับ 94 ปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 เอกสารหมายเลข 3 การกำาหนดรหัสวิชาของสาขาวิชา 109 เอกสารหมายเลข 4 หนังสือรับรองมาตรฐานและข้อกำาหนดของ องค์กรวิชาชีพ 114 4.1 หนังสือรับรองมาตรฐานและข้อกำาหนดของเนติ บัณฑิตยสภา 115 4.2 หนังสือรับรองมาตรฐานและข้อกำาหนดสภา ทนายความ 116 เอกสารหมายเลข 5 ประวัติอาจารย์ประจำาสาขาวิชานิติศาสตร์ 117 เอกสารหมายเลข 6 ห้องสมุดนิติศาสตร์ 121 เอกสารหมายเลข 7 ศาลจำาลอง 125 เอกสารหมายเลข 8 ผลการสำารวจความพึงพอใจของหน่วยงาน และสถานประกอบการ 128 ต่อบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เอกสารหมายเลข 9 ผลงานทางวิชาการคณาจารย์ 132
  • 5. 5 หลัก สูต รนิต ิศ าสตรบัณ ฑิต สาขาวิช าวิช านิต ิศ าสตร์ หลัก สูต รปรับ ปรุง พ.ศ. 2555 ชื่อ สถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิท ยาเขต /คณะ/ภาควิช า มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อ มูล ทั่ว ไป 1. ชื่อ หลัก สูต ร ภาษาไทย : หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 2. ชื่อ ปริญ ญา ชื่อเต็ม : Bachelor of Laws Program : นิติศาสตรบัณฑิต : Bachelor of Laws
  • 6. 6 ชื่อย่อ : น.บ. : LL.B. (Legum Baccalaureus) 3. วิช าเอกหรือ ความเชี่ย วชาญเฉพาะของหลัก สูต ร (ถ้า ไม่ม ีไ ม่ ต้อ งระบุ) - ไม่มี – 4. จำา นวนหน่ว ยกิต ที่เ รีย นตลอดหลัก สูต ร ไม่น้อยกว่า 137 หน่วยกิต 5. รูป แบบของหลัก สูต ร 5.1 รูป แบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554 5.2 ภาษาที่ใ ช้ ภาษาไทย 5.3 การรับ เข้า ศึก ษา รับนักศึกษาไทย 5.4 ความร่ว มมือ กับ สถาบัน อื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การให้ป ริญ ญาแก่ผ ู้ส ำา เร็จ การศึก ษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลัก สูต รและการพิจ ารณาอนุม ัต ิ /เห็น ชอบ หลัก สูต ร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ปรับปรุงจากหลักสูตรนิติศาสตร บัณฑิต พ.ศ. 2549 เปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป สภาวิชาการเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 20/2554 วันที่ 29 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554 สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 1/2555 วันที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2555 7. ความพร้อ มในการเผยแพร่ห ลัก สูต รที่ม ีค ุณ ภาพและ มาตรฐาน ปีการศึกษา 2557 (หลังจากเปิดสอนแล้ว 2 ปี)
  • 7. 7 8. อาชีพ ที่ส ามารถประกอบได้ห ลัง สำา เร็จ การศึก ษา 8.1 ผู้พิพากษาหรือตุลาการศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาล ทหาร 8.2 พนักงานอัยการหรือนายทหารพระธรรมนูญ 8.3 ทนายความหรือที่ปรึกษาทางกฎหมาย 8.4 นิติกรภาครัฐหรือเอกชน 8.5 เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง เช่น ปลัดอำาเภอ ปลัดองค์การ บริหารส่วนตำาบล ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 8.6 นายตำารวจสัญญาบัตร นายทหารสัญญาบัตร 8.7 นักการทูตหรือเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ 8.8 เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐสังกัดสำานักงานศาลยุติธรรม สำานักงานอัยการสูงสุดหรือสังกัดกระทรวงยุติธรรม 8.9 นักวิชาการด้านกฎหมายหรือครูในระดับขั้นพื้นฐานหรือ อาจารย์ในระดับอุดมศึกษา 8.10 เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลของภาครัฐและเอกชน 8.11 นักการเมืองระดับชาติและระดับท้องถิ่น 9. ชื่อ -นามสุก ล ตำา แหน่ง ทางวิช าการ และคุณ วุฒ ิก ารศึก ษา ของอาจารย์ผ ู้ร ับ ผิด ชอบหลัก สูต ร ตำา แหน่ ลำา ดั ง บที่ ทาง วิช าการ ชือ -นามสกุล ่ คุณ วุ ฒิ 1. อาจารย์ นายเอกพงษ์ สาร น้อย น.ม น.บ. 2. อาจารย์ นายเจนพล ทอง ยืน น.ม. น.บ. 3. อาจารย์ นางวัฒนา เล็กพูล น.ม. เกิด น.บ. 4. อาจารย์ นางพัชมณ ใจ สอาด น.ม. น.บ. สาขาวิช า ปีท ี่จ บ กฎหมาย มหาชน นิติศาสตร์ กฎหมาย มหาชน นิติศาสตร์ กฎหมาย มหาชน นิติศาสตร์ กฎหมาย ธุรกิจ นิติศาสตร์ 2547 2541 2545 2540 2547 2541 2548 2541
  • 8. 8 5. อาจารย์ น.ส.เบญจวรรณ ธรรมรัตน์ น.ม. น.บ. กฎหมาย ธุรกิจ นิติศาสตร์ 2548 2540 10. สถานที่จ ัด การเรีย นการสอน 10.1 ห้องเรียนทฤษฏี 10.2 ห้องปฏิบัติการศาลจำาลองมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 11. สถานการณ์ภ ายนอกหรือ การพัฒ นาที่จ ำา เป็น ต้อ งนำา มา พิจ ารณาในการวางแผนหลัก สูต ร 11.1 สถานการณ์ห รือ การพัฒ นาทางเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาในกระแส โลกาภิวัฒน์มีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ มีการรวมตัวของกลุ่ม เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงในสังคมเมือง การพัฒนาประเทศจะต้อง ดำาเนินการไปพร้อมกับการพัฒนาและยกระดับการศึกษา ผลกระทบจากสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและ วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทำาให้จำาเป็นต้องพัฒนา หลักสูตรนิติศาสตร์อย่างบูรณาการและมีศักยภาพในเชิงรุกและ สร้างสรรค์ ให้ตรงกับความต้องการของตลาด เพื่อเชื่อมโยงเป็นเครือ ข่ายสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ด้วยการผลิตบุคลากรทาง กฎหมายที่มีความสามารถเฉพาะด้าน มีความรู้ดีทางด้านภาษาต่าง ประเทศและกฎหมายธุรกิจ มีวิสัยทัศน์และความคิดสร้างสรรค์พร้อม ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงาน ผู้ใช้บัณฑิตและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเพื่อให้ทันต่อคู่แข่งขัน และการเปลี่ยนแปลงของโลก ปรัชญาของมหาวิทยาลัยที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น กล่าวไว้ว่าต้องผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำานึกในความ เป็นไทย มีความรักและผูกพันท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง จากสถานการณ์และความจำาเป็นข้างต้น การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ทางด้านนิติศาสตร์ให้มีความพร้อมทั้งด้านความรู้ที่ดี จึงมีความ จำาเป็นและมีความสำาคัญต่อการรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของ การพัฒนา
  • 9. 9 11.2 สถานการณ์ห รือ การพัฒ นาทางสัง คมและวัฒ นธรรม การนำาองค์ความรู้และทักษะด้านนิติศาสตร์มาสนับสนุนในการ ป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญาของภูมิปัญญาท้อง ถิ่นไทย ปัญหาอาชญากรรมและสังคมปัญหาการก่อการร้าย การระบาด ของโรคพันธุกรรมใหม่ๆ และการค้ายาเสพติดในหลายรูปแบบจึงจำาเป็น ต้องมีการพัฒนาคนให้มีคุณธรรมนำาความรู้ เข้าใจกฎหมายต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวัน และกฎหมายระหว่างประเทศ 11.2.1 ภาคประชาชนสามารถเสนอกฎหมายและตรวจสอบ อำานาจรัฐ โดยยื่นถอดถอนผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมือง ทำาให้ระดับ ความโปร่งใสของประเทศไทยในมุมมองของนักธุรกิจต่างชาติขยับตัว ในระดับดีขึ้น 11.2.2 สถาบันมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากสถานการณ์และการพัฒนาทาง วัฒนธรรมสังคมดังกล่าวจึงมีความจำาเป็นต้องให้มีความพร้อมทางด้าน นิติศาสตร์ เพื่อเป็นการรองรับและสนับสนุนการพัฒนาทางสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งต้องใช้บุคลากรทางด้านนิติศาสตร์ที่มีคุณภาพ 12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อ การพัฒ นาหลัก สูต รและความ เกี่ย วข้อ งกับ พัน ธกิจ ของสถาบัน 12.1 การพัฒ นาหลัก สูต ร หลักสูตรมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนาให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 12.1.1 หลักสูตรมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่าง ประเทศ 12.1.2 หลักสูตรมีมาตรฐานให้ผู้จบการศึกษามีมาตรฐานใน วิชาชีพทางนิติศาสตร์ 12.2 ความเกี่ย วข้อ งกับ พัน ธกิจ ของสถาบัน 12.2.1 สถาบันต้องผลิตบัณฑิตที่มีบุคลิกภาพและมาตรฐานเป็น ที่ต้องการของสังคม 12.2.2 สถาบันต้องสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความพร้อมทุกด้าน ตามการพัฒนาหลักสูตรในข้อ 12.1 การพัฒนาหลักสูตรและมีความ เกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบันตามข้อ 12.2 13. ความสัม พัน ธ์ก ับ หลัก สูต รอื่น ที่เ ปิด สอนในคณะ /ภาควิช า อื่น ของสถาบัน
  • 10. 10 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาค วิชา/หลักสูตรอื่น -ไม่มี13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/ หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน LAWP2107 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3(30-6) LAWP2108 กฎหมายและจรรยาบรรณสื่อสารมวลชน 3(30-6) LAWP2501 กฎหมายธุรกิจ 3(30-6) LAWP3201 กฎหมายอาญา ภาคทั่วไปและลหุโทษ 3(30-6) LAWP3202 กฎหมายอาญา ภาคความผิด 3(30-6) LAWP3303 กฎหมายการศึกษา 3(30-6) LAWP3406 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(30-6) LAWP3501 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายการลงทุนในประเทศจีน 3(30-6) LAWP3703 กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยว 3(30-6) LAWP3704 กฎหมายแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ 3(30-6)
  • 11. 11 LAWP3705 กฎหมายความปลอดภัย 0-6) LAWP4103 กฎหมายเพื่อชีวิต 3(3-0-6) LAWP4701 กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 0-6) 13.3 การบริหารจัดการ -ไม่มี- 3(3- 3(3- หมวดที่ 2 ข้อ มูล เฉพาะของหลัก สูต ร 1.ปรัช ญา ความสำา คัญ และวัต ถุป ระสงค์ข องหลัก สูต ร 1.1 ปรัช ญา มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิิตที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรม ยึดมั่นในหลักนิติธรรม (The Rule of law) มีจิตใจรักความยุติธรรม และบริการสังคม 1.2 วัต ถุป ระสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มุ่งที่จะพัฒนาศักยภาพของ นักศึกษาให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญา สามารถดำารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นผู้ที่เพียบพร้อมด้วย คุณธรรมและคุณภาพทางด้านวิชาการเฉพาะสาขา ดังนี้ 1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้พื้นฐานทั่วไปทางกฎหมายทั้ง ในทางทฤษฎีและปฏิบัติเป็นอย่างดี
  • 12. 12 1.2.2 เพือผลิตบัณฑิตให้มทศนคติทสร้างสรรค์ในการปฏิบติ ่ ี ั ี่ ั หน้าที่ เพือให้สอดคล้องกับหลักนิตธรรม (The Rule of law) ่ ิ 1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตผู้สามารถประกอบวิชาชีพกฎหมาย ตามความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 1.2.4 เพื่อส่งเสริมให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถและมี คุณธรรม ยึดมั่นในหลักนิติธรรม (The Rule of law) มีจิตใจรักความ ยุติธรรมและบริการสังคม 1.2.5 เพื่อให้บัณฑิตสามารถศึกษาวิชากฎหมายเฉพาะด้าน ในขั้นสูงต่อไป 1.2.6 เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีวิสัยทัศน์ทันการเปลี่ยนแปลงโลก และสังคม 2. แผนพัฒ นาปรับ ปรุง คาดว่าจะดำาเนินการแล้วเสร็จครบถ้วนภายในรอบการศึกษา 5 ปี 2.1 การจัด การหลัก สูต ร แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ 1. หลักสูตรมีความทันสมัย ส่งเสริมให้อาจารย์และ นักศึกษา ติดตาม ค้นคว้า วิจัยต่างๆ ทางนิติศาสตร์ 2. สร้างบรรยากาศและ กระตุ้นให้นักศึกษาเป็นผู้ใฝ่ เรียนรู้ตลอดชีวิต ค้นคว้า เพื่อพัฒนาความรู้ทาง นิติศาสตร์ 3. ตรวจสอบและปรับปรุง หลักสูตรเป็นประจำา 4. ประเมินมาตรฐานของ หลักสูตรเป็นระยะๆ กลยุท ธ์ หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ด ี้ ั 1. พัฒนาหลักสูตรให้มี ความทันสมัยตาม มาตรฐานด้านนิติศาสตร์ ในระดับสากล 2. ปรับปรุงหลักสูตรทุกๆ 5 ปี 3. หลักสูตรต้องมีเนื้อหา เหมาะสม มีกิจกรรม วิชาการที่ช่วยให้ นักศึกษาสามารถติดตาม ข่าวสารทันสมัยได้จาก การเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. มีผู้สนับสนุนการเรียน 1. สามารถเปรียบ เทียบหลักสูตรกับ มาตรฐานในสาขาทาง นิติศาสตร์ และมีการ ปรับปรุงแก้ไขอย่าง สมำ่าเสมอ 2. วิชาต่างๆ มีการ สอนทั้งภาคทฤษฎีและ การปฏิบัติ เพื่อให้ นักศึกษาสามารถเรียน รู้ได้ด้วยตนเอง 3. จำานวนอาจารย์และ ประวัติการทำางาน รวม
  • 13. 13 แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ 2.2 กลยุท ธ์ หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ด ี้ ั รู้ หรือผู้ช่วยสอน ที่ช่วย กระตุ้นนักศึกษาให้เรียน รู้ได้ดีขึ้น 5.อาจารย์ต้องจบ ปริญญาโทหรือปริญญา เอกและมีความเชี่ยวชาญ ในสาขานั้นๆ 6. ส่งเสริมให้อาจารย์ทำา วิจัยเพื่อใฝ่หาความรู้ใน สาขานิติศาสตร์ 7. ประเมินหลักสูตรโดย คณะ กรรมการวิชาการ ภายในทุก 3 ปี และภาย นอกทุกๆ 5 ปี 8. รวบรวมหลักฐาน ข้อมูลของนักศึกษา อาจารย์ อุปกรณ์สอน และวิจัย งบประมาณ ความร่วมมือทางวิชาการ ผลงานตีพิมพ์ของแต่ละ ภาคการศึกษาเพื่อเป็น ข้อมูลในการประเมิน 9. สำารวจความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่มีต่อ หลักสูตรที่สำาเร็จการ ศึกษา เพื่อทราบถึงความ พึงพอใจต่อการเรียนการ สอนและหลักสูตร ถึงการฝึกอบรมของ อาจารย์ 4. จำานวนผู้สนับสนุน การเรียนรู้ หรือผู้ช่วย สอน 5. ผลประเมินการ เรียนการสอนของ อาจารย์ และผู้ช่วย สอนหลังจบภาคการ ศึกษา 6. หลักสูตรมีการ ประเมินโดยคณะ กรรมการวิชาการภาย ในทุกๆ 3 ปี และภาย นอกทุกๆ 5 ปี 7. มีการสำารวจความ พึงพอใจในหลักสูตร จากบัณฑิต กลยุท ธ์ หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด ี้ 1. ติดตังอุปกรณ์ต่างๆ ้ ในห้องเรียนเพื่อการสอน ที่มีประสิทธิภาพ 2. มีห้องปฏิบัติการศาล จำาลอง ที่มีอุปกรณ์ที่ได้ มาตรฐานสากล เพื่อให้ 1. รวบรวมและบันทึก อัตราส่วนอุปกรณ์ต่อ จำานวนนักศึกษา จำานวนชัวโมงที่ ่ นักศึกษาใช้ห้องปฏิบัติ การศาลจำาลอง ทรัพ ยากรประกอบการเรีย นการสอน แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ 1. มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติ การศาลจำาลอง เพื่อให้การ เรียนการสอนภายในเวลา และภายนอกเวลามี ประสิทธิภาพ
  • 14. 14 แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ 2.3 กลยุท ธ์ หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด ี้ นักศึกษาได้เรียนและฝึก ปฏิบัติ 3. มีห้องสมุดที่เปิดนอก เวลาเรียน และพื้นที่เพียง พอสำาหรับให้นักศึกษา 4. พัฒนาห้องสมุดใน สถานศึกษาที่มีตำารา เรียน มีหนังสืออ้างอิง งานวิจัย และสื่ออุปกรณ์ ต่างๆ อย่างเพียงพอ 2. รวบรวมจำานวน ตำาราเรียนและอุปกรณ์ ดิจิตอลที่มีอยู่ พร้อมทั้ง ปริมาณการใช้งาน 3. สำารวจความพึง พอใจของนักศึกษาต่อ การบริการอุปกรณ์เพื่อ การศึกษา การให้ค ำา ปรึก ษา และความช่ว ยเหลือ ต่อ นัก ศึก ษา แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ 1. ผลิตนักศึกษาซึ่งมี คุณสมบัติที่นายจ้าง หน่วย งานภาครัฐ ท้องถิ่น และ สถานประกอบการต้องการ นักศึกษามีความสามารถทั้ง ด้านวิชาการ และมีคุณธรรม จริยธรรม กลยุท ธ์ หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด ี้ 1. มีช่วงเวลาสำาหรับให้ คำาปรึกษาแก่นักศึกษา 2. เตรียมประวัติทางการ ศึกษาและพฤติกรรมของ นักศึกษาไว้เพื่อการ ติดต่อในอนาคต 3. จัดตั้งช่องทางการ ติดต่อระหว่างนักศึกษา กับอาจารย์ 4. มีศูนย์ช่วยเหลือ และ ให้บริการแก่ประชาชน ทางกฎหมาย 5.มีผู้ประสานงานที่ สนับสนุนบริการทางการ เรียนการสอนและให้คำา ปรึกษากับนักศึกษา สนับสนุนค่าใช้จ่าย สำาหรับกิจกรรมพิเศษ นอกหลักสูตร รวมทั้งส่ง เสริมให้นักศึกษาเข้าร่วม กิจกรรม 6. มีเจ้าหน้าที่ประสาน งานเกี่ยวกับกิจกรรมเสริม 1. จำานวนชั่วโมงการ ให้ คำาปรึกษา 2. จำานวนและ อัตราส่วนของนักศึกษา ที่สำาเร็จการศึกษาใน แต่ละปีการศึกษา 3. ประวัติทางวิชาการ และพฤติกรรมของ นักศึกษาที่อาจารย์ที่ ปรึกษาสามารถค้นหา ได้ 4. จำานวนกิจกรรม พิเศษนอกหลักสูตร จำานวนนักศึกษาที่เข้า ร่วม และอัตราส่วนเงิน สนับสนุน 5. เจ้าหน้าที่ที่มี คุณสมบัติพร้อมในการ สนับสนุนด้านการเรียน การสอน และประสาน งานการทำากิจกรรม 6. ผลการสำารวจความ พึงพอใจของนักศึกษา
  • 15. 15 แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ กลยุท ธ์ นอกหลักสูตร หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด ี้ ต่อการให้การสนับสนุน ต่างๆ ในแต่ละภาคการ ศึกษา 2.4 ความต้อ งการของตลาดแรงงาน และสัง คม และ ความพึง พอใจของนายจ้า งต่อ คุณ ภาพบัณ ฑิต แผนการพัฒ นา/ เปลีย นแปลง ่ 1. ผลิตนักศึกษาที่คุณสมบัติ ดังนี้ - มีความรู้และทักษะที่สมดุล กับความต้องการของ นายจ้าง - มีความสามารถเป็นผู้นำา ทางวิชาชีพ และมีความรับ ผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม กลยุท ธ์ หลัก ฐาน/ดัช นีช ว ัด ี้ 1. ขอคำาที่ปรึกษาจาก หน่วยงานภาครัฐ และผู้ ประกอบการเพื่อใช้ใน การปรับปรุงหลักสูตรใน อนาคต 2. ประเมินทักษะความรู้ จรรยาบรรณและความ สามารถในการทำางานเป็น ทีมของนักศึกษาที่สำาเร็จ การศึกษา 3. ฝึกอบรมและเสวนา นักศึกษาเพื่อให้ทราบ ประสบการณ์จริง 4. สอดแทรกคุณค่าทาง จรรยาบรรณทั้งในและ นอกห้องเรียน 5.มีวชาเรียนในหมวด ิ วิชาศึกษาทั่วไปที่เน้น การพัฒนาความรู้เท่าทัน สถานการณ์และความ เฉลียวฉลาดทางอารมณ์ 6. ช่วยเหลือและ สนับสนุนกิจกรรมพิเศษ นอกหลักสูตรที่เน้น คุณธรรม จริยธรรม 1. นำาข้อเสนอแนะของ นายจ้าง หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนมา ใช้ในการพัฒนาและ แก้ไขหลักสูตร 2. วิเคราะห์ผลการ ประเมินความพึงพอใจ ของนายจ้าง หน่วย งานภาครัฐและเอกชน ที่มีต่อผู้สำาเร็จการ ศึกษา 3. จำานวนวิชาใน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ที่เน้นจรรยาบรรณและ หลักการทำางานร่วมกัน 4. จำานวนกิจกรรมหรือ โครง การที่เกี่ยวข้อง กับคุณธรรม จริยธรรม 5. สถิติการทำางานใน สาขานิติศาสตร์ และ สาขาที่เกี่ยวข้องของผู้ สำาเร็จการศึกษา
  • 16. 16 หมวดที่ 3 ระบบการจัด การศึก ษา การดำา เนิน การ และโครงสร้า ง หลัก สูต ร 1.ระบบการจัด การศึก ษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษมว่าด้วยการ จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 1.2การจัด การศึก ษาภาคฤดูร ้อ น เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย 1.3 การเทีย บเคีย งหน่ว ยกิต ในระบบทวิภ าค -ไม่มี2.การดำา เนิน การหลัก สูต ร 2.1 วัน - เวลาในการดำา เนิน การเรีย นการสอน ภาคเรียนที่ 1มิถุนายน – ตุลาคม ภาคเรียนที่ 2พฤศจิกายน – มีนาคม ภาคฤดูร้อน เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย 2.2คุณ สมบัต ิข องผู้เ ข้า ศึก ษาและการคัด เลือ กผู้เ ข้า ศึก ษา 2.2.1 คุณ สมบัต ิข องผู้เ ข้า ศึก ษา 1) ต้องสำาเร็จการศึกษาไม่ตำ่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า
  • 17. 17 2) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำานักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา 3) มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ 4) มีความประพฤติดี มีความตังใจทีจะใช้ความสามารถของตน ้ ่ ในการทีจะศึกษา และปฏิบติ ่ ั ตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด 2.2.2 การคัด เลือ กผู้เ ข้า ศึก ษา ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมว่าด้วยการจัดการ ศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข 2) 2.3 ปัญ หาของนัก ศึก ษาแรกเข้า 2.3.1 ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนระดับมัธยมศึกษา 2.3.2 นักศึกษาไม่มีพื้นฐานวิชากฎหมาย กลยุท ธ์ใ นการดำา เนิน การเพื่อ แก้ไ ขปัญ หา /ข้อ จำา กัด ของนัก ศึก ษาในข้อ 2.3 2.4.1 จัดสอนเสริมเตรียมความรู้พื้นฐานก่อนการเรียน 2.4.2 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่แนะนำาการวางเป้า หมายชีวิตเทคนิคการเรียนในมหาวิทยาลัย และการแบ่งเวลา 2.4.3 จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อทำาหน้าที่สอด ส่องดูแลตักเตือนให้คำาแนะนำาแก่นักศึกษา และให้เน้นยำ้าในกรณีที่ นักศึกษามีปัญหาตามข้างต้นเป็นกรณีพิเศษ 2.4.4 จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความสัมพันธ์ ของนักศึกษาและการดูแลนักศึกษาได้แก่ วันแรกพบระหว่างนักศึกษา กับอาจารย์ วันพบผู้ปกครอง การติดตามการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จากอาจารย์ผู้สอน และจัดกิจกรรมสอนเสริมถ้าจำาเป็น 2.4
  • 18. 18 2.5 แผนการรับ นัก ศึก ษาและผู้ส ำา เร็จ การศึก ษาในระยะ เวลา 5 ปี จำา นวน จำา นวนนัก ศึก ษาแต่ล ะปีก ารศึก ษา นัก ศึก ษาระดับ 2555 2556 2557 2558 2559 ปริญ ญาตรีช ั้น ปี ที่ (คน) 100 100 100 100 100 1 80 80 80 80 70 70 70 2 65 65 3 4 รวม จำา นวนผู้ส ำา เร็จ การศึก ษา 100 180 250 315 65 315 65 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ งบประมาณรายรับ (หน่ว ย บาท) ปีง บประมาณ รายละเอีย ด รายรับ 2555 2556 2557 2558 ค่า บำา รุง การ 570,0 1,026, 1,425, 1,795, ศึก ษา 00 000 000 500 ค่าลงทะเบียน 330,0 594,0 825,0 1,039, 00 00 00 500 เงินอุดหนุนจาก รัฐบาล รวมรายรับ 900,0 1,620, 2,250, 2,835, 00 000 000 000 งบประมาณรายจ่า ย (หน่ว ย บาท) ปีง บประมาณ หมวดเงิน 2555 2556 2557 2558 ก.งบดำาเนินการ 2559 1,795, 500 1,039, 500 2,835, 000 2559
  • 19. 19 1. ค่าใช้จ่าย บุคลากร 2. ค่าใช้จ่าย ดำาเนินการ 3. ทุนการศึกษา 4. รายจ่ายระดับ มหาวิทยาลัย 1,145, 1,236 1,335, 1,442, 1,557 040 ,643 575 421 ,814 84,89 89,13 93,59 98,27 103,1 3 8 5 4 88 - รวม (ก) 1,229, 1,325 1,429, 1,540, 1,661 933 ,781 170 695 ,002 ข. งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ รวม (ข) รวม (ก) + (ข) จำา นวนนัก ศึก ษา * ค่า ใช้จ ่า ยต่อ หัว นัก ศึก ษา - - - - - - - - - - 1,229, 1,325 1,429, 1,540, 1,661 933 ,781 170 695 ,002 100 200 300 12,29 6,629 4,764 9 400 400 3,852 4,153 2.7 ระบบการจัด การศึก ษา จัดการศึกษาแบบชั้นเรียนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษมว่าด้วยการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข 2) 2.8 การเทีย บโอนหน่ว ยกิต รายวิช าและการลงทะเบีย น เรีย นเข้า มหาวิท ยาลัย ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมว่าด้วยการจัดการ ศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ภาคผนวกเอกสาร หมายเลข 2)
  • 20. 20 3.หลัก สูต รและอาจารย์ผ ู้ส อน 3.1 หลัก สูต ร 3.1.1 จำา นวนหน่ว ยกิต รวมตลอดหลัก สูต รไม่น ้อ ยกว่า 137 หน่ว ยกิต 3.1.2 โครงสร้า งหลัก สูต ร 1 หมวดวิช าศึก ษาทั่ว ไป 30 หน่ว ยกิต 2 หมวดวิช าเฉพาะ 101 หน่ว ยกิต 2.1 กลุ่มวิชาเอกบังคับ 85 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มวิชาเอกเลือก 9 หน่วยกิต 2.3 กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หน่วยกิต 3 หมวดวิช าเลือ กเสรี 6 หน่ว ยกิต 3.1.3 รายวิช าในโครงสร้า งหลัก สูต ร 1 หมวดวิช าศึก ษาทั่ว ไป 30 หน่ว ยกิต 1.1. กลุ่ม วิท ยาศาสตร์แ ละคณิต ศาสตร์ เลือ ก เรีย น 6 หน่ว ยกิต GESC1101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3(3-0-6) Information Technology and Communication GESC1102 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 3(3-0-6) Sciences for Life GESC1103 พืชพรรณเพื่อชีวิต 3(3-0-6) Plants for Life GESC1104 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ ชีวิต 3(3-0-6)
  • 21. 21 Natural Resources and Environment for Life GESC1105 ชีวิตกับเทคโนโลยี 3(3-0-6) Life and Technology GESC1106 การคิดและคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำาวัน 3(3-0-6) Thinking and Mathematics in Daily Life 1.2 กลุ่ม ภาษา 9 หน่ว ยกิต วิช าบัง คับ 6 หน่ว ยกิต GETH1001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Thai for Communication GEEN1001 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) English for Communication วิช าเลือ ก 3 หน่ว ยกิต GEKR1101 ภาษาเกาหลีเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Korean for Communication GEKM1101 ภาษาเขมรเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Khmer for Communication GECN1101 ภาษาจีนเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Chinese for Communication GEJP1101 ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Japanese for Communication GEFR1101 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic French for Communication
  • 22. 22 GEVN1101 ภาษาเวียดนามเบื้องต้นเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Vietnamese for Communication GEEN1101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารขั้นสูง 3(3-0-6) English for Advanced Communication GEEN1102 ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสำาหรับ การสมัครงาน 3(3-0-6) English for Career Application 1.3 กลุ่ม วิช ามนุษ ยศาสตร์ 7 หน่ว ยกิต วิช าบัง คับ 1 หน่ว ยกิต GEHS1001 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 1(1-0-2) Information for Learning วิช าเลือ ก 6 หน่ว ยกิต GEHS1101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetics of Life GEHS1102 การพัฒนาตนเพื่อความสุขของชีวิต 3(3-0-6) Self-Development for Happiness in Life GEHS1103 จริยธรรมทางสังคมและการใช้เหตุผล 3(3-0-6) Social Morality and Reasoning 1.4 กลุ่ม วิช าสัง คมศาสตร์ วิช าบัง คับ 6 หน่ว ยกิต 3 หน่ว ยกิต GESO1001 พลวัตสังคมไทย 3(3-0-6) Dynamics of Thai Society วิช าเลือ ก 3 หน่ว ยกิต GESO1101 พลวัตสังคมโลก 3(3-0-6)
  • 23. 23 Dynamics of Global Society GESO1102 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Man and Environment GESO1103 กฎหมายในชีวิตประจำาวัน 3(3-0-6) Law for Daily Life GESO1104 เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ 3(3-0-6) Sufficiency Economy and Application GESO1105 ธุรกิจสำาหรับชีวิตประจำาวัน 3(3-0-6) Business for Daily Life 1.5 กลุ่ม วิช าพลานามัย 2 หน่ว ยกิต วิช าบัง คับ หน่ว ยกิต GEPA1001 การออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพ 1(0-2-1) Exercises for Health GEPA1002 กีฬาประเภทบุคคล 1(0-2-1) Individual Sports 2. วิช าเฉพาะ หน่ว ยกิต 2.1 กลุ่ม วิช าเอกบัง คับ 85 หน่ว ยกิต LAWP1101 กฎหมายเอกชน 2(2-0-4) Principle of Private Law LAWP1102 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินและที่ดิน 0-6) หมวด 101 หลัก 3(3-
  • 24. 24 Property and Land Law LAWP1103 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะนิติกรรมและสัญญา 3(3-0-6) Civil and Commercial Code: Juristic Acts and Contracts LAWP1104 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะหนี้ 3(30-6) Civil and Commercial Code: Obligation LAWP1201 กฎหมายอาญา 1 3(30-6) Criminal Law 1 LAWP1301 หลัก กฎหมายมหาชน2(2-0-4) Principle of Public Law LAWP2101 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้ 3(30-6) Civil and Commercial Code: Wrongful Acts, Management of Affairs without Mandate and Undue Enrichment LAWP2102 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ 3(30-6) Civil and Commercial Code: Sale, Exchange, Gift, Hire of Property, Hire Purchase LAWP2103 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะยืม ฝากทรัพย์ เก็บ ของในคลังสินค้า คำ้าประกัน จำานอง จำานำา 3(30-6)
  • 25. 25 Civil and Commercial Code: Loan Deposit, Warehousing, Compromise, Suretyship, Mortgate, Pladge LAWP2104 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะตัวแทน นายหน้า ประกันภัย 2(2-0-4) Civil and Commercial Code: Agency, Brokerage, Insurance LAWP2105 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะตั๋วเงินและ บัญชีเดินสะพัด 2(2-0-4) Civil and Commercial Code: Bills, Current Account LAWP2106 นิติ ปรัชญา 2(2-0-4) Legal Philosophy LAWP2201 กฎหมายอาญา 2 3(30-6) Criminal Law 2 LAWP2202 กฎหมายอาญา 3 3(3-0-6) Criminal Law 3 LAWP2301 กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 3(30-6) Constitutional Law and Political Institution LAWP3101 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะห้างหุ้นส่วน บริษัท และสมาคม 2(2-0-4) Civil and Commercial Code :Partnerships, Companies, Association LAWP3102 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัว 3(30-6)
  • 26. 26 0-6) 0-6) 0-6) 0-4) Civil and Commercial Code : Family LAWP3103 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยมรดก 3(3Civil and Commercial Code : Succession LAWP3301 กฎหมายปกครอง 3(3Administrative Law LAWP3302 กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร 3(3- Taxation Law LAWP3401 ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม 2(2- Judicial System and Constitution of Courts 0-6) 0-6) 0-6) 0-6) 0-6) LAWP3402 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1 3(3- Criminal Procedure Law 1 LAWP3403 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2 3(3- Criminal Procedure Law 2 LAWP3404 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1 3(3- Civil Procedure Law 1 LAWP3405 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2 3(3- Civil Procedure Law 2 LAWP3701 กฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ 3(3-
  • 27. 27 Bankruptcy Law LAWP3702 กฎหมายแรงงานและการประกันสังคม Labor and Social Security Law LAWP3901 ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์ 0-6) 0-4) 3(3- Evidence Law LAWP4601 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง 0-6) 3(3- Research Methodology in Law LAWP4401 กฎหมายลักษณะพยาน 0-6) 3(3- 2(2- Public International Law LAWP4602 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลและอาญา 2(2-0-4) Private International Law LAWP4901 การสัมมนาทางนิติศาสตร์ 1(0-2-1) Seminar in Law หน่ว ยกิต 2.2 กลุ่ม วิช าเอกเลือ ก 9 ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งก็ได้ ดังต่อไปนี้ LAWP4101 การ ว่าความและการจัดทำาเอกสารทางกฎหมาย 3(30-6) Lawyer Practice and Legal Profession LAWP4102 กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำาผิดของเด็กและ เยาวชนและวิธีพิจารณาคดีครอบครัว 3(30-6)
  • 28. 28 Juvenile Delinquency and Procedure of 0-6) Court Law LAWP4301 ศาล ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 3(30-6) Administrative Court and Procedure LAWP4302 กฎหมายการคลังและภาษีอากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 3(3-0-6) Fiscal Law and Taxation of Local Authorities LAWP4303 กฎหมายอาเซียน 3(30-6) ASEAN Law LAWP4501 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา 3(3Intellectual Property Law LAWP4502 กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 0-6) 3(0-6-3) 3(3- International Trade Law LAWP4902 การวิจัยทางนิติศาสตร์ Research in Law 2.3 กลุ่ม วิช าปฏิบ ัต ิก ารและฝึก ประสบการณ์ว ิช าชีพ 7 หน่ว ยกิต LAWP4801 การเตรี ยมฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย 2(90) Preparation for Legal Professional Practice
  • 29. 29 LAWP4802 ประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย 5(225) Legal Professional Practice การฝึก 3. หมวดวิช าเลือ กเสรี 6 หน่ว ยกิต นักศึกษาจะต้องศึกษารายวิชาเลือกเสรีอย่างน้อยจำานวน 6 หน่วยกิต ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพหรืออยู่ในความสนใจที่เปิด สอนในมหาวิทยาลัยและต้องไม่ซำ้ากับรายวิชาที่เคยศึกษามาแล้ว 4. กลุ่ม วิช าสำา หรับ นัก ศึก ษาสาขาวิช าอื่น LAWP2107 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 0-6) Principles of Jurisprudence LAWP2108 กฎหมายและจรรยาบรรณสื่อสารมวลชน 0-6) Mass Communication Law Code of Ethics LAWP2501 กฎหมายธุรกิจ 0-6) Business Law LAWP3201 กฎหมายอาญา ภาคทั่วไปและลหุโทษ 0-6) Criminal Law : General and petty offences LAWP3202 กฎหมายอาญา ภาคความผิด 0-6) Criminal Law : Offence LAWP3303 กฎหมายการศึกษา 0-6) 3(3- 3(3- 3(3- 3(3- 3(3- 3(3-
  • 30. 30 Education Law LAWP3406 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 0-6) จีน 0-6) 0-6) 0-6) 3(3- Criminal Procedure Law LAWP3501 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายการลงทุนในประเทศ 3(3-0-6) Introduction to Investment Law in China LAWP3703 กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยว 3(3Tourism Law LAWP3704 กฎหมายแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ 3(3- Labor Law and Labor Relations Law LAWP3705 กฎหมายความปลอดภัย 3(3- Safety Law LAWP4103 กฎหมายเพื่อชีวิต 3(3-0-6) Law for Life LAWP4701 กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 0-6) Information Technology Law 3.1.4 แผนการเรีย น ชั้น ปีท ี่ 1 ภาคการศึก ษาที่ 1 หมวดวิช า รหัส ชื่อ วิช า วิช า 1. หมวดวิชา GESC1 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต ศึกษาทั่วไป 102 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3- หน่ว ยกิต 3 3
  • 31. 31 2. หมวดวิชา เฉพาะ 2.1 กลุ่มวิชา เอกบังคับ 3. หมวดวิชา เลือกเสรี GETH1 001 GEEN1 001 GEHS1 001 GESO1 001 GEPA1 001 GEPA1 002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ พลวัตสังคมไทย การออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพ กีฬาประเภทบุคคล LAWP1 หลักกฎหมายเอกชน 101 LAWP1 หลักกฎหมายมหาชน 301 รวม ภาคการศึก ษาที่ 2 หมวดวิช า 1. หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชา เฉพาะ รหัส วิช า GEEN1 102 ชื่อ วิช า ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อม สำาหรับการสมัครงาน พลวัตสังคมโลก GESO1 การพัฒนาตนเพื่อความสุขของชีวิต 101 จริยธรรมทางสังคมและการใช้ GEHS1 เหตุผล 102 GEHS1 103 3 1 3 1 1 2 2 19 หน่ว ย กิต 3 3 3 3
  • 32. 32 2.1 กลุ่มวิชา เอกบังคับ 3. หมวดวิชา เลือกเสรี LAWP1 103 LAWP2 301 LAWP1 102 - 3 3 3 LAWP1 201 LAWP1 104 LAWP2 102 LAWP2 103 - - - รวม ภาคการศึก ษาที่ 1 หมวดวิช า รหัส วิช า 1. หมวดวิชา GESC1 ศึกษาทั่วไป 101 2. หมวดวิชา เฉพาะ 2.1 กลุ่มวิชา LAWP2 เอกบังคับ 101 3. หมวดวิชา เลือกเสรี กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ นิติกรรมและสัญญา กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบัน การเมือง กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินและที่ดิน 21 ชื่อ วิช า หน่ว ย กิต 3 ชั้น ปีท ี่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ ละเมิด จัดการงานนอกสั่งและลาภมิ ควรได้ กฎหมายอาญา 1 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ หนี้ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ ยืม ฝากทรัพย์ เก็บของในคลังสินค้า คำ้าประกัน จำานอง จำานำา - 3 รวม 18 3 3 3 3 -
  • 33. 33 ภาคการศึก ษาที่ 2 หมวดวิช า รหัส วิช า 1. หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชา เฉพาะ 2.1 กลุ่มวิชา LAWP2 เอกบังคับ 104 LAWP2 105 LAWP2 106 LAWP2 201 LAWP2 202 LAWP3 301 ชื่อ วิช า - หน่ว ย กิต - กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ ตัวแทน นายหน้า ประกันภัย กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ ตั๋วเงินและบัญชี-เดินสะพัด นิติปรัชญา กฎหมายอาญา 2 กฎหมายอาญา 3 กฎหมายปกครอง กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะ ห้างหุ้นส่วน บริษัทฯ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย ครอบครัว 2 - - 2 2 3 3 3 2 3 LAWP3 101 3. หมวดวิชา เลือกเสรี LAWP3 102 - รวม ชั้น ปีท ี่ 3 20
  • 34. 34 ภาคการศึก ษาที่ 1 หมวดวิช า 1. หมวดวิชาศึกษา ทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 3. หมวดวิชาเลือก เสรี ภาคการศึก ษาที่ 2 หมวดวิช า 1. หมวดวิชาศึกษา ทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ รหัส วิช า LAWP31 03 LAWP34 01 LAWP34 02 LAWP34 04 LAWS37 01 LAWP37 02 LAWP39 01 - รหัส วิช า LAWP3 302 LAWP3 403 LAWP3 405 หน่ว ยกิ ต - กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยมรดก ระบบศาลและพระธรรมนูญ ศาลยุติธรรม กฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา 1 กฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่ง 1 กฎหมายล้มละลายและการ ฟื้นฟูกิจการ กฎหมายแรงงานและการ ประกันสังคม ระเบียบวิธีวิจัยทาง นิติศาสตร์ - 3 รวม - ชื่อ วิช า 20 ชื่อ วิช า หน่ว ยกิ ต - - - 2 3 3 3 3 3 - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร 3 กฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา 2 กฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่ง 2 กฎหมายลักษณะพยาน 3 3 3
  • 35. 35 หมวดวิช า รหัส วิช า LAWS4 401 LAWP4 601 LAWP4 602 ชื่อ วิช า กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล และอาญา 3. หมวดวิชาเลือก เสรี ภาคการศึก ษาที่ 1 หมวดวิช า 1. หมวดวิชาศึกษา ทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุ่มวิชาเอก บังคับ 2.2 กลุ่มวิชาเอก เลือก 2.3 กลุ่มวิชาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ 3. หมวดวิชาเลือก เสรี ภาคการศึก ษาที่ 2 หน่ว ยกิ ต 2 2 รวม 16 ชื่อ วิช า หน่ว ยกิ ต - ชั้น ปีท ี่ 4 รหัส - - LAWP49 การสัมนาทางนิติศาสตร์ 01 1 9 LAWP48 การเตรียมฝึกประสบการณ์ 01 วิชาชีพนักกฎหมาย 2 6 รวม 18
  • 36. 36 หมวดวิช า รหัส 1. หมวดวิชาศึกษา ทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุ่มวิชาเอก บังคับ 2.2 กลุ่มวิชาเอก เลือก 2.3 กลุ่มวิชาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ 3. หมวดวิชาเลือก เสรี - - หน่ว ยกิ ต - - - - - - - 3.1.5 ชื่อ วิช า LAWP48 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 02 นักกฎหมาย รวม คำา อธิบ ายรายวิช า ภาษาจีน เบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) Basic Chinese for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาจีนเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การแนะนำาตัว การกล่าวทักทาย การกล่าวขอบคุณ การกล่าวขอโทษ กล่าวคำาอำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถาน ที่ ดินฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน GECN1101 ภาษาอัง กฤษเพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) English for Communication ทักษะภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน เน้น การฟัง การพูด เพื่อการสื่อสารขั้นพื้นฐานใน สถานการณ์ต่างๆ ให้มีทักษะในการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ใน ชีวิตประจำาวัน สามารถเขียนประโยคพื้นฐานและ ข้อความสั้น ๆ เพื่อใช้ในการสื่อสาร GEEN1001 GEEN1101 6) ภาษาอัง กฤษเพื่อ การสื่อ สารขั้น สูง 3(3-0- 5 5
  • 37. 37 English for Advanced Communication ทักษะในการใช้ภาษาด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในระดับสูง การสื่อสาร โดยใช้ศัพท์ และรูปแบบของ ประโยคที่ซับซ้อน การสนทนา อภิปรายโต้ตอบ การนำา เสนอ การอ่านข้อความที่ซับซ้อน บทความเชิง วิชาการ และตำาราจากสื่อต่าง ๆ การเขียนประโยค ระดับซับซ้อน เขียนข้อความตั้งแต่สองย่อหน้า และ เขียนสรุปสาระสำาคัญของบทความทางวิชาการ GEEN1102 ภาษาอัง กฤษเพื่อ เตรีย มความพร้อ ม สำา หรับ การสมัค รงาน 3(3-0-6) English for Career Application ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมในการสมัคร งาน การอ่านเอกสาร ประชาสัมพันธ์การรับสมัคร งาน การเขียนประวัติโดยย่อ การเขียนจดหมายสมัคร งานและเอกสารที่ เกี่ยวข้อง การพัฒนาทักษะการพูด เพื่อการเตรียมตัวสัมภาษณ์และการติดตามผลการสมัคร งาน ภาษาฝรั่ง เศสเบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) Basic French for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การกล่าว ทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำา อำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดิน ฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน GEFR1101 GEHS1001 สารสนเทศเพื่อ การเรีย นรู้ 1(1-0-2) Information for Learning ความหมาย ความสำาคัญของสารสนเทศ แหล่ง สารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าภายในสถาบันการ ศึกษาและแหล่งสารสนเทศอื่น ๆ วิธีการสืบค้นฐาน ข้อมูลต่าง ๆ การรวบรวมสารสนเทศเพื่อการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง และวิธีการนำาเสนอผลการศึกษา ค้นคว้าตามรูปแบบมาตรฐาน
  • 38. 38 GEHS1101 สุน ทรีย ภาพของชีว ิต 3(3-0-6) Aesthetics of Life ความหมายของสุนทรียศาสตร์ และความงดงามของ ศาสตร์ทางดนตรี นาฏศิลป์และศิลปะทั้งไทยและสากล ให้เกิดความซาบซึ้งและเห็นคุณค่าของศาสตร์ทางความ งาม สามารถวิเคราะห์ คุณค่าทางสุนทรียศิลป์ โดย ผ่านขั้นตอนการเรียนรู้เชิงคุณค่า อันเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนารสนิยม สามารถดำารงตนอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข GEHS1102 การ พัฒ นาตนเพื่อ ความสุข ของชีว ิต 3(3-0-6) Self-development for Happiness of Life พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน องค์ประกอบของ พฤติกรรมพื้นฐานทางสรีรวิทยาที่ส่งผลต่อพฤติกรรม มนุษย์ พัฒนาการของมนุษย์ทุกช่วงวัย การศึกษา ตนเอง และการประเมินตนเองเพื่อการพัฒนา บุคลิกภาพ และการปรับตัวให้เหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลง การเสริมสร้างบุคลิกภาพ มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำางาน สุขภาพจิตและการจัดการความเครียด การสร้างเสริมชีวิตให้มีความสุข จริย ธรรมทางสัง คมและ การใช้เ หตุผ ล 3(3-0-6) Social Morality and Rationality แนวคิดพื้นฐานของมนุษย์ โลกทัศน์ ชีวทัศน์ การส่ง เสริมคุณธรรม จริยธรรม การมิีวินัย ความรับผิด ชอบ การพัฒนาปัญญาตามหลักศาสนธรรม การใช้ เหตุผลอย่างสร้างสรรค์ เพื่อการดำารงชีวิตในสังคม อย่างมีสันติสุข และสันติธรรม GEHS1103 ภาษาญี่ป ุ่น เบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) Basic Japanese for Communication GEJP1101
  • 39. 39 ทักษะพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การกล่าว ทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำา อำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดิน ฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน ภาษาเขมรเบื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) Basic Khmer for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาเขมรเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวข้อที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การกล่าว ทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำา อำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดิน ฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจำาวัน GEKM1101 ภาษาเกาหลีเ บื้อ งต้น เพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) Basic Korean for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาเกาหลีเบื้องต้นด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวข้อที่ใช้ใน ชีวิตประจำาวัน การกล่าวทักทาย การกล่าวขอบคุณ กล่าวขอโทษ กล่าวคำาอำาลา ถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ วันเวลา สถานที่ ดินฟ้าอากาศ และกิจกรรมในชีวิต ประจำาวัน GEKR1101 การออกกำา ลัง กายเพือ สุข ภาพ ่ 1(0-2-1) Exercises for Health หลักการออกกำาลังกายเพือสุขภาพ การออกกำาลังกายเพือ ่ ่ สุขภาพ การทดสอบ สมรรถภาพทางกาย การออกกำาลัง กายเพือพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิต ่ ตลอดจนสามารถนำาการออกกำาลังกายไปประยุกต์ใช้ใน ชีวตประจำาวันได้ เพือพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ่ ิ GEPA1001 GEPA1002 ประเภทบุค คล 1(0-2-1) กีฬ า
  • 40. 40 Individual Sports ทักษะการเล่นกีฬา และมารยาทการเล่นกีฬาประเภท บุคคลตามความสนใจและความต้องการของผูเรียน เพือ ้ ่ การพัฒนา ร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ ให้สามารถ นำาเอาการเล่นกีฬาเป็นทักษะทางสังคม และการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร 3(3-0-6) Information Technology and Communication ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบโทรคมนาคม ระบบการ จัดการสารสนเทศ การใช้งานโปรแกรมระบบ โปรแกรมสำาเร็จรูปต่าง ๆ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต เพื่อการศึกษาค้นคว้า การทำารายงาน การนำาเสนอผลงาน และประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำา วันอย่างมีประสิทธิภาพโดยเคารพในสิทธิทางปัญญา จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ GESC1101 วิท ยาศาสตร์เ พื่อ ชีว ิต 3(3-0-6) Science for Life กระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนาคุณภาพชีวต ความสัมพันธ์ของสุขภาพกับ ิ อาหาร การออกกำาลังกาย ยาและสมุนไพร การใช้สาร เคมีในชีวตประจำาวันอย่างถูกต้องและเหมาะสม ความ ิ สำาคัญของพลังงานต่อโลกและชีวต ความปลอดภัยใน ิ การดำาเนินชีวต การส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกัน ิ สารเสพติด GESC1102 พืช พรรณเพื่อ ชีว ิต 3(3-0-6) Plants for Life คุณและค่าของพืชพรรณทีมตอชีวต และการจัดการ ่ ี ่ ิ ทรัพยากรต่าง ๆ ตามแนวทางโครงการอนุรกษ์พนธุกรรม ั ั พืชอันเนืองมาจากพระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ่ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี GESC1103
  • 41. 41 GESC1104 ทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้อ มเพื่อ ชีว ิต 3(3-0-6) Natural Resources and Environment for Life ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ผลกระ ทบที่เกิดขึ้นจากความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่มีต่อทรัพยากรทางด้านกายภาพ ชีวภาพ และการดำารงชีวิตของมนุษย์การมีส่วนร่วมในการ จัดการฟื้นฟู ส่งเสริม บำารุงรักษา คุ้มครองทรัพยากร ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนา อย่างยั่งยืน ชีว ิต กับ เทคโนโลยี 3(3-0-6) Life and Technology ความก้าวหน้าและการพัฒนาเทคโนโลยีในปัจจุบันและ อนาคต บทบาทและผลกระทบของเทคโนโลยีต่อวิถี ชีวิต เทคโนโลยีด้านเทคโนโลยีชีวภาพ นาโน เทคโนโลยี เทคโนโลยีพลังงาน เทคโนโลยีสุขภาพ และความปลอดภัย เทคโนโลยีสะอาด และการใช้ เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด GESC1105 การคิด และคณิต ศาสตร์ใ นชีว ิต ประจำา วัน 3(3-0-6) Thinking and Mathematics in Daily Life การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์ รูปแบบการคิด กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุ การ แปลความหมายและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ การ เปรียบเทียบหน่วยวัด อัตราการเปลี่ยนแปลงสกุลเงิน ดอกเบี้ย ภาษี การประยุกต์คณิตศาสตร์และสถิติ เพื่อ การตัดสินใจ การคาดการณ์ และการแก้ไขปัญหาใน ชีวิตประจำาวัน GESC1106 พลวัต สัง คมไทย 3(3-0-6) Dynamics of Thai Society GESO1001
  • 42. 42 ความเป็นมาและวิวัฒนาการของสังคมไทย ในด้าน การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ศึกษาเหตุการณ์และบุคคลสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม ลักษณะพิเศษของสังคมไทย และวัฒนธรรมไทย ปลูกฝังแนวทางการดำาเนินชีวิตใน สังคมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรักษาและส่ง เสริมคุณค่าความเป็นไทย พลวัต สัง คมโลก 3(3-0-6) Dynamics of Global Society วิวัฒนาการของมนุษย์และสังคม อารยธรรม ระบบ ความคิด ระบบเศรษฐกิจ และระบบเมือง การปกครอง โดยเฉพาะกระแสความคิดภายใต้ระบอบประชาธิปไตย เน้นหลักสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคและหน้าที่ของ พลเมือง รวมทั้งวิเคราะห์สถานการณ์ความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ของสังคมโลกและมีผลกระทบต่อ สังคมไทย เพื่อให้รู้จัก เข้าใจ และสามารถดำารงชีวิต ได้อย่างมีดุลยภาพและมีความเข้าใจในโลกปัจจุบันและ อนาคตได้อย่างมีสำานึกและความรับผิดชอบต่อความเป็น สังคมพลเมืองทั้งในระดับชาติและระดับโลกต่อไป GESO1101 มนุษ ย์ก ับ สิ่ง แวดล้อ ม 3(3-0-6) Man and Environment ความหมาย ความสำาคัญของสิ่งแวดล้อมและปัญหาสิ่ง แวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์ เพื่อ สร้างจิตสำานึกสาธารณะในการอนุรักษ์ การจัดการและ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม GESO1102 กฎหมายในชีว ิต ประจำา วัน 3(3-0-6) Law in Daily Life กฎหมายสำาคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินชีวิตประจำา วันที่พึงทราบ ทั้งในระดับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ GESO1103
  • 43. 43 กฎหมายสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมในชีวิตประจำาวัน เห็นความสำาคัญของ กฎหมายในฐานะที่เป็นกติกาของสังคม และปฏิบัติตน ได้อย่างถูกต้องตามที่กฎหมายบัญญัติในฐานะที่เป็น สมาชิกที่ดีของสังคม เศรษฐกิจ พอเพีย งและการประยุก ต์ใ ช้ 3(3-0-6) Sufficiency Economy and Applications แนวทางการศึกษาและการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อนำาไปสู่การวิเคราะห์วิวัฒนาการของสังคมและ เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยเน้นให้เห็นถึง อิทธิพลของวัฒนธรรมและสถาบันที่มีต่อระบบสังคมและ เศรษฐกิจ ศึกษาปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และวิธีการนำาไปประยุกต์ใช้กับเศรษฐกิจและสังคมไทย เพื่อนำาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกัน นอกจาก นี้การศึกษายังครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์กรณี ศึกษา ต่างๆ ที่มีการนำาแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ไปใช้กับเหตุการณ์จริง GESO1104 ธุร กิจ สำา หรับ ชีว ิต ประจำา วัน 3(3-0-6) Business for Daily Life ลักษณะพื้นฐานและโครงสร้างของธุรกิจประเภทต่างๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ได้แก่การ จัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารงาน บุคคล การบริหารสำานักงาน การบริหารการผลิต ซึ่ง ครอบคลุมถึงเอกสารธุรกิจประเภทต่างๆ แนวทางการ ประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปัญหาและประโยชน์ที่ เกี่ยวข้องในการดำาเนินธุรกิจ จรรยาบรรณนักธุรกิจ เพื่อสามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำารงชีวิต GESO1105 ภาษาไทยเพื่อ การสื่อ สาร 3(3-0-6) Thai for Communication GETH1001