SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
การเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ:
ในสถาบันอุดมศึกษาไทย
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวฐานียา ศรีคราม รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๒๕
นางสาวจิตรกัญญา โนนเฮ้า รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๑
นางสาววรัญญา ภักดี รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๒
นางสาวปวีณา จินดาทิพย์ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๔
นางสาวนฤมล นาคภูมิ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๘๒
นางสาวจิราวรรณ ตองอบ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๑๐๗
ประเด็นการนาเสนอ
มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
(การเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ)
มหาวิทยาลัย
ชื่อคณะ : คณะมนุษยศาสตร์
เปิดการเรียนการสอนเป็นหลักสูตร
ชื่อหลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาว
ต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ)
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๑๓๕ หน่วยกิต
เปิดสอนสาหรับนักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติ
 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อ้างอิง
http://www.thailang.human.ku.ac.th/Files/Thai_Language_Foreigners_2551.pdf
มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อคณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เปิดการเรียนการสอนทั้งที่เป็นหลักสูตรและรายวิชาศึกษาทั่วไป
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖)
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ)
เปิดสอนสาหรับนักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติ
อ้างอิง
https://tqf.kku.ac.th/_public/index.php?view=program_view&type=com
mit&level=0
เปิดสอนเป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป
ให้กับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ และ วิทยาลัยนานาชาติ
ชื่อรายวิชา : การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ต่อ)
มหาวิทยาลัย
อ้างอิง
https://sites.google.com/site/khn
amnusysastrmms/home
มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
(หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ)
โครงสร้างหลักสูตร
เป็นหลักสูตรระยะสั้นใช้เวลาเรียน ๓ - ๑๒ เดือน โครงสร้างของ
หลักสูตรประกอบด้วย ๑๘ รายวิชา ได้แก่
๑. ภาษาไทยเบื้องต้น ๒ รายวิชา
๒. ภาษาไทยระดับกลาง ๘ รายวิชา
๓. ภาษาไทยระดับสูง ๘ รายวิชา
อ้างอิง
http://main.la.ubu.ac.th/laweb/2012/index.php/th/2012-05-14-03-45-
12/2012-05-18-07-40-22/thaitem
มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ชื่อคณะ : คณะศิลปศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยและ การ
สื่อสาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
เปิดสอนเป็นรายวิชา : กลุ่มวิชาเอกเลือก / กลุ่มทักษะและวิชาชีพ
ชื่อรายวิชา : การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
อ้างอิง
http://www.wu.ac.th/th/news/4767
มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คณะ : สานักวิชาศิลปศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษาบูรณาการ
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ไทยศึกษาบูรณาการ)
วิชาเอก มี ๓ สาขา
๑) ภาษาและวรรณกรรมไทย (Thai Language and Literature)
๒) ไทยศึกษานวัตกรรม (Innovative Thai Studies)
๓) ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ (Thai Language for Foreigners)
มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยบูรพา
คณะ : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตร (ปริญญาตรี พิเศษ) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาว
ต่างประเทศ ๔ ปี (พิเศษ) (๔๙) และ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาว
ต่างประเทศ ๔ ปี (พิเศษ) (๕๔)
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาว
ต่างประเทศ)
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๒๒ หน่วยกิต
อ้างอิง
http://www.buu.ac.th/th/index.php?link=academic.php
อ้างอิง
http://www.huso.tsu.ac.th/web2558/huso2.asp?frame=6
มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยทักษิณ
คณะ : คณะศึกษาศาสตร์ ร่วมกับ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาวิชาภาษาไทย
เปิดสอนเป็นรายวิชาเลือกเสรี
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ( ๕ ปี ) หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
ชื่อรายวิชา : การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
อ้างอิง
http://www.hcu.ac.th/admission.php
มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิยมพระเกียรติ
ชื่อคณะ : คณะศิลปศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็น
ภาษาที่สอง (หลักสูตร ๔ ปี)
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต ( ภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง)
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ)
อ้างอิง
http://dit.dru.ac.th/home/002/page/undergraduate.php
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ความเป็นมา
การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยให้แก่นักศึกษาจีนเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ
เดือนมิถุนายน ๒๕๕๐ โดยรองศาสตราจารย์มานพ พราหมณโชติ อธิการบดีมหาวิทยาลัย
ราชภัฏจันทรเกษมในสมัยนั้น ได้ทาสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ว่าด้วยการรับสอน
ภาษาไทยให้แก่นักศึกษาจีนจากวิทยาลัยครูหนานหนิง แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน โดย
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้จัดทาหลักสูตร
ประกาศนียบัตร วิชาภาษาไทย สาหรับนักศึกษาจากวิทยาลัยครูหนานหนิง ใช้เวลาใน
การศึกษา ๑ ปี
 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
อ้างอิง
http://web.chandra.ac.th/china/?page_id=4
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการ
สื่อสาร สาหรับชาวต่างประเทศ
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาว
ต่างประเทศ) (ภาษาอังกฤษ)
รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๒๕ หน่วยกิต
 มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
อ้างอิง
http://www.ctlf.lpru.ac.th/index_main_html.php?name=course_th&file=cours
e_th
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เปิดเรียนเป็นรายวิชา
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๒) และ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔)
ชื่อรายวิชา : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ Thai for Foreigners
 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
อ้างอิง
http://huso.kpru.ac.th/thai/index.php?option=com_content&view=article&i
d=12&Itemid=3
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ (ศศ.บ. ๔ ปี)
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ )
รวมจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๑๓๑ หน่วยกิต
อ้างอิง
http://hs.nsru.ac.th/thai/course_foreign.html
 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตร ประกาศนียบัตรภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
ปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๐)
ระดับการศึกษา : ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค
ระยะเวลาการศึกษา ๑ ปี
อ้างอิง
http://portal1.udru.ac.th/webcurr/curriculum_all.php
 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เปิดเรียนเป็นรายวิชาในแขนงวิชาภาษาและวรรณคดี
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๑)
ชื่อรายวิชา : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
อ้างอิง
http://www.human.ubru.ac.th
 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เปิดสอนเป็นรายวิชา ในหมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาเลือก
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕)
ชื่อรายวิชา : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
อ้างอิง
http://www.thai.rbru.ac.th/ThGRTDetail.html
 มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย ในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ)
อ้างอิง
http://www.pbru.ac.th/thai/index.php/2015-10-05-08-46-03/2015-
10-05-08-57-28/2016-01-03-09-10-15
 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ
ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต ( ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ )
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๒๒ หน่วยกิต
อ้างอิง
http://www.kru.ac.th/th/index2.php?content=major
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
คณะ : เป็นหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สังกัด คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์
เปิดสอนเป็นรายวิชาในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕)
ชื่อรายวิชา : ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai Language for
Foreigners )
อ้างอิง
http://ac.npru.ac.th/couse2.php
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เปิดสอนเป็นรายวิชา กลุ่มวิชาหลักภาษาไทยและภาษาศาสตร์
ชื่อหลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการ
สื่อสาร
จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๓๐ หน่วยกิต
ชื่อรายวิชา : การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
อ้างอิง
http://thaipkru.com/
การเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ:
ในต่างประเทศ
(รัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา)
 หลักสูตร ภาษาเอเชีย (ฤดูใบไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิ)
 ภาควิชาภาษาไทย
การจัดตั้งขึ้นเป็นโปรแกรมพิเศษ มีการเรียน ๒ ภาคเรียน
การศึกษาในฤดูใบไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิ ในการเรียนการสอน
การศึกษาทั่วไป ซึ่งเป็นการใช้หลักสูตรระดับปริญญาตรี (บัณฑิตศึกษา)
- โดยเปิดสอนใน ๕ วิชาบังคับ (๒๐ หน่วยกิต)
- ๑ วิชาเลือก (๑ หน่วยกิต)
( รายวิชาที่เปิดสอน )
 THAI ๑๑๐๑-๑๑๐๒: Elementary Thai I & II ไทย ๑๑๐๑-๑๑๐๒: ภาษาไทยเบื้องต้น ๑-๒
 THAI ๒๒๐๑ - ๒๒๐๒ : Intermediate Thai I & II ไทย ๒๒๐๑ - ๒๒๐๒ : ภาษาไทยระดับกลาง ๑-๒
 THAI ๒๒๐๓ -๒๒๐๔ : Intermediate Thai Composition and Conversation I & II
ไทย ๒๒๐๓ -๒๒๐๔ : องค์ประกอบของภาษาไทยระดับกลางและการสนทนา ๑-๒
 THAI ๓๓๐๑-๓๓๐๒ : Advanced Thai I & II ไทย ๓๓๐๑-๓๓๐๒ : ภาษาไทยระดับสูง ๑-๒
 THAI ๓๓๐๓-๓๓๐๔ : Thai Literature I & II ไทย ๓๓๐๓-๓๓๐๔ : วรรณคดีไทย ๑-๒
 Thai ๑๑๐๐: Elements of Thai Language and Culture ไทย ๑๑๐๐ : องค์ประกอบของภาษาไทย
และวัฒนธรรม
Course Offerings
(ไทย ๑๑๐๑-๑๑๐๒: ภาษาไทยเบื้องต้น ๑-๒)
มี ๖ หน่วยกิต
เป็นวิชาที่มีทักษะทั้ง ๔ (การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน) ใน
ภาคการศึกษาฤดูใบไม้ผลิ ช่วยให้นักเรียนที่จะปลูกฝังทักษะที่จาเป็นการเรียน
การสอนสาหรับนักเรียนที่ต้องการเริ่มต้นภาษาไทย
THAI ๑๑๐๑: ภาษาไทยเบื้องต้น ๑เป็นวิชาที่เน้นการพูดและการฟังเข้าใจ
THAI ๑๑๐๒: ภาษาไทยเบื้องต้น ๒ เป็นวิชาที่เน้นการอ่านและการเขียน
THAI ๑๑๐๑-๑๑๐๒: Elementary Thai I & II
(ไทย ๒๒๐๑ - ๒๒๐๒ : ภาษาไทยระดับกลาง ๑-๒)
มี ๓ หน่วยกิต
เป็นวิชาพัฒนาอย่างต่อเนื่องของทักษะทั้ง ๔ (การฟัง การพูด การ
อ่านและการเขียน) ที่ได้เรียนในวิชาภาษาไทยพื้นฐาน เป็นการเรียนรู้วิชาที่
แตกต่างกันโดยให้การเรียนรู้ที่ไม่ซ้ากัน สาหรับนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ใน
ระดับพื้นฐาน เพื่อใช้ในการดาเนินชีวิตได้ ซึ่งเป็นทักษะในการต้องการเรียนรู้
ภาษาในระดับปริญญาตรีภายใน ๑ ปี
THAI ๒๒๐๑ - ๒๒๐๒ : Intermediate Thai I & II
(ไทย ๒๒๐๓ -๒๒๐๔ : องค์ประกอบของภาษาไทยระดับกลางและการสนทนา ๑-๒)
มี ๓ หน่วยกิต
เป็นวิชาที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการสนทนาพร้อมกับการอ่านและ
การเขียนในระดับสูง หลักสูตรระดับ ๒ ปี สาหรับนักเรียนที่อาจจะมีทักษะใน
การพูด แต่ขาดการอ่านและการเขียน
THAI ๒๒๐๓ -๒๒๐๔ : Intermediate Thai Composition and Conversation I & II
( ไทย ๓๓๐๑-๓๓๐๒ : ภาษาไทยระดับสูง ๑-๒ )
มี ๔ หน่วยกิต
เป็นการพัฒนาทักษะการพูดขั้นสูงที่มีความสาคัญในการเลือกอ่าน
ภาษาไทยในสาขาต่างๆ เช่น ประวัติศาสตร์, รัฐบาล, เศรษฐศาสตร์และ
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อผลประโยชน์ของนักเรียนแต่ละคน เป็น
หลักสูตรในระดับ ๓ ปี
THAI ๓๓๐๑-๓๓๐๒ : Advanced Thai I & II
( ไทย ๓๓๐๓-๓๓๐๔ : วรรณคดีไทย ๑-๒ )
มี ๔ หน่วยกิต
เป็นหลักสูตรการอ่านพิเศษที่จะได้ทาความคุ้นเคยกับวรรณคดีไทย
เป็นการอ่านอย่างมีนัยสาคัญของนวนิยาย เรื่องสั้น และบทกวีที่เขียนขึ้นตั้งแต่
ปี ๑๘๕๐ และผลงานคลาสสิกอื่น ๆ ซึ่งมีการกากับหลักสูตรการศึกษาในระดับ
ที่ ๔ ปี
THAI ๓๓๐๓-๓๓๐๔ : Thai Literature I & II
Thai ๑๑๐๐: Elements of Thai Language and Culture
มี ๑ หน่วยกิต
นอกเหนือจากหลักสูตรระดับ ๔ ข้างต้น ไทยยังมีหลักสูตรเตรียม
แนะนาพื้นฐานพูดภาษาไทยและด้านต่างๆ ของวัฒนธรรมไทยสาหรับผู้
เข้าชมในระยะสั้น ผ่านการใช้งานการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมหลักสูตรนี้
ความรู้การทางานของภาษาไทยและพัฒนาวัฒนธรรม “สัญชาตญาณ”
ที่มีความหมาย และการทางานเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายอย่างราบรื่นและ
ประสบความสาเร็จในประเทศไทย หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับนักเรียนที่มี
ความสนใจส่วนตัวในวัฒนธรรมไทยเช่นเดียวกับผู้ที่เข้าร่วมในโครงการ
มหาวิทยาลัยในประเทศไทย
(ไทย ๑๑๐๐ : องค์ประกอบของภาษาไทยและวัฒนธรรม)
http://lrc.cornell.edu/asian/courses/thai?d=basic
สิ้นสุดการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
Janjira Kunnapan
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
เจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
jutamat tawebunyasap
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
jutamat tawebunyasap
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
G ''Pamiiz Porpam
 

What's hot (20)

หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศหลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
E-Book_Intensive_Reading_Bibliography
E-Book_Intensive_Reading_BibliographyE-Book_Intensive_Reading_Bibliography
E-Book_Intensive_Reading_Bibliography
 
Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
 

Similar to งานชิ้นที่๑

งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
Sutat Inpa
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
jutamat tawebunyasap
 
ประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docx
AlexandrosTao
 
1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา
1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา
1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา
John Cork
 

Similar to งานชิ้นที่๑ (16)

งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
 
006
006006
006
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docxประวัติวิทยากร.docx
ประวัติวิทยากร.docx
 
1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา
1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา
1. ประชุมผู้ปกครองครั้งที่ 1 บุคลากร 2558 + พันธมิตรทางการศึกษา
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 

งานชิ้นที่๑