SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
การสอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาใน
ประเทศไทย
นางสาววิไลลักษณ์ นิลวรรณ์ รหัส 5581124002
นางสาวศิริวิมล ยุระวงศ์ รหัส 5581124014
นางสาวปิยพร พร้อมพิมพ์ รหัส 5581124050
นางสาวอริยา วัฒนก้านตง รหัส 5581124060
นางสาวสุภัสรา ทองงาม รหัส 5581124067
นางสาวคนึงนิจ นาคเกษม รหัส 5581124091
นางสาวดาริน ยะรังวงษ์ รหัส 5581124099
หมู่เรียน D2
สมาชิก
ประเด็นการนาเสนอ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยรัฐบาล
มหาวิทยาลัยเอกชน
มหาวิทยาลัยฮาวาย
การเป็นครูสอนภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ปริญญาตรี หลักสูตรศิลปะศาสตรบัณฑิตภาคปกติ 4 ปี
สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
http://www.pbru.ac.th/th/index.php/admission-infomation/bachelor-
admission/2015-10-12-06-53-47/1997-2015-10-12-04-04-
43
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาภาษาไทย
วิชา วิธีสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
http://www.slideshare.net/achuekloire/week-1-of-ttfl
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
http://mycareer-th.com/images/file/image_1392266606.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (5 ปี)
ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ Thai Language for Foreigners
(กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน)
http://hm.npru.ac.th/pdf/th/55/thai%20kb.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ปริญญาตรี หลักสูตรศิลปะศาสตรบัณฑิต(4 ปี)
สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
http://www.kru.ac.th/th/index2.php?content=major
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ปริญญาตรีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (5 ปี)
วิชา ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
วิชาเลือกกลุ่มภาษาและหลักภาษา
http://reg.rbru.ac.th/registrar/download/mkr/Thai.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
ปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย ( 5 ปี)
วิชา ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศกลุ่มวิชาเอกบังคับ
http://www.edu.nrru.ac.th/File
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย
วิชา การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ กลุ่มวิชาเลือก
http://www.bru.ac.th/bru56/phocadownload/userupload/course/human/tha
i.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย ( 5 ปี)
วิชา ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ กลุ่มวิชาเลือก
http://academic.reru.ac.th/download/2556
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
หลักสูตรนานาชาติ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
http://portal1.udru.ac.th/webcurr/CUR_CURRICULUM_view.php?curr_udr
u_id=0307&curr_year=2551
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
สาขาวิชาภาษาไทย (สาหรับนักศึกษาจีน)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
https://th.wikipedia.org/wiki/
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยรัฐบาล
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
ภาควิชาภาษาไทย
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างชาติ
https://th.wikipedia.org/wiki
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตบางเขน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (BA. in Thai) สาขาวิชาภาษาไทย
(ศศ.บ.) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
(Communicative Thai for Foreigners)
2. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาภาษาไทย
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก‎
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
( Preparatory Thai language program for foreigners)
https://sites.google.com/site/khnamnusysastrmms/phakh-
wicha/4-phakh-wicha-phasa-thiy-laea-phasa-tawan-
xxk/--phasa-thiy-ni-thana-phasa-tang-prathes
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะมนุษยศาสตร์ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาภาษาไทย
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
http://www.human.cmu.ac.th/curriculum.php
−𝑏 ± 𝑏2 − 4𝑎𝑐
2𝑎 𝐴 = 𝜋𝑟2
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
Bachelor of Arts Program in Thai as a Foreign Language
http://gsmis.gs.kku.ac.th/curriculum/program/detail/887
𝒙 + 𝒂 𝒏 =
𝒏
𝒌
𝒙 𝒌 𝒂 𝒏−𝒌
𝒏
𝒌=𝟎
มหาวิทยาลัยบูรพาบางแสน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศหลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2554
http://www.huso.buu.ac.th/FacultyCurriculum.asp
มหาวิทยาลัยเอกชน
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อการภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง)
ศศ.ม.
Master of Arts (Communicative Thai as a second language)
มหาวิทยาลัยฮาวาย
(University of Hawaii at Manoa)
มหาวิทยาลัยฮาวาย ( University of Hawaii at Manoa)
เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐประจารัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา
ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1907 ทางมหาวิทยาลัยเปิดสอนในระดับปริญญา
ตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกและปริญญาอาชีพในหลากหลายสาขา
แพทยศาสตร์ รัฐศาสตร์
นิติศาสตร์ วรรณกรรม
สถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาษาศาสตร์
ศิลปะศาสตร์ วิทยาศาสตร์
มานุษยวิทยา การเกษตร
การจัดการ สังคมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข
ศึกษาศาสตร์ เภสัชศาสตร์
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฮาวาย มีนักศึกษารวมทุกวิทยาเขตประมาณ
35,000คน โดยที่วิทยาเขตมานัว (Manoa) มีนักศึกษาประมาณ 20,000 คน
คณะที่เปิดสอน
มหาวิทยาลัยฮาวาย ได้เปิดหลักสูตรภาษาไทย เป็นหลักสูตร
ที่เกี่ยวข้องกับด้านต่างๆของประเทศไทย โดยที่หลักสูตรภาษาไทย
ถูกใช้เพื่อตอบสนองในการเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ในระดับปริญญาตรี รายวิชาภาษาไทย 201 – 202 และ 301 – 302
เป็นรายวิชาส่งเสริมการเขียน และการตอบสนองการเขียน
สามารถเรียนหลักสูตรภาษาไทย
เป็นวิชาเอก ระดับปริญญาตรี
คณะนิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาสหวิทยาการ
(เอกภาษาไทย)
จะต้องเรียนทั้งหมด 36 หน่วยกิตของหลักสูตร
และผ่านการทดสอบในระดับมากกว่า 200 ภายในหลักสูตรภาษาไทย
หลักสูตรที่เปิดสอน
THAI 101 First-Level Thai I (4)
THAI 102 First-Level Thai II (4)
THAI 107 Reading and Writing Thai Script (3)
เป็นรายวิชาที่มุ่งเน้นในทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย
THAI 112 Intensive Elementary Thai (10)
*THAI 201 Second-Level Thai I (4) (การเขียนแบบเร่งรัด)
*THAI 202 Second-Level Thai II (4)
(การเขียนแบบเร่งรัด)
THAI 212 Intensive Intermediate Thai (10)
*THAI 301 Third-Level Thai I (3)
*THAI 302 Third-Level Thai II (3)
*THAI 303 Accelerated Third-Level Thai (6)
*THAI 401 Fourth-Level Thai I (3)
*THAI 402 Fourth-Level Thai II (3)
THAI 404 หลักสูตรเร่งรัด Fourth-Level Thai (6)
THAI 415 ภาษาไทยในสื่อ (3- repedtable)
THAI 461 อ่านไทยในวรรณคดีไทย: เรื่องสั้น (3- repeatable)
THAI 462 อ่านไทยในวรรณคดีไทย: นวนิยาย (3- repeatable)
THAI 451 โครงสร้างของภาษาไทย I (3)
THAI 452 โครงสร้างของภาษาไทย Thai II (3)
IP 499 แนะแนวการศึกษา (V)
การเป็นครูสอนภาษาไทย
แก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
ปัญหาของคนไทยที่สอนภาษาไทย
การตอบคาถามภาษาไทยพลาดเป้า เช่น ชาวต่างชาติพบคาว่า
“ดิ่งเหว” ในเรื่องดัชนีหุ้น เขาอ่านออกแต่ไม่รู้ความหมายจึงถามคนไทยว่า
สระเอ หอ วอ อ่านว่าอย่างไร คนไทยที่ไม่ได้อยู่ในสถานการณ์และไม่เห็น
บริบทของคาและไม่สนใจความคิดและปัญหาของชาวต่างประเทศก็ตอบไป
เรื่อยว่า อ่านว่า เหว พร้อมกับทาหน้าแปลกใจ เหวไม่มีความหมายนะคานี้
ฝรั่งจึงเกิดความงุนงงจนไม่ทราบว่าจะถามอะไรต่อ ไม่เข้าถึงปัญหาและ
ความงุนงงนี้รวมไปถึงเรื่อง ไตรยางค์ คาเป็นคาตาย และเสียงวรรณยุกต์ ซึ่ง
ครูผู้ที่จะสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศควรเป็นผู้ที่รอบรู้
ภาษาไทยอย่างลึกซึ้งจึงจะเป็นที่นับถือและสมควรกับคาว่า “ครูของฉัน”
ครูผู้สอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศควรมี
คุณลักษณะสาคัญ ดังนี้
1. ความเข้าใจในผู้เรียน คือ ผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ แม้
โดยธรรมชาติไม่เคยมีประสบการณ์ไม่เคยรู้ว่าหากพูดภาษาอังกฤษหรือ
ภาษาอื่นอยู่แล้วต้องมาพูดภาษาไทย จะมีปัญหาความยากง่ายตรงไหนบ้าง
การปรับตัวปรับสมองต้องทาอย่างไร ครูจึงต้องยอมรับและนาเอาหลักคา
สอนที่ว่า “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” จะดีที่สุด และจะนาไปสู่การคิดหาหนทาง
ช่วยผู้เรียนไม่ให้ทุกข์มาก ยากมาก โดยหาวิธีที่ง่ายได้ผล สนุก ที่เรียกว่าวิธี
ที่เป็นมิตรกับผู้เรียน ไม่ให้ผู้เรียนที่ใจรักภาษาไทยอยู่เดิมเกิดความท้อแท้เกิด
ความทุกข์ที่มาเรียนภาษาของชาติเรา
2. ความใจกว้างยอมรับวิธีเรียนและความสนใจของผู้เรียน นอกจากพื้น
ฐานความรู้ของผู้เรียนแล้ว ผู้สอนที่ใจกว้างควรยอมรับวิธีเรียนของผู้เรียนซึ่ง
บางคนมีลักษณะพิเศษ บางคนมีลักษณะบางอย่างแตกต่างจากคนอื่นในการ
ใช้เวลาและความวิริยะอุตสาหะ บางคนมีทักษะการเรียนที่เป็นอุปนิสัย
ส่วนตัว บางคนชอบเรียนแบบง่ายๆ สนุกๆ บางคนชอบความจริงจัง ชอบ
บทเรียนที่ยากและท้าทาย ซึ่งผู้เรียนชาวญี่ปุ่นชอบบทเรียนที่ค่อนข้างยาก
มากกว่าบทเรียนที่เขาทาได้เร็วและทาได้ถูกต้องเป็นส่วนมาก ขณะที่ผู้เรียน
ชาวอเมริกันอยากได้รับบทเรียนที่จัดลาดับดีโดยเริ่มจากง่ายหล่อเลี้ยงความ
มั่นใจของเขาก่อนและค่อยๆยากขึ้นที่ละน้อย
3. ความสนใจของผู้เรียน เป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องคานึงถึงมาก การเป็นครูสอน
ภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวประเทศนั้น ต้องมีภูมิรู้ภาษาไทยลึกซึ้งพร้อมที่จะนา
ออกมาใช้ ต้องมีความไวต่อความรู้สึกของผู้เรียน ปัญหาและความสนใจของ
เขา และตอบสนองได้ทันท่วงที มีความยืดหยุ่นในการสอน แต่มีการ
เตรียมพร้อมที่ดีมากด้วย ประการสุดท้ายและสาคัญที่สุด คือต้องมีความสนใจ
ในการเรียนรู้สังคม เหตุการณ์รอบประเทศรอบโลก เพื่อให้เข้าได้กับการเรียนที่
ภาษาไทยอยู่ในบริบทโลก ขณะเดียวกันประวัติศาสตร์ มิติรุกติศาสตร์ ความ
เป็นมาของภาษา ความเชื่อและประเพณี วิถีชีวิตอันเป็นเอกลักษณ์ของไทยก็
ต้องรอบรู้อย่างถูกต้องและใจกว้างต่อวัฒนธรรมอื่นของผู้เรียนด้วย
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
jutamat tawebunyasap
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
G ''Pamiiz Porpam
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
เจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
สุทัศน์ อินปา
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
G ''Pamiiz Porpam
 

What's hot (20)

แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
 
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 

งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1