SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่ง การให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานได้นั้นจะต้องป้ อนคาสั่งให้กับมันและต้องเป็นคาสั่งให้กับมันและ
ต้องเป็นคาสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ การนาคาสั่งมาเรียงต่อกัน ให้ทางานอย่าง
ใดอย่างหนึ่งเรียกว่าโปรแกรม เมื่อโปรแกรมถูกป้ อนเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
มันจะทางานทีละคาสั่ง สาหรับการใช้คาสั่งสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานนั้นจะต้องใช้
ภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเรียกว่าภาษาเครื่อง
(Machine Language) ซึ้งเป็นรหัสเลขฐานสองเมื่อมีการป้ อนภาษานี้เข้าไปในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ รหัสเลขฐานสองจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณทางไฟฟ้ าที่คอมพิวเตอร์
เข้าใจ
แต่ถ้ามนุษย์ต้องการป้ อนโปรแกรมให้กับคอมพิวเตอร์เป็นเลขฐานสองนั้นจะ
ทาได้ยากมาก เพราะเป็นภาษาที่มนุษย์เข้าใจได้ยาก จึงได้มีการออกแบบตัวอักษร
ภาษาอังกฤษให้แทนคาสั่งรหัสเลขฐานสองเหล่านั้นเรียกว่า รหัสนีโมนิก
(mnemonic) ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้รหัสนีโมนิกในการเขียนโปรแกรมเรียกว่า
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ต่อมาได้มีการพัฒนาชุดคาสั่งภาษาต่าง
ๆ ให้มีความใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์เข้าใจเรียกว่าภาษาระดับสูง (High-level
Language) ซึ่งมีอยู่หลายภาษา ได้แก่ ภาษาซี ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล เป็นต้น
สาหรับภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาที่ทางานได้เร็วเพราะเข้าถึงหน่วยประมวลผลได้
เร็วที่สุดเราเรียกภาษานี้ว่าภาษาระดับต่า (Low-level Language)
โปรแกรมภาษา
ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเขียนด้วยภาษาระดับสูงหรือ
ภาษาระดับต่า เราจะต้องแปลงภาษาเหล่านั้นให้เป็นรหัสภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์
เข้าใจเสียก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทางานได้ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่า
ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นการนาชุดคาสั่งแต่ละคาสั่งมาต่อกันให้คอมพิวเตอร์ทางาน
การเขียนชุดคาสั่งนี้ไม่ว่าจะเขียนด้วยภาษาอะไรจะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ
(Source Program) หรือรหัสต้นฉบับ (Source Code) จากนั้นเราจะต้องแปลงให้เป็น
ภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์ทางานได้เรียกว่าเอ็กซิคิ้วโปรแกรม (Executable -
Program)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลีจะต้องใช้ตัวแปลภาษาให้เป็น
ภาษาเครื่อง ตัวแปลนี้เรียกว่า แอสเซมเบอร์ (Assembler) ขั้นตอนการแปลสามารถ
เขียนได้ดังรูป
สาหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงจะมีวิธีในการแปล 2 ประเภท
คือ การแปลคาสั่งทีละคาสั่งให้เครื่องทางานทีละคาสั่ง จากนั้นจึงแปลคาสั่งบรรทัด
ต่อไป เช่น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาเบสิก ตัวที่แปลภาษาประเภทนี้เรียกว่า
อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) การทางานของตัวอินเตอร์พรีเตอร์นี้จะแปล
ความหมายของคาสั่งทีละคาสั่ง ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดเครื่องจะทาคาสั่งที่แปลได้
โปรแกรมต้นฉบับ
ภาษาแอสเซมบลี
โปรแกรม
แอสเซมเบอร์
รหัสภาษาเครื่อง
ประเภทของโปรแกรม
โปรแกรมที่ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานนั้น สามารถแบ่งตามประเภทการใช้งาน ได้
ดังนี้
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการหรือโอเอส (OS : Operating System) โปรแกรมประเภทนี้
จะทาหน้าที่คอยดูแลระบบ รวมทั้งติดต่อกับฮาร์ดแวร์ส่วนต่าง ๆ ควบคุมการทางาน
ของคีย์บอร์ด จอภาพ ระบบอ่านและบันทึกข้อมูล ทาให้ผู้ใช้และผู้พัฒนาโปรแกรม
ต่าง ๆ ไม่ต้องเขียนโปรแกรมติดต่อกับระบบเองโปรแกรมประเภทนี้ที่เรารู้จักกัน ได้แก่
ดอส (DOS : Disk Operating System), โปรแกรม UNIX, โปรแกรม Windows
โปรแกรมเอนกประสงค์ (Utility Program)
โปรแกรมประเภทนี้จะช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ โดยมี
โปรแกรมที่ทางานหลายประเภท เช่น โปรแกรมตรวจสอบความเร็วของคอมพิวเตอร์
โปรแกรมตรวจหาไวรัส โปรแกรมตรวจสอบตัวเครื่อง เป็นต้น
โปรแกรมประยุกต์
โปรแกรมประเภทนี้บางครั้งจะเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป และเป็น
โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาสาหรับงานเฉพาะด้าน มีการทางานที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมบัญชี โปรแกรมด้านดาต้าเบส โปรแกรมกราฟิก
เป็นต้น
ภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาโปรแกรม
ในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับพัฒนาโปรแกรมมากมาย บาง
ภาษาแม้ว่าจะมีมานานแล้วแต่ก็ยังได้รับความนิยมอยู่ เนื่องจากมีการพัฒนามาอย่าง
ยาวนาน จึงมีเครื่องมือช่วยให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้นมากมาย ภาษาแต่ละภาษาจะ
มีโครงสร้างของภาษาต่างกัน มีความสามารถเด่น ๆ ต่างกัน และแต่ละภาษาก็ใช้
สภาพแวดล้มของเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกันด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้ในการ
เขียนโปรแกรม ได้แก่
ภาษาเบสิก (BASIC)
ภาษาเบสิกเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1963 ที่
มหาวิทยาลัย Dartmouth College ต่อมาได้ถูกนามาใช้ในคอมพิวเตอร์ทั่วไปในปี
ค.ศ. 1980 คาว่า Basic ย่อมาจากคาว่า Beginner’s All purpose Symbolic
Instruction Code ภาษานี้เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม เนื่องจากเป็นรูปแบบ
คาสั่งที่ง่าย แต่ความสามารถจะน้อยกว่าภาษาอื่น ๆ เนื่องจากเป็นภาษาที่พัฒนามา
นานแล้ว
ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN)
เป็นภาษาระดับสูงเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1950 คาว่า FORTRAN ย่อมาจากคา
ว่า FORmular TRANslator ภาษานี้เป็นภาษาที่มีประสิทธิภาพสูงในการคานวณ
เหมาะสาหรับการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางคณิตศาสตร์ที่ทางานบนเครื่อง
เมนเฟรม แต่ในปัจจุบันได้มีคอมไพล์เลอร์หลายตัวที่พัฒนาขึ้นสาหรับแปลภาษานี้บน
เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ภาษาโคบอล (COBOL)
ภาษานี้เกิดจากความร่วมมือของรัฐบาลสหรัฐกับองค์กรธุรกิจ และ
มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ถูกประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1960 ภาษานี้มีชื่อ
เต็มๆ ว่า Business Oriented Language เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมแบบ
โครงสร้าง (Structure Program) เหมาะสาหรับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทาง
ธุรกิจ การจัดเก็บข้อมูล งานทางด้านบัญชี และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ภายใน
องค์กร
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
ภาษานี้เกิดขึ้นเมื่อปี 1970 ชื่อของภาษาเป็นการตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์ที่
ประดิษฐ์เครื่องคานวณในยุคแรก ที่ชื่อ Blaise Pascal ภาษานี้เป็นภาษาระดับสูงที่ใช้
เขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างได้ ตัวแปลภาษาที่ได้รับความนิยมอย่างมาก คือ
โปรแกรมเทอร์โบปาสคาล
(Turbo Pascal) ของบริษัทบอร์แลนด์ ในปัจจุบันในประเทศได้ใช้โปรแกรมนี้การสอน
เขียนโปรแกรมเบื้องต้นให้กับนักเรียน นักศึกษาทั่วไป
ภาษาซี (C)
ภาษานี้พัฒนาขึ้นในห้องปฏิบัติการเบลล์ (Bell Laboratory) ของบริษัท เอที
แอนด์ที ในปี ค.ศ.1970 เพื่อใช้บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (Unix) ต่อมาได้มีตัวแปล
ภาษาออกมาหลายตัว และได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ภาษานี้เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถทางานบนระบบปฏิบัติการต่าง ๆ ได้
เป็นอย่างดี สามารถใช้ควบคุมฮาร์ดแวร์ได้โดย แต่ชุดคาสั่งจะมีกฎเกณฑ์และ
รายละเอียดต่าง ๆ จานวนมาก
ภาษาซีพลัสพลัส (C++)
ภาษานี้พัฒนาต่อมาจากภาษาซี โดยเพิ่มการเขียนโปรแกรมแบบ Class
เข้าไป ทาให้ภาษาซีมีความสามารถในการทางานสูงขึ้น สามารถนามาเขียนโปรแกรม
เชิงวัตถุ (Object-oriented pro-gramming) ได้ ทาให้ภาษานี้ได้รับความนิยมอย่าง
สูง แต่จะไม่เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมเนื่องจากโครงสร้างภาษามีความ
ซับซ้อนมากขึ้น
วิชวลเบสิก (VISUAL BASIC)
ภาษานี้พัฒนาขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ชุดคาสั่งต่าง ๆ จะคล้ายกับภาษา
BASIC เดิม และเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการเขียนโปรแกรมบนระบบ
ปฎิบัติการวินโดว์ เนื่องจากผู้เขียนโปรแกรมสามารถสร้างหน้าจอในการติดต่อกับผู้ใช้
ได้ง่าย ปัจจุบันภาษานี้ถูกนิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ ๆ จานวนมาก
ภาษานี้เหมาะสาหรับผู้พัฒนาโปรแกรมแต่ไม่เหมาะกับผู้ที่จะเริ่มต้นเขียนโปรแกรม
ภาษาจาวา (JAVA)
ภาษานี้เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1990 โดยบริษัท Sun Microsystem ที่พัฒนาให้
เป็นภาษาสาหรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ภาษาจาวานี้สามารถทางานได้บนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกระบบ เนื่องจากเวลาทาการคอมไพล์ออกมาแล้วจะได้ข้อมูลแบบ
ไบต์โค้ด (Bytecode) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ภาษานี้จะต้องติดตั้ง
Java Virtual Machine ก่อนเพื่อให้โปรแกรมทางานได้ ปัจจุบันภาษานี้ได้ถูกพัฒนา
มาหลายรูปแบบ มีทั้งการเขียนโปรแกรมบนระบบเครือข่าย การเขียนโปรแกรมบน
โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ทางานได้ตามที่เราต้องการนั้น ผู้เขียน
โปรแกรมจะต้องรู้ว่าจะให้โปรแกรมทาอะไร มีข้อมูลอะไรที่ต้องให้กับโปรแกรมบ้าง
และต้องการเอาต์พุตอย่างไรจากโปรแกรมรวมทั้งรูปแบบการแสดงผลด้วย ผู้ที่ทาการ
เขียนโปรแกรมจะต้องทราบถึงขั้นตอนวิธีการของการแก้ปัญหาของโปรแกรมด้วยว่า
จะต้องทาอย่างไร โดยเขียนลาดับขั้นตอนขึ้นมาก่อนแล้วจดบันทึกเอาไว้ จากนั้นจึงนา
ลาดับขั้นตอนที่เขียนขึ้นมาพัฒนาเป็นโปรแกรม ถ้าหากผู้เขียนโปรแกรมไม่ได้วางแผน
ขั้นตอนการทางานต่าง ๆ ไว้ก่อน หากต้องการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง จะ
ทาให้เสียเวลามาในการศึกษาโปรแกรมก่อนที่จะทาการแก้ไข ถ้าหากโปรแกรมมี
ความซับซ้อนไม่มาก การศึกษาโปรแกรมเพื่อแก้ไขปัญหาอาจไม่นานนัก แต่ถ้าหาก
โปรแกรมมีความซับซ้อนมากจะทาให้ขั้นตอนการศึกษาปัญหายิ่งใช้เวลามากขึ้นไป
ด้วย โดยทั่วไปแล้วขั้นตอนการนาโปรแกรมแบ่งได้ดังนี้
1. กาหนดและวิเคราะห์ปัญหา (Problem Definition and Problem Analysis)
2. เขียนผังงานและซูโดโค้ด (Pseudocoding)
3. เขียนโปรแกรม (Programming)
4. ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing and Debugging)
5. ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม (Program Documentation and
Maintenance)
การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดที่นักเขียนโปรแกรมจะต้องทา การให้
คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาต่างๆ ให้เรานั้น เราจะต้องมีแนวทางที่แก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
ให้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าหากผู้ที่เขียน
โปรแกรมไม่สามารถทาความเข้าใจกับปัญหาที่ต้องการแก้ไขได้ การนาคอมพิวเตอร์
มาใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ก็ไม่สามารถทาได้ การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหามี
ขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้
กาหนดขอบเขตของปัญหา
โดยกาหนดรายละเอียดให้ชัดเจนว่าจะให้คอมพิวเตอร์ทาอะไรตัวแปร
ค่าคงที่ที่ต้องใช้เป็นลักษณะใด ถ้าหากเราไม่กาหนดขอบเขตของปัญหา จะทาให้
คอมพิวเตอร์ตัดสินใจได้ยากว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นถูกหรือผิด
กาหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ
(Input/Output Specification)
โดยต้องรู้ว่าข้อมูลที่จะส่งเข้าไปเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง เพื่อให้โปรแกรมทา
การประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ เช่น การรับค่าจากคีย์บอร์ด การใช้เมาส์ การ
กาหนดปุ่มต่าง ๆ ลักษณะการแดงผลทางหน้าจอว่าจะให้มีรูปร่างอย่างไรโดยคานึงถึง
ผู้ใช้เป็นในการออกแบบโปรแกรม ตัวอย่างเช่นถ้าหากต้องการรับข้อมูลเข้าไป
ประมวลผล ก็ต้องพิจารณาว่าข้อมูลนั้นเป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ถ้าเป็นตัวเลขก็ต้อง
พิจารณาต่อว่าเป็นเลขจานวนเต็มหรือทศนิยม เอาต์พุตที่แสดงออกทางจอภาพจะให้
แสดงทศนิยมกี่ตาแหน่งเป็นต้น
กาหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification)
โดยต้องรู้ว่าจะให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลอย่างไรจึงได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
หลังจากที่ได้วิเคราะห์ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องใช้เครื่องมีช่วยในการ
ออกแบบโปรแกรมซึ่งยังไม่ได้เขียนเป็นโปรแกรมจริง ๆ แต่จะช่วยให้เขียนโปรแกรมได้
ง่ายขึ้น และทาให้ผู้อื่นนาโปรแกรมของเราไปพัฒนาต่อได้ง่ายขึ้น โดยเขียนเป็นลาดับ
ขั้นตอนการทางานของโปรแกรมที่เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่งจะแสดง
ขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยใช้ประโยคที่ชัดเจนไม่คลุมเครือ และมีรายละเอียดการ
ทางานพอสมควร เพียงพอที่จะนาไปเขียนเป็นโปรแกรมให้ทางานจริง โดยอัลกอริทึม
นั้นอาจเขียนให้อยู่ในรูปของรหัสจาลองหรือซูโดโค้ด (Pseudo-code) หรือเขียนเป็น
ผังงาน (Flowchart) ก็ได้โดยซูโดโค้ดจะเป็นคาอธิบายขั้นตอนการทางานของ
โปรแกรม เป็นคาย่อไม่มีรูปแบบเฉพาะตัว โดยในแต่ละส่วนจะเป็นแนวทางในการ
เขียนโปรแกรมซึ่งทาให้เขียนโปรแกรมเป็นภาษาต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น ส่วนผังงานจะใช้
สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนการทางานและทิศทางของโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
หลังจากที่ผ่านขั้นตอนทั้งสองแล้ว ขั้นต่อไปจะต้องเขียนเป็นโปรแกรมเพื่อให้
คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ โดยเปลี่ยนขั้นตอนการทางานให้อยู่ในรูปรหัส
ภาษาคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจโดย
อาจใช้ภาษาระดับสูง หรือระดับต่า ซึ่งสามารถเลือกได้หลายภาษาการเขียนโปรแกรม
แต่ละภาษาจะต้องทาตามหลักไวยากรณ์ (syntax) ที่กาหนดไว้ในภาษานั้น นอก
จากนี้การเลือกใช้ภาษาจะต้องพิจารณาถึงความถนัดของผู้เขียนโปรแกรมด้วย
การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
หลังจากเขียนโปรแกรม จะต้องทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้น
หาจุดผิดพลาดของโปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนไม่พบที่ผิดอีก จุดผิดพลาด
ของโปรแกรมนี้เรียกว่า บัก (Bug) ส่วนการแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก
(debug) โดยทั่วไปแล้วข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมจะมี 2 ประเภทคือ
1. การเขียนคาสั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมภาษานั้น ๆ ซึ่ง
เรียกว่า Syntax Error หรือ Coding Error
2. ข้อผิดพลาดประเภทนี้เรามักพบตอนแปลภาษาโปรแกรมเป็นรหัส
ภาษาเครื่องข้อผิดพลาดทางตรรก หรือ Logic Error เป็นข้อผิดพลาดที่โปรแกรมทางาน
ได้ แต่ผลลัพธ์ออกมาไม่ถูกต้อง
ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม
ขั้นตอนนี้จะทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
สะดวกในการตรวจสอบข้อผิดพลาดโดยเขียนเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมขึ้นมา
โดยทั่วไปแล้วแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. คู่มือการใช้ User Document หรือ User guide ซึ่งจะอธิบายการใช้โปรแกรม
2. คู่มือโปรแกรมเมอร์ หรือ Program Document หรือ Technical Reference ซึ่ง
จะอานวยความสะดวกในการแก้ไขโปรแกรมและพัฒนาโปรแกรมในอนาคต โดยจะมี
รายละเอียดต่าง ๆ ในโปรแกรม เป็นต้น
ส่วนการบารุงรักษาโปรแกรม (Maintainance) เป็นการที่ผู้เขียนโปรแกรม
จะต้องคอยตรวจสอบการใช้โปรแกรมจริง เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่งอาจเกิดขึ้นใน
ภายหลัง รวมทั้งพัฒนาโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอเมื่อเวลาผ่านไป

More Related Content

What's hot

08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์bpatra
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา Chanikan Kongkaew
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 

What's hot (20)

Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานจารทรงศักดิ์
งานจารทรงศักดิ์งานจารทรงศักดิ์
งานจารทรงศักดิ์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 

Viewers also liked (8)

หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 

Similar to หน่วยที่ 4

09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยาJiJee Pj
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 

Similar to หน่วยที่ 4 (17)

123456
123456123456
123456
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยา
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
10 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-710 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-7
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 

More from จูน นะค่ะ

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 

More from จูน นะค่ะ (15)

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

หน่วยที่ 4