SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
แนวคิด
เนื้อหาของผังงานที่กล่าวถึงในหน่วยนี้อธิบายถึงความหมายของผัง
งานประโยชน์ของผังงาน การนาผังงานมาช่วยในการพัฒนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการเขียนผังงานและลักษณะของผัง
งาน
สาระการเรียนรู้
1. ผังงาน
2. สัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงาน
3. ลักษณะการเขียนผังงาน
ผลการเรียนรู้ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถอธิบายความหมายของผังงานได้
2. สามารถอธิบายประโยชน์ของผังงานได้
3. สามารถอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการเขียนผังงานได้
4. สามารถอธิบายความหมายสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการเขียนผังงานได้
5. สามารถอธิบายวิธีการใช้งานสัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงานได้
6. สามารถอธิบายลักษณะการเขียนผังงานที่ดีได้
ผังงาน
ผังงาน (Flowchart)คือ การเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการทางาน
ในลักษณะของรูปภาพประโยชน์ของผังงานใช้สาหรับช่วย ในการพัฒนา
ลาดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา เนื่องจากผังงานเป็นการทางานได้ชัดเจน
กว่าการอธิบายขั้นตอนวิธีการทางานในลักษณะของข้อความ เมื่อลักษณะ
ของปัญหาที่ต้องการแก้ไขมีความซับซ้อนมากขึ้น ความยุ่งยากในการเขียน
อธิบายขั้นตอนวิธีการทางานจะมีมากขึ้น การใช้ผังงานเพื่อช่วยสาหรับการ
หาขั้นตอนวิธีการทางาน จะทาให้สามารถเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการ
ทางานในลักษณะของข้อความได้สะดวกยิ่งขึ้น
สัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อื่นสามารถทาความเข้าใจถึงขั้นตอน
วิธีการทางาน รูปแบบของสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับเขียนผังงานต้องเป็นไป
ตามมาตรฐานที่มีการใช้งาน รูปแบบของสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับเขียนผัง
งานต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่มีการใช้งานกันทั่วไป สัญลักษณ์ ที่ใช้
สาหรับเขียนผังงานมีดังนี้
จุดเริ่มต้นและจุดจบสิ้นสุดของผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับจุดเริ่มต้นและจุดสินสุดของผังงาน ใช้
สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมปลายมนคล้ายกับสนามฟุตบอลดังรูป 6.1
ภายในสัญลักษณ์มีคาอธิบายสาหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นหรือจุดสิน
สุดของผังงาน โดยใช้คาอธิบาย “Stop”หรือ “Begin”หรือเริ่มต้น
สาหรับจุดเริ่มต้นของผังงาน และคาอธิบาย “Stop” หรือ “End” หรือ
จุดสาหรับจุดสิ้นสุดของผังงาน
รูปที่6.1 แสดงสัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดจบสิ้นสุดของผังงาน
รูปที่ 6.2 แสดงการใช้งานสัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน
สัญลักษณ์จุกเริ่มต้นขิงผังงาน ใช้คาอธิบาย “Start” สาหรับ
บอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นของผังงาน เนื่องจากเป็นจุดเริ่มต้น สัญลักษณ์
จุดเริ่มต้นของผังงานจะมีทิศทางออก ไม่มีทิศทางเข้า
การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการกาหนดค่า (Assignment) การ
คานวณ(computation) และการประมวลผล(Process)ของผัง
งานใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีคาอธิบายลักษณะการทางาน
อยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
start End
รูปที่ 6.3 แสดงสัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล
การเขียนผังงานนิยมใช้เครื่องหมายลูกศร ( ) แทนเครื่องหมาย
เท่ากับ (=) สาหรับการกาหนดค่าหรือการคานวณเครื่องหมายเท่าสาหรับ
การเขียนผังงานนิยมใช้สาหรับการเปรียบเทียบความเท่ากับระหว่างค่า
2 ค่า
รูปที่ 6.4 แสดงการใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการกาหนดค่าให้ค่าของN มีค่า
เท่ากับ 5
N 5
การรับข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก
การรับข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก กรณีไม่มีกาหนดอุปกรณ์สาหรับการ
นาข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก สัญลักษณ์ที่ใช้คือสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมด้าน
ขนาน ภายในสัญลักษณ์เป็นคาอธิบายลักษณะการทางาน โดยใช้คาอธิบาย
“Read” , “Input” หรือ “รับค่า” สาหรับการรับข้อมูล และใช้คาอธิบาย
“Write”, “Output”, “Print” หรือ “แสดงค่า”สาหรับการนาข้อมูลออก
สัญลักษณ์นี้มีทั้งทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ1ทิศ
รูปที่ 6.5 แสดงสัญลักษณ์การนาเข้าและการนาข้อมูลออกไม่กาหนดอุปกรณ์
ตัวอย่างที่ 6.2 การใช้สัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออกโดย
ไม่กาหนดอุปกรณ์
รูปที่ 6.6 แสดงการใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าโดยไม่กาหนดอุปกรณ์
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าข้อมูล 2 ค่ามาเก็บไว้ใน
ตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่ 2
ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร B
Read A,B
รูปที่ 6.6 แสดงการใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าโดยไม่กาหนดอุปกรณ์
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าข้อมูล 2 ค่ามาเก็บไว้ใน
ตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่ 2
ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร B
รูปที่ 6.7 แสดงการใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลออกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS
Write ANS
Write ANS
การรับข้อมูลเข้าทางแป้ นพิมพ์
สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้สาหรับการรับข้อมูลเข้าทางแป้ นพิมพ์ ดังรูปที่ 6.8
ภายในสัญลักษณ์ คือ ตัวแปรที่ใช้สาหรับรับค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากทางแป้ นพิมพ์
สัญลักษณ์สาหรับการรับข้อมูลเข้าจากแป้ นพิมพ์มีทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่าง
ละ 1 ทิศทาง
รูปที่ 6.8 แสดงการใช้งานสัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้ นพิมพ์
ตัวอย่างที่ 6.3 การใช้งานสัญลักษณ์การรับข้อมูลทางแป้ นพิมพ์
(Keyboard)
รูปที่ 6.9 แสดงการใช้งานสัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้ นพิมพ์
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าจากแป้ นพิมพ์จานวน 2
ค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A
และค่าที่ 2 ถูกนาๆปเก็บไว้ในตัวแปร B
A,B
การแสดงผลข้อมูลออกจากจอภาพ
สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกจากจอภาพของผังงาน ใช้
สัญลักษณ์ดังรูปที่ 6.10 โดยเขียนข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกสู่จอภาพขอยู่ภายใน
สัญลักษณ์นี้สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเข้าและทิศทางออก
อย่างละ 1 ทิศทาง
รูปที่ 6.10 แสดงสัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกจากจอภาพ
ตัวอย่างที่ 6.4 การใช้สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกจากจอภาพ
ภาพที่ 6.11 แสดงสัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกจากจอภาพ
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับกานแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทาง
จอภาพ
การแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์
สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงผลข้อมูลออกจากเครื่องพิมพ์ ใช้
สัญลักษณ์ดังรูปที่ 6.12 โดยเขียนข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางเครื่องพิมพ์อยู่
ภายในสัญลักษณ์นี้สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการแสดงข้อมูลออดทางเครื่องพิมพ์มี
ทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง
ANS
ภาพที่ 6.12 แสดงสัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกจากเครื่องพิมพ์
ตัวอย่างที่ 6.5 การใช้สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกจาก
เครื่องพิมพ์
ภาพที่ 6.13 แสดงสัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกจากเครื่องพิมพ์
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับกานแสดงค่าของตัวแปร ANS
ออกทางเครื่องพิมพ์
ANS
การติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ
อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ เช่น เทปแม่เหล็ก สัญลักษณ์ของ
ผังงานสาหรับการติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ ดังรูปที่ 6.14 ใช้
ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงเทปแม่เหล็กหรือต้องการอ่านข้อมูลจากแม่เหล็ก
รูปที่ 6.14แสดงสัญลักษณ์สาหรับการติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ
การติดต่อกับอุปกรณ์ที่ต้องการเข้าถึงแบบตรง
อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง เช่น บันทึกข้อมูล (Disc)
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูลใช้สัญลักษณ์ดังรูปที่
6.15 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงจานบันทึกข้อมูลหรือต้องการอ่านข้อมูลจาก
บันทึกข้อมูล
รูปที่ 6.14แสดงสัญลักษณ์สาหรับการติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นจาบันทึก
การตัดสินใจ
สัญลักษณ์การตัดสินใจใช้สาหรับตรวจสอบเงื่อนไข เพื่อตัดสินใจกระทา
ขั้นตอนการทางานที่ต้องทาเป็นลาดับถัดไป สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้สาหรับการ
ตัดสินใจเครื่องหมายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเงื่อนไขสาหรับการตัดสินใจอยู่
ภายในสัญลักษณ์ สัญลักษณ์การตัดสินใจมีการใช้งานในผังงานที่มีการทางานแบบ
เลือกทา และการทางานแบบทาซ้า
รูปที่6.16 แสดงสัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการตัดสินใจมีทิศทางเข้า 1 ทิศทาง ผลที่ได้จากการ
ตรวจสอบเงื่อนไขที่อยู่ในสัญลักษณ์การตัดสินใจจะมีอยู่ 2 กรณี คือ กรณีที่ผลการ
ตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงและกรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นเท็จดังนั้นทิศทางที่
ออกจากสัญลักษณ์การตัดสินใจจะมี 2 ทิศทางเช่นกันโดยใช้คาอธิบาย “Yes” , “Y”
หรือ“True”กากับทิศทางในกรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริง ใช้คาอธิบาย
“No” , “N” หรือ “False” กากับทิศทางในกรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นเท็จ
การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน
การแสดงทิศทางของขั้นตอนการทางานของผังงานใช้ลูกศรสาหรับการบอก
ทิศทางของขั้นตอนการทางาน การใช้ลูกศรทิศทางของขั้นตอนการทางานนิยมจาด
บนลงล่างหรือจากซ้ายไปขวา ลูกศรที่ชี้เข้าสู่สัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้
เข้าด้านบนของสัญลักษณ์ และลูกศรที่ชี้ออกจากสัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียน
ลูกศรชี้ออกทางด้านล่างของสัญลักษณ์
รูปที่ 6.17 สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน
ตัวอย่างที่ 6.6 การใช้สัญลักษณ์สาหรับการแสดงทิศทางการทางานของ
ผังงาน
รูปที่ 6.18แสดงทิศทางของลาดับขั้นตอนการทางาน
Read A,B
X A+B
จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน
สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้สาหรับเชื่อมการทางานของผังงาน
ที่อยู่ในหน้าเดียวกัน สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกันใช้สัญลักษณ์ของ
วงกลม ภายในวงกลมระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุดต่อแต่ละ
จุดต้องมีคู่ที่ต้องการเชื่อมถึงกันเสมอ
การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้ในกรณีที่เส้นสาหรับแสดง
ทิศทางการทางานของผังงานมีความยาวมาก หรือมีจุดตัดของเส้นที่ใช้แสดงทิศ
ทางการทางานเกิดขึ้น เพื่อลดความซับซ้อนของเส้นที่ใช้แสดงขั้นตอนการทางาน
ของผังงาน ทาให้สามารถเห็นลาดับขั้นตอนการทางานได้อย่างไม่สับสน
รูปที่ 6.19 แสดงสัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน
ตัวอย่างที่ 6.7 การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน
รูปที่ 6.20 แสดงการใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน
1
1
จุดต่อระหว่างหน้า
สัญลักษณ์จุดระหว่างหน้าของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปห้าเหลี่ยม สัญลักษณ์
จุดต่อระหว่างหน้าใช้สาหรับเชื่อมการทางานของผังงานที่อยู่ต่างหน้ากัน ภายใน
สัญลักษณ์ระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุดต่อแต่ละจุดต้องมีคู่ที่
ต้องการเชื่อมถึงกันเสมอ
การใช้งานของสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า มีการใช้งานเหมือนกับจุดต่อ
ภายในหน้าเดียวกัน ต่างกันเพียงใช้สาหรับเชื่อมต่อจุดที่อยู่ต่างหน้ากัน
รูปที่6.21 แสดงสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า
ตัวอย่างที่ 6.8 การใช้สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า
รูปที่ 6.22 แสดงการใช้สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า
ลักษณะการเขียนผังงาน
ตัวอย่างที่6.9 ตัวอย่างผังงาน
รูปที่ 6.22 แสดงผังงานที่มีโครงสร้างที่สมบูรณ์
Start
ANS 0
Read N
N>0
ANS ANS+N
N<0
Write NAS
End

More Related Content

Similar to หน่วยที่ 6 ผังงาน

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานPannathat Champakul
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศABELE Snvip
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2Naynoyjolii
 

Similar to หน่วยที่ 6 ผังงาน (20)

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
5 chapter1
5 chapter15 chapter1
5 chapter1
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Flow Chart
Flow ChartFlow Chart
Flow Chart
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Pbl4.1
Pbl4.1Pbl4.1
Pbl4.1
 
Ppt 01
Ppt 01Ppt 01
Ppt 01
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2
 
งานPbl 2
งานPbl 2งานPbl 2
งานPbl 2
 

More from จูน นะค่ะ

หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 

More from จูน นะค่ะ (20)

หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 

หน่วยที่ 6 ผังงาน