SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา
ขั้นตอนแรกของการพัฒนาโปรแกรมคือ การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา
เพื่อเป็นการพิจารณาว่างานที่ต้องการนั้น จะทาอะไร ผลลัพธ์เป็นอย่างไร ใช้ข้อมูล
ใดเป็นอินพุต และมีวิธีการประมวลผลอย่างไร โดยต้องคานึงถึงความเป็นไปได้ที่
คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ตามที่ได้วางแผนไว้ด้วย การวิเคราะห์งานที่ถูกต้อง
จะทาให้สามารถเขียนโปรแกรมได้เร็ว ตัวอย่างเช่น ถ้าหากต้องการคานวณหา
ค่าจ้างล่วงเวลาของพนักงานตามจานวนชั่วโมง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทราบว่า
ค่าจ้างคานวณได้จากสูตร
หรือถ้าต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก
ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทราบว่าการหาปริมาตรคานวณได้จากสูตร
ค่าจ้าง = Hours * PayRate
ปริมาตรทรงกระบอก = π x รัศมี2 x ความสูง
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ปัญหา
ในการวิเคราะห์ปัญหานั้นมีประเด็นที่ต้องพิจารณาออกมาเป็นข้อ ๆ ดังนี้
• ต้องการอะไร
จะต้องอธิบายว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์นั้น ทางานอะไร โดยอาจเป็นการ
เขียนออกมาเป็นข้อ ๆ ก็ได้
• ต้องการเอาต์พุตอย่างไร
จะอธิบายถึงลักษณะของงผลลัพธ์ที่ต้องการว่าต้องการอย่างไร อาจเป็น
การแสดงออกทางจอภาพแสดงออกทางเครื่องพิมพ์ หรือส่งเป็นเสียงออกทาง
ลาโพง โดยต้องอธิบายรายละเอียดด้วย เช่น ถ้าต้องการให้แสดงทางจอภาพ หน้า
แรกเป็นอย่างไร ตัวเลขที่แสดงเป็นทศนิยมกี่ตาแหน่ง แสดงเป็นตารางอย่างไร ถ้า
หากแสดงออกทางเครื่องพิมพ์จะต้องบอกด้วยว่า จะให้พิมพ์เลขหน้าหรือไม่ มีส่วน
หัวหรือท้ายเอกสารหรือไม่
• ข้อมูลเข้าเป็นอย่างไร
ส่วนนี้มักจะออกแบบหลังจากได้ออกแบบส่วนแสดงผลไปแล้ว โดยเมื่อ
ทราบรูปแบบของผลลัพธ์แล้ว จะต้องมาดูว่าถ้าหากต้องการข้อมูลแบบที่ต้องการ
แล้วข้อมูลทางอินพุตควรเป็นอย่างไร ต้องการข้อมูลเท่าใด จึงประมวลผลมาได้
เอาต์พุตแบบที่ต้องการ เป็นต้น
• วิธีการประมวลผลเป็นอย่างไร
อธิบายถึงลาดับขั้นตอนของการประมวลผล วิธีการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้
ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ โดยต้องพิจารณาว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่รับเข้าไปนั้น จะต้องเก็บ
ในตัวแปรกี่ตัว เป็นตัวแปรประเภทใด การประมวลผลมีขั้นตอนกระทากับตัวแปรนั้น
ๆ อย่างไรบ้าง ถ้าหากต้องการประมวลผล การเขียนคาอธิบายวิธีการประมวลผลนี้
อาจเป็นการเขียนออกมาเป็นข้อ ๆ ในลักษณะของรหัสเทียม หรือเขียนเป็นผังงานก็
ได้
อัลกอริธึมกับการแก้ปัญหา
อัลกอริธึมเป็นการจัดลาดับความคิดออกเป็นขั้นตอน เพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาสาหรับการเขียนโปรแกรม โดยจะแสดงลาดับของขั้นตอนเชิงคานวณซึ่ง
แปลงข้อมูลขาเข้าของปัญหาที่กาลังพิจารณาไปเป็นผลลัพธ์ตามที่ต้องการ โดย
ขั้นตอนต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นจะต้องแปลไปเป็นคาสั่งของคอมพิวเตอร์ได้อัลกอริธึมที่
ทางานได้ถูกต้องจะต้องแก้ไขปัญหาและหาคาตอบได้ทุกกรณี
การทดสอบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
หลังจากที่ได้วิเคราะห์ปัญหาแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายคือ ขั้นตอนสาหรับ
ทดสอบว่าวิธีการแก้ปัญหาที่ได้สร้างขึ้นนั้นสามารถใช้งานได้หรือไม่ ซึ่งทดสอบโดย
การสมมติข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลอินพุตในการแก้ปัญหา โดยยกตัวอย่างข้อมูล
ประมาณสองหรือสามกรณี จากนั้นให้ลองแทนค่าลงในขั้นตอนต่าง ๆ ของการ
ประมวลผล แล้วพิจารณาว่าได้คาตอบตามต้องการหรือไม่ ถ้าหากคาตอบผิดพลาด
จะต้องกลับไปแก้ไขว่าลาดับขั้นตอนใดที่ทางานไม่ถูกต้อง และให้กลับไปแก้ไข
ขั้นตอนการทางานใหม่ ในการทดสอบขั้นตอนการแก้ปัญหานี้ควรทดสอบกับข้อมูล
หลาย ๆ ชุด ถ้าหากทดสอบกับข้อมูลชุดเดียวแล้วทางานถูกต้องก็ไม่ได้หมายความ
ว่าขั้นตอนการทางานที่ออกแบบขึ้นทางานได้อย่างถูกต้องแล้ว
การตรวจสอบในแต่ละขั้นตอน ควรสร้างตารางขึ้นมาแสดงการทางานใน
แต่ละขั้นตอนของการประมวลผล หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นมาจะได้ดูได้ง่ายว่า
ผิดพลาดในขั้นตอนใด
การตรวจสอบขั้นตอนวิธีทาได้ดังนี้
1. สร้างตัวเลขทดสอบทางอินพุตขึ้นมาสองชุด โดยให้ชุดแรกมีค่าเป็น 10,
20 และ 30 ตัวเลขชุดที่สองมีค่าเป็น 40, 41 และ 42
2. ลองคิดคาตอบของการประมวลผลด้วยตนเอง
ตัวแปร ข้อมูลชุดแรก ข้อมูลชุดที่สอง
Number1 10 40
Number2 20 41
Number3 30 42
ตัวแปร ข้อมูลชุดแรก ข้อมูลชุดที่สอง
total 60 123
3. สร้างตารางขึ้นมาแสดงการทางานตามอัลกอริทึมแต่ละขั้น โดยให้
แสดงค่าของตัวแปรจากการประมวลผลในแต่ละขั้นตอนและสิ่งที่กระทากับตัวแปร
นั้น ๆ
4. ตรวจสอบผลลัพธ์ของขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 3 (60 และ 123) ว่าได้
ผลลัพธ์ตรงกันหรือไม่โดยดูที่ตัวแปล Total
หมายเลขลาดับ Number1 Number2 Number3 Total
ชุดที่ 1
1 10 20 30
2 60
3 Print
ชุดที่ 2
1 40 41 42
2 123
3 Print

More Related Content

Similar to บทที่ 5

20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาWarapang Plodplong
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์opor kwn
 
ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9
ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9
ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9Burnout9TH
 
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8ploypapas45091
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1bpatra
 
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Sendงานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Sendploypapas45091
 

Similar to บทที่ 5 (20)

20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
1
11
1
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
Comp2 4
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chepter3
Chepter3Chepter3
Chepter3
 
C1white
C1whiteC1white
C1white
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9
ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9
ศุภกร ตระกูลนิ่มนวล 39 5-9
 
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Sendงานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
 

More from จูน นะค่ะ

หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 

More from จูน นะค่ะ (18)

หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

บทที่ 5