SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
26/02/59
1
ชนิดา ปโชติการ
โภชนบําบัดผู้ป่ วยโรตไตเรื้อรัง
ผศ ดร. ชนิดา ปโชติการ,PhD.,LD,MPH,CDT
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
สมาคมนักกําหนดอาหารแห่งประเทศไทย ชนิดา ปโชติการ
บุคคลากรที่เกี่ยวข้องในการดูแล
ผู้ที่เป็ นโรคไตเรื้อรัง
ผู้ป่ วย
แพทย์
พยาบาล
เภสัชกร
นักกําหนดอาหาร/
นักโภชนาการ/
โภชนากร
ที่มา: Jutamas Onnom
อสม
เจ้าหน้าที่
สธ
นักกิจกรรม/
นักกายภาพ
ชนิดา ปโชติการ
ลักษณะของทีมที่ประสบความสําเร็จในการ
ดูแลผู้ป่ วยด้านโภชนาการ
• ผู้ป่ วยเป็ นจุดศุนย์กลาง
• ตระหนักความสําคัญของการให้โภชนบําบัด
• มีความรู้และทักษะในการให้คําปรึกษาด้าน
โภชนาการ
• มีการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการอย่าง
สมํ่าเสมอ
• มีทักษะในการสื่อสาร
• มีการทํางานแบบสหสาขาวิชาชีพซึ่งตระหนักถึง
บทบาทซึ่งกันและกันในการดุแลผู้ป่ วยในด้านอาหาร
และโภชนาการ ชนิดา ปโชติการ
การแบ่งโรคไตเรื้อรังออกเป็ นระยะต่าง ๆ
ระยะ ความหมาย %การทํางานที่เหลืออยู่
1 ไตเริ่มถูกทําลายเล็กน้อย > 90
แต่การทํางานของไตยังปกติอยู่
2 ไตทํางานลดลงเล็กน้อย 60-89
3a ไตทํางานลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง 45-59
3b ไตทํางานลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง 30-44
4 ไตทํางานลดลงอย่างมาก 15-29
5 ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย <15
(หรือต้องทําการล้างไต) NKF-K/DOQI, 2002
ชนิดา ปโชติการ
การแนะนําอาหารในผู้ป่ วย
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2-3a
• ควรเน้นในเรื่องการ ควบคุมความดันโลหิตให ้
น้อยกว่า 130-139/80-89 มิลลิเมตรปรอท
• ควบคุมระดับนํ้าตาลสะสมในเลือดHbA1c ไม่ให ้
เกิน 7%
• โดยลดการบริโภคเค็ม(2 กรัม/วัน) จํากัด
ปริมาณแป้งและนํ้าตาลรวมทั้งไขมันชนิดอิ่มตัว
และตรวจนํ้าตาลก่อนและหลังอาหารสองชั่วโมง
อย่างสมํ่าเสมอ
ชนิดา ปโชติการ
• To reduce the risk or slow the
progression of nephropathy
–Optimize glucose control A
–Optimize blood pressure control A
Recommendations: Nephropathy
ADA. 9. Microvascular Complications and Foot Care. Diabetes Care 2015;38(suppl 1):S58
26/02/59
2
ชนิดา ปโชติการ
Therapeutic
Dietary Goal and
Its Relevance
Ranges/Goals Dietary
Intervention
Reduce Albuminuria
Decreased albuminuria
is associated with slower
progression of CKD,
particularly in diabetics.
Limiting dietary protein
may re-duce albuminuria
and improve blood
glucose control, hyper-
lipidemia, blood
pressure, renal bone
disease, and metabolic
acidosis. (de Zeeuw et
al, 2004).
Reduce or stabilize
the amount of
albumin lost in the
urine
Limit excessive dietary
protein as follows: •
Nondiabetic: 0.8 g
protein/kg/day.• Diabetic:
0.8-1.0 g protein/kg/day.
Evidence suggests
that further lowering to
0.6 g protein/kg/day in
nondiabetic patients
may be beneficial, but
adherence is difficult.
Some patients may be
able to achieve this level
with intensive
counseling. ชนิดา ปโชติการ
Nutrition in chronic kidney failure
AJKD 2000
CKD stage Daily protein intake
Stage I-II
(eGFR >60ml/min/1.73
m2)
Normal intake (<1g
protein/kg IBW)
Stage III
(eGFR >30-59/min/1.73
m2)
0.6-0.8 g protein/kg IBW
(2/3 of HBV)
Stage IV-V
(eGFR <30/min/1.73 m2)
0.6-0.8 g protein/kg IBW
(2/3of HBV)
or 0.3-0.4 g of vegetable
origin/kg IBW supplement
with EAA and /or KA
ชนิดา ปโชติการ
เวลาทีใช้ในการเปลียนไปเป็นนําตาลของ
อาหารชนิดต่างๆ
ชนิดอาหาร %ที่เปลี่ยนไป เวลาที่ใช้ในการ
เปลี่ยนเป็นนํ้าตาล
นํ้าตาล 100% 15 – 30นาที
ข้าว แป้ง ผลไม้ 90-100% 30 - 90 นาที
เนื้อสัตว์ นม ไข่ 58% 3 - 4 ชั่วโมง
ไขมัน 10-30% หลายชั่วโมง
ชนิดา ปโชติการ
เป้ าหมายในการควบคุมเบาหวาน
การตรวจ ดี ต้องปรับปรุง
นํ้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร(มก./ดล.) 80-120 >140
นํ้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชม(มก./ดล.) 80-160 >180
นํ้าตาลเฉลี่ยสะสมHbA1c (%)
<7 >8
โคเลสเตอรอลรวม (มก./ดล.) <200 >250
LDL- โคเลสเตอรอล(มก./ดล.)-ตัวไม่ดี <100 >130
HDL- โคเลสเตอรอล (มก./ดล.)-ตัวดี >45 <35
ไตรกลีเซอไรด์(มก./ดล.) <200 >400
ดัชนีมวลกาย (กก./ตารางเมตร) 20-25 >27
ความดันเลือด (มม.ปรอท) 130/85 >160/90
ชนิดา ปโชติการ
A1C ~ “นํ้าตาลเฉลี่ยสะสม”
American Diabetes Association
A1C eAG
% mg/dL mmol/L
6 126 7.0
6.5 140 7.8
7 154 8.6
7.5 169 9.4
8 183 10.1
8.5 197 10.9
9 212 11.8
9.5 226 12.6
10 240 13.4
Formula: 28.7 x A1C - 46.7 - eAG
ชนิดา ปโชติการ
การควบคุมระดับนํ้าตาล
• เป้าหมายที่ต้องการคือกินให้ระดับนํ้าตาลขึ้นช้าๆ
และไม่ขึ้นสูง อาหารที่ส่งผลต่อการควบคุมระดับ
นํ้าตาลมีดังนี้
– ปริมาณ นํ้าตาล ข้าว แป้ง
– ปริมาณใยอาหารที่กิน
– ปริมาณไขมันจากสัตว์ที่กิน
– ความบ่อยครั้งในการกิน
26/02/59
3
ชนิดา ปโชติการ
การควบคุมระดับนํ้าตาล
กินนํ้าตาล ข้าว แป้งมาก นํ้าตาลในเลือด
กินใยอาหารมาก นํ้าตาลในเลือด
กินไขมันจากสัตว์มาก นํ้าตาลในเลือด
ชนิดา ปโชติการ
ไม่ควรกินนํ้าตาลเกิน
(10%พลังงาน/วัน)
1 ช ้อนชา = ข ้อนิ้วหัวแม่มือ
กินนํ้ามันชนิดดีไม่เกิน 9 ช ้อนชาหรือ 3 ช ้อนโต๊ะต่อวัน
กินนํ้าตาลไม่เกิน 6 ช ้อนชาหรือ 2 ช ้อนโต๊ะต่อวัน
ที่มา: ศัลยา คงสมบูรณ์เวช
ชนิดา ปโชติการ
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล
(ช้อนชา)
นํ้าส้ม 25% ผสมวุ้นมะพร้าว 400 ซีซี 7
นํ้าส้ม 1 กระป๋ อง 325 ซีซี 7 ½
นํ้าอัดลม 1 กระป๋ อง325 ซีซี 8
ชาเขียว 500 ซีซี 12
กาแฟ 3 in one (26 กรัม) 3
นมเปรี้ยว(รสธรรมดา) 120 ซีซี 3
ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม
กองโภชนาการ กรมอนามัยและสถาบันโภชนาการ ม มหิดล ชนิดา ปโชติการ
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล (ช้อนชา)
นํ้าขิง 1 ซอง (18 กรัม ) 3 ½
เครื่องดื่มชูกําลัง 100 ซีซี 3 ½
กาแฟ 1 กระป๋ อง 180 กรัม 3 ½
นมถั่วเหลือง250 ซีซี 3 ½
โยเกิร์ตผสมวุ้นมะพร้าว 150 กรัม 4
นมปรุงแต่งรสช็อคโกแลต 200 ซีซี 4
นํ้าผลไม้ (รสส้ม) 240 ซีซี 4 ½
โยเกิร์ตผสมธัญญาพืช 150 กรัม 4 ½
ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณนํ้าตาลในขนม
ชื่อขนม ปริมาณนํ้าตาล
(กรัม) (ช้อนชา)
ขนมเปียกปูน 1 ชิ้น 10 2 1/2
ข้าวต้มมัดไส้กล้วย 1 ชิ้น 11 2 3/4
ข้าวเหนียวสังขยา 1 ห่อ 19 4 3/4
ข้าวเหนียวหน้าปลาแห้ง 1 ห่อ 22 5 1/2
ขนมทอดหยอด 1 ลูก 5 1 1/4
ขนมเม็ดขนุน 1 เม็ด 3 3/4
ขนมฝอยทอง 1 แพ 13 3 1/4
กองโภชนาการ กรมอนามัยและสถาบันโภชนาการ ม มหิดล ชนิดา ปโชติการ
ADI
(mg/
kg body
wt)
นํ้าอัดลม 1
กระป๋ อง
(mg)
จํานวน
นํ้าอัดลมที่
ดื่มแล ้วเกิด
อันตราย
(ADI for
60-kg
person)
จํานวน
นํ้าตาล
เทียมที่กิน
แล ้วเป็น
อันตราย
(mg)
จํานวน
นํ้าตาล
เทียมที่กิน
แล ้วเป็น
อันตรายเป็น
ซอง ADI
for 60-kg
Acesulfame K 15 40 25 50 18
Aspartame 50 200 15 35 86
Saccharin 5 140 2 40 7.5
Sucralose 5 70 4.5 5 60
นํ้าตาลเทียม
26/02/59
4
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาล (glycemic index)
เป็ นตัวเลขบอกปริมาณนํ้าตาลในเลือดที่
เพิ่มขึ้นหลังการรับประทานอาหารแต่ละชนิด
เทียบกับการรับประทานนํ้าตาลกลูโคสใน
จํานวนคาร์โบไฮเดรตที่เท่ากัน นํ้าตาล
กลูโคสมีดัชนีนํ้าตาลเท่ากับ 100%
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาล
• ดัชนีนํ้าตาลตํ่า = 0-55
• ดัชนีนํ้าตาลปานกลาง = 56-69
• ดัชนีนํ้าตาลสูง = 70-100
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาลของผัก
บร๊อคโคลี่ = 10
กระหลํ่าปลี = 10
ผักกาดแก ้ว = 10
เห็ด = 10
หัวหอม = 10
พริกหยวก = 10
ถั่วพีแห้ง = 28
แครอท = 49
ถั่วเม็ดเขียว = 48
ข้าวโพด = 60
ฟักทอง = 75
ชนิดา ปโชติการ
ค่าดัชนีนํ้าตาลในผลไม้
• มะม่วงเสวยดิบ (28),
• ฝรั่ง (34)
• ส ้มสายนํ้าผึ้ง (44)
• ลําไย (44),
• เงาะ (55),
 แตงโมกินรี (58),
 มะม่วงนํ้าดอกไม้สุก (64)
 มะละกอ (65)
 สับปะรด (72)
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาลของ
อาหารพวกข้าว
• ข้าวบาร์เลย์ = 25
ข้าวซ้อมมือ = 55
ข้าวบัสมาติ = 58
ข้าวขาวหัก = 72
ข้าวขาว (ข้าวเจ้า) = 87
ข้าวเหนียว = 98
ดัชนีนํ้าตาลของ
นํ้าผลไม้
นํ้ามะเขือเทศ = 38
นํ้าแอปเปิล = 40
นํ้าสับประรด = 46
นํ้าส้ม = 53
ชนิดา ปโชติการ
ควรจะกินอย่างไร?
•ควรเลือกกินข้าว แป้งที่มีใยอาหารสูง
ซึ่งก็คืออาหารประเภท ธัญพืชที่ไม่ได้
ขัดสีต่างๆ เลือกข้าวซ้อมมือแทนข้าว
ขัดขาว
26/02/59
5
ชนิดา ปโชติการ
ผัก 3 ทัพพี+ ผลไม้ = 2 จานเล็ก
ข้าวกล้อง + ถั่ว = 7 ทัพพี
ปริมาณใยอาหารที่ควรกิน
ชนิดา ปโชติการ
กินผลไม้จานเล็กต่อมื้อ
7-8 ชิ้นคํา 7-8 ชิ้นคํา 1/2 ลูก
3-4 ลูก 3-4ลูก
3-4 ลูก
1 จานเล็ก =
ชนิดา ปโชติการ
ในธรรมชาติ ถ ้าไม่ปรุงอะไรเลยในอาหาร
เราจะได ้โซเดียมประมาณ 800-1000
มิลลิกรัม ที่เหลือมาจากการปรุงอาหาร
โซเดียมพบได ้
เกลือ
เครื่องปรุงรส เช่น นํ้าปลา
อาหารเบเกอรี(ผงฟู)
อาหารกระป๋ อง(สารกันบูด)
จํากัดเกลือโซเดียม
2000 มก/วัน
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโซเดียม
• เกลือ(โซเดียมคลอไรด์)
– 1 ช ้อนชา (ช.ช) 5000มก = โซเดียม 2000 มก
– เกลือ มีโซเดียม = 40%
• นํ้าปลาและซีอิ๊ว 1ช.ช= โซเดียม 400 มก
• ซอสมะเขือเทศ 1 ช.ช = โซเดียม 55 มก
• ซอสหอยนางรม 1 ช.ช = โซเดียม 140-160 มก
• นํ้าจิ้มไก่1 ช.ช = โซเดียม 67-76 มก
• บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป 60 กรัม = โซเดียม 1,500 มก.
• โจ๊กกึ่งสําเร็จรูป 42 กรัม = โซเดียม 1,000 มก.
• ***สรุปใช ้นํ้าปลาได ้ไม่เกินวันละ 3- 4 ช ้อนชา***
ชนิดา ปโชติการ
การปรับพฤติกรรม วิธีการ ประโยชน์ในการลด
Systolic blood
pressure
ลดนํ้าหนัก ควบคุม BMI 18.5-24.9 kg/m2 5-20 mmHg/นน ตัวที่
ลด 10 kg
ลด Na ไม่ให้เกินวันละ 100 mmol,Na 2.4 g
( เกลือแกง 6 กรัม หรือ ประมาณ 1 ช้อนชา)
2-8 mmHg
เพิ่มผัก ผลไม้ ลด
ไขมันอิ่มดัว
กินผัก ผลไม้ และนมที่มีไขมันตํ่า, ลดไขมันรวม และ
ไขมันอิ่มตัว
8-14 mmHg
ออกกําลังกาย ออกกําลังกายแบบแอโรบิคสมํ่าเสมอ เช่น เดินเร็วๆ
อย่างน้อยวันละ 30 นาที 4 วัน/สัปดาห์
4-9 mmHg
ดื่ม alcohol
พอประมาณ
ผู้ชาย No more than 2 drinks/day
เบียร์ 720 ml, ไวน์ 300 ml วิสกี้ 90 ml/วัน
ผู้หญิงหรือผู้ที่รูปร่างเล็กให้ลดขนาดของ alcohol
ลงครึ่งหนึ่ง
2-4 mmHg
ควบคุมความดันโลหิต DASH: Dietary Approaches to Stop HT
ชนิดา ปโชติการ
การแนะนําการลดเค็ม
• เปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงรส
• ใช ้มะนาว พริก เครื่องเทศปรุงอาหารแทนเกลือหรือ
นํ้าปลา
• ถ ้าซื้ออาหารกระป๋ องต ้องอ่านสลากอาหารเพื่อดู
ปริมาณสารอาหารเลือกที่มีเกลือตํ่า
• กินอาหารสด เช่น เนื้อสัตว์ ผัก หรือผลไม ้แทนการ
รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร
• ไม่เติมเกลือหรือนํ้าปลาเพิ่มในอาหารที่ปรุงเสร็จ
26/02/59
6
ชนิดา ปโชติการ
• อาหารตากแห ้ง เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็ม หอยเค็ม กุ้ง
แห ้ง ปลาแห ้ง
• เนื้อสัตว์ปรุงรส ได ้แก่ หมูหยอง หมูแผ่น กุนเชียง
• อาหารกึ่งสําเร็จรูป เช่น บะหมี่สําเร็จรูป โจ๊กซอง ซุป
ซอง
• อาหารสําเร็จรูป เช่น มันฝรั่งแผ่น อาหรกระป๋ อง
• เครื่องปรุงรสที่มีเกลือมากเช่น ซุปก ้อน ผงปรุงรส
ผงฟู
• อาหารหมักดองเค็ม เช่น กะปิ เต ้าหู้ยี้ ปลาร ้า ไตปลา
ไข่เค็ม ผักดอง ผลไม ้ดอง
การแนะนําการลดเค็ม
ชนิดา ปโชติการ
การอ่านฉลาก
อ่านฉลากโภชนาการ เลือกอาหารที่มีโซเดียม
น้อย นํ้าตาน้อย ควรเลือกอาหารว่างที่
โซเดียม < 100 มิลลิกรัมต่อห่อ
ที่มา: เอกหทัย แซ่เตีย
ชนิดา ปโชติการ
2
16
11
6
อาหารจานสุขภาพ
เครื่องปรุง
เลขที่ควรจํา =?
6 ชช นํ้าตาล 6ชช นํ้ามัน 1ชช เกลือ
3-4 ชชนํ้าปลา
ผัก ½ จาน ข้าว ¼ จาน เนื้อสัตว์
4-6 ชต
ชนิดา ปโชติการ
ปิรามิด เบาหวาน
ผัก 4-5 ทัพพี
ข้าว แป้ง 4-5 ทัพพี
ถั่ว 1-2
การออกกําลังกาย
และควบคุมนํ้าหนัก
ผลไม้ 4-5 ส่วน
นํ้ามันพืช3-4 ช้อนชา
ถั่วต่างๆ 1-2ทัพพี ธัญพืช 1-2ทัพพี
นํ้า 5-6แก้ว
กินวันละเท่าไร
เนื้อสัตว์ ปลา ไข่ 2 ส่วน
วิตามิน
หลีกเลี่ยงอาหารที่หวานจัดลดกินเนื้อแดงและเนย
คนไข้ไตต้อง
ระวังผัก
และผลไม้ที่มี
โพแทสเซียมสูง
และอาจต้อง
จํากัดเนื้อสัตว์
นมพร่องมันเนย1 แก้ว
ชนิดา ปโชติการ ชนิดา ปโชติการ
ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังที่
ยังไม่ได ้ล ้างไต
ไม่เป็นโรคไตเรื้อรัง
ผู้ที่ฟอกเลือด
ผู้ที่ล ้างไตทางหน้าท ้อง
กรองได้ปกติ กรองได้ลดลง
ต้องฟอกเลือด
หรือล้างไตทางหน้าท้อง
เปรียบเทียบการทํางานของไต และบทบาท
ของอาหาร
กรองได้น้อยมากๆ
-ยา+ อาหารที่เหมาะสม
-กินอาหารและใช้ยาที่เหมาะสม
ถูกต้องทําให้ไตเสื่อมช้าลง
-สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
-ป้องกันภาวะแทรกซ้อน-ป้ องกันภาวะแทรกซ้อน
-สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
บทบาทของอาหาร
ที่มา:กัลยา.กาลสัมฤทธิ์ นักกําหนดอาหาร
26/02/59
7
ชนิดา ปโชติการ
ผู้ป่ วยเป็ นโรคไตเรื้อรัง
ระยะที่ 3b หรือมากกว่า
• ควรจํากัดปริมาณโปรตีน(0.6-0.8 กรัม/นนตัว
1 กก/วัน
• ติดตามปริมาณนํ้าและเกลือแร่โดยเฉพาะ ระดับ
โพแทสเซียม ฟอสฟอรัสในเลือด
• ระดับของพลังงานควรจะประมาณ 35 กิโล
แคลอรี่ /นํ้าหนักตัว 1 กก /วันใน ผู้ป่ วยที่อายุ
น้อยกว่า 60 ปี และ 30 กิโลแคลอรี่ ในผู้ป่ วยที่
อายุมากกว่า 60 ปี ชนิดา ปโชติการ
เป้ าหมายในการจัดการด้านโภชนาการ
•ชะลอการเสื่อมของไต
•ลดอาการยูรีเมีย
•ลดความผิดปกติของขบวนการเมตาบอริกซึม
•รักษาสมดุลย์ของ fluid และ electrolyte
•ผู้ป่ วยอยู่อย่างมีคุณภาพชีวิต
ชนิดา ปโชติการ
จะจัดอาหารได้อย่างไร?
1. ประเมินความต ้องการโปรตีนและพลังงานให ้
เหมาะกับนํ้าหนักตัวและระยะของการเป็นโรคไต
เรื้อรัง
2. วางแผนสัดส่วนอาหาร 5 หมู่ตามความต ้องการ
3. ให ้ความรู้โดยการเอื้ออํานาจให ้ผู้ป่ วย
(empowerment)
4. ติดตามและประเมิน
5. ให ้ความรู้เพิ่มเติม ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีน กรัม/
นํ้าหนักตัว 1 กก/วัน
ระยะของการเป็ นโรคไตเรื้อรัง
โปรตีน 0.8-1.0 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2
โปรตีน 0.6-0.8 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
โปรตีน 0.3-0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
โปรตีน 0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5
โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5
โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน** ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5
โปรตีน 1.0-1.5 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยที่รับการบบัดทดแทนไต
ปริมาณโปรตีนที่ต้องการในผู้ป่ วยไตเรื้อรังระยะต่างๆ
ที่มา: สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย 2553
ชนิดา ปโชติการ
พลังงานที่ต้องการ
• อายุ > 60 ปี = 30 kcal /นนตัว 1 kg/day
• อายุ < 60 ปี = 35 kcal /นนตัว 1 kg/day
• ถ ้าอ ้วน = 20-25 kcal /นนตัว 1 kg/day
• ถ ้าผอมมาก = 35-40 kcal /นนตัว 1 kg/day
NKF-K/DOQI, 2002
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ(คนปกติ)
ตัวอย่าง
• นํ้าหนัก 60 กิโลกรัม อายุ 65 ปี
• โปรตีนที่ควรกิน = 0.8 กรัมต่อนํ้าหนัก
ตัว 1 กิโลกรัม
• ควรกินโปรตีน 0.8 x 60 = 48 กรัมต่อ
วัน
• พลังงาน =60 X 30 =1800 แคลลอรี
26/02/59
8
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับเมื่อไตเสื่อม
ระยะที่ 3bและมากกว่า
• นํ้าหนัก 60 กิโลกรัม
• โปรตีนที่ควรกิน = 0.6-0.8 กรัมต่อ
นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
• ควรกินโปรตีน 0.6 x 60 = 36 กรัมต่อวัน
• พลังงาน =60 X 30 =1800 แคลลอรี
ชนิดา ปโชติการ
อาหารที่ผู้ป่ วยรายนี้ควรได้รับ
• โปรตีน 36-40 กรัมต่อวัน
1800 แคลลอรี 2 กรัม
sodium
• แปลเป็ นอาหารโรคไตเรื้อรังได้
อย่างไร?
ชนิดา ปโชติการ ชนิดา ปโชติการ
สื่อการสอน Food Model
ที่มา: สมาคมนักกําหนดอาหารแห่งประเทศไทย สมาคมนักกําหนดอาหารแห่งประเทศไทย
ชนิดา ปโชติการ
จําง่ายๆโปรตีนและพลังงานในอาหาร
โปรตีน พลังงานเฉลี่ย
7 70
1
1/2
25
70
2 70
ชนิดา ปโชติการ
โปรตีนและพลังงานในอาหาร
โปรตีน พลังงาน
0 45
0 20
นํ้ามัน 1 ช้อนชา
นํ้าตาล 1 ช้อนชา
26/02/59
9
ชนิดา ปโชติการ
2 ชต4 ชต
2 2
3ทัพพี (3) 1 1
2 จานเล็ก (1) 1 1
3 ทัพพี 1
แผนการบริโภค40 กรัมโปรตีน พลังงาน1600Cal
10 ชช 3 3 4
แป้ง
เนื้อสัตว์
ผัก
ผลไม้
แป้งปลอด
ไขมัน
หมู่อาหาร เช้า กลางวัน เย็น
1 1
2 ชต
จํานวนส่วน
(โปรตีน)
4ทัพพี (8)
1
8 ชต(28)
-
นํ้าตาล* 6 ชช 2 2 2
*ถ้าไม่เป็นเบาหวาน ถ้าเป็นเบาหวานใช้แป้งปลอดโปรตีนแทน)
ชนิดา ปโชติการ
ผลไม้
1 จาน
เล็ก
1 2
4 3
1 แก้ว
ส่วนที่ 1 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหารหมวดข้าว แป้ ง
ส่วนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหารหมวดเนื้อสัตว์
และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์
ส่วนที่ 3และ4 หมายถึง ½ ของจานเป็ นอาหารหมวดผัก
การจัดอาหารผู้ป่ วยไตเรื้อรังอย่างง่าย
แบ่งจานอาหารขนาดมาตรฐาน 9 นิ้วออกเป็ น 4 ส่วน
ชนิดา ปโชติการ
ส่วนที่1
จัดอาหารลงจานตามส่วน
ผู้ป่ วยควรได้รับพลังงานให้เพียงพอ เพื่อป้ องกัน
โปรตีนถูกดึงไปใช้เป็ นพลังงานทําให้เกิดภาวะขาด
อาหารได้ ควรบริโภคข้าว แป้ งที่มีดัชนีนํ้าตาลตํ่า
อย่างน้อยมื้อละ 2 ทัพพี หลีกเลี่ยงแป้ งที่มีส่วนผสม
ของผงฟู เช่น ขนมปัง เบเกอรี ชนิดา ปโชติการ
ข้าวแป้ งที่มีฟอสฟอรัสสูง
• หมวดข้าว แป้ ง ขนมปัง:
• ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีด เบ
เกอรี่
• ควรหลีกเลี่ยงเมื่อมีระดับ
ฟอสฟอรัสในเลือดสูง
ชนิดา ปโชติการ
• ส่วนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหาร
หมวดเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
• เลือกกิน ปลา เนื้อไก่ เนื้อหมู ไข่ขาว โดย
กิน มื้อละ กี่ช้อนโต๊ะ (ขึ้นกับนนํ้าหนักตัว)
และระยะของการเป็ นโรคไต
ส่วนที่ 2
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณ EPA & DHA : เนื้อปลานํ้าจืดไทย
(% นําหนัก/นํ้าหนักของกรดไขมันทั้งหมด)
ปลานํ้าจืด EPA DHA
ปลาช่อน 1.77 5.48
ปลาดุกด ้าน 0.68 5.56
ปลานิล 2.66 7.19
ปลาสลิด 3.39 7.45
ปลากดเหลือง 1.44 7.54
ปลาหมอไทย 2.01 7.77
ปลาเนื้ออ่อน 2.59 9.32
ปลากราย 2.54 13.55
ปริมาณ EPA & DHA : เนื้อปลาทะเลไทย
(% นําหนัก/นํ้าหนักของกรดไขมันทั้งหมด)
ปลาทะเล EPA DHA
ปลากะพงขาว 2.96 18.72
ปลาจาละเม็ดดํา 3.23 19.35
ปลาตาเดียว 1.72 22.77
ปลาช่อนทะเล 1.57 23.36
ปลากระพงแดง 1.97 23.80
ปลาทูแขก 2.66 25.57
ปลาโอลาย 1.18 33.55
ปลาดาบลาว 1.02 36.28
ปลาในไทยที่มี นํ้ามันปลาโอเมก ้า-3
26/02/59
10
ชนิดา ปโชติการ
ทําอย่างไรถ้าต้องกินโปรตีนตํ่า
แต่แอลบูลมินตํ่า
•เพิ่มพลังงานโดย เพิ่มเมนู
จากแป้ งปลอด
•ดัดแปลงเมนูจากไข่ขาว
ชนิดา ปโชติการ
ใช้แป้ งโปรตีนตํ่าในการเพิ่มพลังงานแต่
ไม่เพิ่มโปรตีน
1 ทัพพีให้โปรตีนน้อย ให้พลังงาน = 70 แคลอรี
•วุ้นเส้น
•แป้งมัน
•สาคู
•เส้นเซี่ยงไฮ้
ชนิดา ปโชติการ
• ส่วนที่ 3 และ 4 หมายถึง ½ ของจานเป็ นอาหาร
หมวดผัก
• ควรเลือกกินผักสุกมื้อละ 2 ทัพพี
• ควรเลือกกินผักสีอ่อนๆ เช่น บวบเหลี่ยม แตงกวา
(เอาเมล็ดออก) แตงร้าน ฟักเขียว หอมหัวใหญ่
ผักกาดขาว พริกหวาน
• หลีกเลี่ยงการกินผักที่มีโพแทสเซียมสูงเมื่อระดับ
โพแทสเซียมเกิน 5.5 mg/dl เห็ดโคน ผักโขม
ชะอม หน่อไม้ฝรั่ง มันเทศ มันฝรั่ง มะเขือเทศ
บร็อคโคลี่ แครอทดิบ
ส่วนที่ 3-4
ชนิดา ปโชติการ
• ควรเลือกผลไม้วันละ 1-2 จานเล็ก
• 1จานเล็ก = ผลไม้ 8-10 ชิ้นคําหรือผลไม้ขนาด
กลาง 4 ผลหรือ ผลไม้ขนาดใหญ่ 1 ผล
• เลือกกินผลไม้ที่มีโพแทสเซียมตํ่าและปานกลาง
ได้แก่ ชมพู่ เงาะ สับปะรด มังคุด องุ่นเขียว
• ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง ได้แก่ ทุเรียน กล้วย
ลําไย น้อยหน่า ขนุน มะเฟือง แคนตาลูป และ
ผลไม้แห้ง
ผลไม้
ชนิดา ปโชติการ
พลังงาน
• แหล่งของพลังงานส่วนใหญ่มาจาการกิน
ข้าว แป้ งปลอดโปรตีน นํ้าตาลและนํ้ามัน
• พลังงานที่ผู้ป่ วยควรจะได้รับขึ้นอยู่กับ
ผู้ป่ วยแต่ละราย
• ควรได้รับพลังงานจากอาหารให้เพียงพอ
ในแต่ละวันเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดภาวะ
กล้ามเนื้อลีบ
• ชนิดของไขมันส่วนใหญ่ ควรเป็ นไขมันดี
(ไขมันไม่อิ่มตัว) ชนิดา ปโชติการ
นํ้ามันที่ควรใช้ในการประกอบอาหาร
• นํ้ามันปาล์มไว้ทอด
• นํ้ามันรําข้าว นํ้ามันดอกทานตะวัน นํ้ามัน
ถั่วเหลือง ใช้สลับกันในการผัด
• หลีกเลี่ยงไขมันทรานซ์(เนยขาว)
ที่มา: เชาวลิต รัตนกุล
26/02/59
11
ชนิดา ปโชติการ
นํ้า
ผู้เป็ นโรคไตดื่มนํ้าได้เท่าไร?
• ขึ้นกับปริมาตรของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อ
วัน
– วันละประมาณ 500-1,000 ซี.ซี. + ปริมาตร
ของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อวัน
– แต่ถ้าปัสสาวะได้น้อยกว่า 500 มิลลิลิตร/
วัน ควรจํากัดนํ้าให้เหลือ 750-1,000
มิลลิลิตร/วัน
ชนิดา ปโชติการ
เครื่องดื่ม
• หลีกเลี่ยง นมเปรี้ยวพร ้อมดื่ม ไอศกรีม
เนย หลีกเลี่ยงนํ้าอัดลมสีเข ้ม ชา กาแฟที่
มีรสแก่จัด ช ้อคโกและเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์
• ปริมาณ= ปริมาตรของปัสสาวะ 24 ชม. +
500 cc
1
แก้ว
ชนิดา ปโชติการ
กินอาหารปลอดภัย
อาหารสด อาหารพร้อมปรุง อาหารสําเร็จรูป
ชนิดา ปโชติการ
การประเมินโดยใช ้EDA
ชนิดา ปโชติการ
© Copyright Fresenius Kabi AG
• Objective: To be used as a communication tool to educate people
about
dietary recommendation for pre-dialysis CKD patient.
• Design: Educational Website for free downloading educational
materials such as Handbook (PDF) and Web Board for asking
questions.Websites: www.raktai.org
www.nephrochula.com
www.nephrothai.org
www.thaidietetics.org
Communication Channel
ชนิดา ปโชติการ
สรป
• การดูแลโภชนาการในผู้ที่ที่มีภาวะไตเรื้อรังต้อง
ประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพที่ทํางานสัมพันธ์
กัน ทราบหน้าที่และบทบาทของกันและกันและ
ร่วมกันทํางานเป็ นทีม
• ให้ความรู้และคําปรึกษาด้านโภชนบําบัดที่
ถูกต้องและเหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต
ของผู้ป่ วย จะช่วยชะลอการเสื่อมของไตใน
ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง

More Related Content

What's hot

กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
techno UCH
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
dumrongsuk
 
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลสมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
Jintana Somrit
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
pasutitta
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
Rose Banioki
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
TODSAPRON TAWANNA
 

What's hot (19)

Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
Food for CVD
Food for CVDFood for CVD
Food for CVD
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลสมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 

Viewers also liked

CVofAndrewMichaelBlairworkhistory
CVofAndrewMichaelBlairworkhistoryCVofAndrewMichaelBlairworkhistory
CVofAndrewMichaelBlairworkhistory
Andrew Blair
 

Viewers also liked (14)

Mildmap
MildmapMildmap
Mildmap
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
L'efficienza energetica come driver per la competitività dell'Industria Alime...
L'efficienza energetica come driver per la competitività dell'Industria Alime...L'efficienza energetica come driver per la competitività dell'Industria Alime...
L'efficienza energetica come driver per la competitività dell'Industria Alime...
 
CVofAndrewMichaelBlairworkhistory
CVofAndrewMichaelBlairworkhistoryCVofAndrewMichaelBlairworkhistory
CVofAndrewMichaelBlairworkhistory
 
บทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm lบทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm l
 
Kitchen Remodeling Trends in 2016
Kitchen Remodeling Trends in 2016Kitchen Remodeling Trends in 2016
Kitchen Remodeling Trends in 2016
 
Alunos realizando atividades_Escola G. V.
Alunos realizando atividades_Escola G. V.Alunos realizando atividades_Escola G. V.
Alunos realizando atividades_Escola G. V.
 
Metabol·lisme cel·lular1
Metabol·lisme cel·lular1Metabol·lisme cel·lular1
Metabol·lisme cel·lular1
 
Teste diagnóstico-cursos-profissionais
Teste diagnóstico-cursos-profissionaisTeste diagnóstico-cursos-profissionais
Teste diagnóstico-cursos-profissionais
 
Carta puca5.marzo
Carta puca5.marzoCarta puca5.marzo
Carta puca5.marzo
 
InterTech is one of the top construction companies in Qatar civil engineering
InterTech is one of the top construction companies in Qatar civil engineeringInterTech is one of the top construction companies in Qatar civil engineering
InterTech is one of the top construction companies in Qatar civil engineering
 
Get started with dropbox
Get started with dropboxGet started with dropbox
Get started with dropbox
 
Open Education, Open Opportunities
Open Education, Open OpportunitiesOpen Education, Open Opportunities
Open Education, Open Opportunities
 
Realising Business Outcomes & Digital Transformation with IoT by Jayraj Nair,...
Realising Business Outcomes & Digital Transformation with IoT by Jayraj Nair,...Realising Business Outcomes & Digital Transformation with IoT by Jayraj Nair,...
Realising Business Outcomes & Digital Transformation with IoT by Jayraj Nair,...
 

Similar to HandOut Nutrition รุ่น1

Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
vora kun
 
ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช
ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมชติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช
ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช
Wichai Likitponrak
 
น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610
Supichaya Tamaneewan
 

Similar to HandOut Nutrition รุ่น1 (20)

Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
Dmw presentation
Dmw presentationDmw presentation
Dmw presentation
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
 
ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช
ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมชติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช
ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt
 
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
 
น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610
 
น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Ncep atp iii
Ncep atp iiiNcep atp iii
Ncep atp iii
 
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 

More from CAPD AngThong

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 

HandOut Nutrition รุ่น1

  • 1. 26/02/59 1 ชนิดา ปโชติการ โภชนบําบัดผู้ป่ วยโรตไตเรื้อรัง ผศ ดร. ชนิดา ปโชติการ,PhD.,LD,MPH,CDT สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล สมาคมนักกําหนดอาหารแห่งประเทศไทย ชนิดา ปโชติการ บุคคลากรที่เกี่ยวข้องในการดูแล ผู้ที่เป็ นโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่ วย แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกําหนดอาหาร/ นักโภชนาการ/ โภชนากร ที่มา: Jutamas Onnom อสม เจ้าหน้าที่ สธ นักกิจกรรม/ นักกายภาพ ชนิดา ปโชติการ ลักษณะของทีมที่ประสบความสําเร็จในการ ดูแลผู้ป่ วยด้านโภชนาการ • ผู้ป่ วยเป็ นจุดศุนย์กลาง • ตระหนักความสําคัญของการให้โภชนบําบัด • มีความรู้และทักษะในการให้คําปรึกษาด้าน โภชนาการ • มีการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการอย่าง สมํ่าเสมอ • มีทักษะในการสื่อสาร • มีการทํางานแบบสหสาขาวิชาชีพซึ่งตระหนักถึง บทบาทซึ่งกันและกันในการดุแลผู้ป่ วยในด้านอาหาร และโภชนาการ ชนิดา ปโชติการ การแบ่งโรคไตเรื้อรังออกเป็ นระยะต่าง ๆ ระยะ ความหมาย %การทํางานที่เหลืออยู่ 1 ไตเริ่มถูกทําลายเล็กน้อย > 90 แต่การทํางานของไตยังปกติอยู่ 2 ไตทํางานลดลงเล็กน้อย 60-89 3a ไตทํางานลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง 45-59 3b ไตทํางานลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง 30-44 4 ไตทํางานลดลงอย่างมาก 15-29 5 ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย <15 (หรือต้องทําการล้างไต) NKF-K/DOQI, 2002 ชนิดา ปโชติการ การแนะนําอาหารในผู้ป่ วย โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2-3a • ควรเน้นในเรื่องการ ควบคุมความดันโลหิตให ้ น้อยกว่า 130-139/80-89 มิลลิเมตรปรอท • ควบคุมระดับนํ้าตาลสะสมในเลือดHbA1c ไม่ให ้ เกิน 7% • โดยลดการบริโภคเค็ม(2 กรัม/วัน) จํากัด ปริมาณแป้งและนํ้าตาลรวมทั้งไขมันชนิดอิ่มตัว และตรวจนํ้าตาลก่อนและหลังอาหารสองชั่วโมง อย่างสมํ่าเสมอ ชนิดา ปโชติการ • To reduce the risk or slow the progression of nephropathy –Optimize glucose control A –Optimize blood pressure control A Recommendations: Nephropathy ADA. 9. Microvascular Complications and Foot Care. Diabetes Care 2015;38(suppl 1):S58
  • 2. 26/02/59 2 ชนิดา ปโชติการ Therapeutic Dietary Goal and Its Relevance Ranges/Goals Dietary Intervention Reduce Albuminuria Decreased albuminuria is associated with slower progression of CKD, particularly in diabetics. Limiting dietary protein may re-duce albuminuria and improve blood glucose control, hyper- lipidemia, blood pressure, renal bone disease, and metabolic acidosis. (de Zeeuw et al, 2004). Reduce or stabilize the amount of albumin lost in the urine Limit excessive dietary protein as follows: • Nondiabetic: 0.8 g protein/kg/day.• Diabetic: 0.8-1.0 g protein/kg/day. Evidence suggests that further lowering to 0.6 g protein/kg/day in nondiabetic patients may be beneficial, but adherence is difficult. Some patients may be able to achieve this level with intensive counseling. ชนิดา ปโชติการ Nutrition in chronic kidney failure AJKD 2000 CKD stage Daily protein intake Stage I-II (eGFR >60ml/min/1.73 m2) Normal intake (<1g protein/kg IBW) Stage III (eGFR >30-59/min/1.73 m2) 0.6-0.8 g protein/kg IBW (2/3 of HBV) Stage IV-V (eGFR <30/min/1.73 m2) 0.6-0.8 g protein/kg IBW (2/3of HBV) or 0.3-0.4 g of vegetable origin/kg IBW supplement with EAA and /or KA ชนิดา ปโชติการ เวลาทีใช้ในการเปลียนไปเป็นนําตาลของ อาหารชนิดต่างๆ ชนิดอาหาร %ที่เปลี่ยนไป เวลาที่ใช้ในการ เปลี่ยนเป็นนํ้าตาล นํ้าตาล 100% 15 – 30นาที ข้าว แป้ง ผลไม้ 90-100% 30 - 90 นาที เนื้อสัตว์ นม ไข่ 58% 3 - 4 ชั่วโมง ไขมัน 10-30% หลายชั่วโมง ชนิดา ปโชติการ เป้ าหมายในการควบคุมเบาหวาน การตรวจ ดี ต้องปรับปรุง นํ้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร(มก./ดล.) 80-120 >140 นํ้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชม(มก./ดล.) 80-160 >180 นํ้าตาลเฉลี่ยสะสมHbA1c (%) <7 >8 โคเลสเตอรอลรวม (มก./ดล.) <200 >250 LDL- โคเลสเตอรอล(มก./ดล.)-ตัวไม่ดี <100 >130 HDL- โคเลสเตอรอล (มก./ดล.)-ตัวดี >45 <35 ไตรกลีเซอไรด์(มก./ดล.) <200 >400 ดัชนีมวลกาย (กก./ตารางเมตร) 20-25 >27 ความดันเลือด (มม.ปรอท) 130/85 >160/90 ชนิดา ปโชติการ A1C ~ “นํ้าตาลเฉลี่ยสะสม” American Diabetes Association A1C eAG % mg/dL mmol/L 6 126 7.0 6.5 140 7.8 7 154 8.6 7.5 169 9.4 8 183 10.1 8.5 197 10.9 9 212 11.8 9.5 226 12.6 10 240 13.4 Formula: 28.7 x A1C - 46.7 - eAG ชนิดา ปโชติการ การควบคุมระดับนํ้าตาล • เป้าหมายที่ต้องการคือกินให้ระดับนํ้าตาลขึ้นช้าๆ และไม่ขึ้นสูง อาหารที่ส่งผลต่อการควบคุมระดับ นํ้าตาลมีดังนี้ – ปริมาณ นํ้าตาล ข้าว แป้ง – ปริมาณใยอาหารที่กิน – ปริมาณไขมันจากสัตว์ที่กิน – ความบ่อยครั้งในการกิน
  • 3. 26/02/59 3 ชนิดา ปโชติการ การควบคุมระดับนํ้าตาล กินนํ้าตาล ข้าว แป้งมาก นํ้าตาลในเลือด กินใยอาหารมาก นํ้าตาลในเลือด กินไขมันจากสัตว์มาก นํ้าตาลในเลือด ชนิดา ปโชติการ ไม่ควรกินนํ้าตาลเกิน (10%พลังงาน/วัน) 1 ช ้อนชา = ข ้อนิ้วหัวแม่มือ กินนํ้ามันชนิดดีไม่เกิน 9 ช ้อนชาหรือ 3 ช ้อนโต๊ะต่อวัน กินนํ้าตาลไม่เกิน 6 ช ้อนชาหรือ 2 ช ้อนโต๊ะต่อวัน ที่มา: ศัลยา คงสมบูรณ์เวช ชนิดา ปโชติการ ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล (ช้อนชา) นํ้าส้ม 25% ผสมวุ้นมะพร้าว 400 ซีซี 7 นํ้าส้ม 1 กระป๋ อง 325 ซีซี 7 ½ นํ้าอัดลม 1 กระป๋ อง325 ซีซี 8 ชาเขียว 500 ซีซี 12 กาแฟ 3 in one (26 กรัม) 3 นมเปรี้ยว(รสธรรมดา) 120 ซีซี 3 ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม กองโภชนาการ กรมอนามัยและสถาบันโภชนาการ ม มหิดล ชนิดา ปโชติการ ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล (ช้อนชา) นํ้าขิง 1 ซอง (18 กรัม ) 3 ½ เครื่องดื่มชูกําลัง 100 ซีซี 3 ½ กาแฟ 1 กระป๋ อง 180 กรัม 3 ½ นมถั่วเหลือง250 ซีซี 3 ½ โยเกิร์ตผสมวุ้นมะพร้าว 150 กรัม 4 นมปรุงแต่งรสช็อคโกแลต 200 ซีซี 4 นํ้าผลไม้ (รสส้ม) 240 ซีซี 4 ½ โยเกิร์ตผสมธัญญาพืช 150 กรัม 4 ½ ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม ชนิดา ปโชติการ ปริมาณนํ้าตาลในขนม ชื่อขนม ปริมาณนํ้าตาล (กรัม) (ช้อนชา) ขนมเปียกปูน 1 ชิ้น 10 2 1/2 ข้าวต้มมัดไส้กล้วย 1 ชิ้น 11 2 3/4 ข้าวเหนียวสังขยา 1 ห่อ 19 4 3/4 ข้าวเหนียวหน้าปลาแห้ง 1 ห่อ 22 5 1/2 ขนมทอดหยอด 1 ลูก 5 1 1/4 ขนมเม็ดขนุน 1 เม็ด 3 3/4 ขนมฝอยทอง 1 แพ 13 3 1/4 กองโภชนาการ กรมอนามัยและสถาบันโภชนาการ ม มหิดล ชนิดา ปโชติการ ADI (mg/ kg body wt) นํ้าอัดลม 1 กระป๋ อง (mg) จํานวน นํ้าอัดลมที่ ดื่มแล ้วเกิด อันตราย (ADI for 60-kg person) จํานวน นํ้าตาล เทียมที่กิน แล ้วเป็น อันตราย (mg) จํานวน นํ้าตาล เทียมที่กิน แล ้วเป็น อันตรายเป็น ซอง ADI for 60-kg Acesulfame K 15 40 25 50 18 Aspartame 50 200 15 35 86 Saccharin 5 140 2 40 7.5 Sucralose 5 70 4.5 5 60 นํ้าตาลเทียม
  • 4. 26/02/59 4 ชนิดา ปโชติการ ดัชนีนํ้าตาล (glycemic index) เป็ นตัวเลขบอกปริมาณนํ้าตาลในเลือดที่ เพิ่มขึ้นหลังการรับประทานอาหารแต่ละชนิด เทียบกับการรับประทานนํ้าตาลกลูโคสใน จํานวนคาร์โบไฮเดรตที่เท่ากัน นํ้าตาล กลูโคสมีดัชนีนํ้าตาลเท่ากับ 100% ชนิดา ปโชติการ ดัชนีนํ้าตาล • ดัชนีนํ้าตาลตํ่า = 0-55 • ดัชนีนํ้าตาลปานกลาง = 56-69 • ดัชนีนํ้าตาลสูง = 70-100 ชนิดา ปโชติการ ดัชนีนํ้าตาลของผัก บร๊อคโคลี่ = 10 กระหลํ่าปลี = 10 ผักกาดแก ้ว = 10 เห็ด = 10 หัวหอม = 10 พริกหยวก = 10 ถั่วพีแห้ง = 28 แครอท = 49 ถั่วเม็ดเขียว = 48 ข้าวโพด = 60 ฟักทอง = 75 ชนิดา ปโชติการ ค่าดัชนีนํ้าตาลในผลไม้ • มะม่วงเสวยดิบ (28), • ฝรั่ง (34) • ส ้มสายนํ้าผึ้ง (44) • ลําไย (44), • เงาะ (55),  แตงโมกินรี (58),  มะม่วงนํ้าดอกไม้สุก (64)  มะละกอ (65)  สับปะรด (72) ชนิดา ปโชติการ ดัชนีนํ้าตาลของ อาหารพวกข้าว • ข้าวบาร์เลย์ = 25 ข้าวซ้อมมือ = 55 ข้าวบัสมาติ = 58 ข้าวขาวหัก = 72 ข้าวขาว (ข้าวเจ้า) = 87 ข้าวเหนียว = 98 ดัชนีนํ้าตาลของ นํ้าผลไม้ นํ้ามะเขือเทศ = 38 นํ้าแอปเปิล = 40 นํ้าสับประรด = 46 นํ้าส้ม = 53 ชนิดา ปโชติการ ควรจะกินอย่างไร? •ควรเลือกกินข้าว แป้งที่มีใยอาหารสูง ซึ่งก็คืออาหารประเภท ธัญพืชที่ไม่ได้ ขัดสีต่างๆ เลือกข้าวซ้อมมือแทนข้าว ขัดขาว
  • 5. 26/02/59 5 ชนิดา ปโชติการ ผัก 3 ทัพพี+ ผลไม้ = 2 จานเล็ก ข้าวกล้อง + ถั่ว = 7 ทัพพี ปริมาณใยอาหารที่ควรกิน ชนิดา ปโชติการ กินผลไม้จานเล็กต่อมื้อ 7-8 ชิ้นคํา 7-8 ชิ้นคํา 1/2 ลูก 3-4 ลูก 3-4ลูก 3-4 ลูก 1 จานเล็ก = ชนิดา ปโชติการ ในธรรมชาติ ถ ้าไม่ปรุงอะไรเลยในอาหาร เราจะได ้โซเดียมประมาณ 800-1000 มิลลิกรัม ที่เหลือมาจากการปรุงอาหาร โซเดียมพบได ้ เกลือ เครื่องปรุงรส เช่น นํ้าปลา อาหารเบเกอรี(ผงฟู) อาหารกระป๋ อง(สารกันบูด) จํากัดเกลือโซเดียม 2000 มก/วัน ชนิดา ปโชติการ ปริมาณโซเดียม • เกลือ(โซเดียมคลอไรด์) – 1 ช ้อนชา (ช.ช) 5000มก = โซเดียม 2000 มก – เกลือ มีโซเดียม = 40% • นํ้าปลาและซีอิ๊ว 1ช.ช= โซเดียม 400 มก • ซอสมะเขือเทศ 1 ช.ช = โซเดียม 55 มก • ซอสหอยนางรม 1 ช.ช = โซเดียม 140-160 มก • นํ้าจิ้มไก่1 ช.ช = โซเดียม 67-76 มก • บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป 60 กรัม = โซเดียม 1,500 มก. • โจ๊กกึ่งสําเร็จรูป 42 กรัม = โซเดียม 1,000 มก. • ***สรุปใช ้นํ้าปลาได ้ไม่เกินวันละ 3- 4 ช ้อนชา*** ชนิดา ปโชติการ การปรับพฤติกรรม วิธีการ ประโยชน์ในการลด Systolic blood pressure ลดนํ้าหนัก ควบคุม BMI 18.5-24.9 kg/m2 5-20 mmHg/นน ตัวที่ ลด 10 kg ลด Na ไม่ให้เกินวันละ 100 mmol,Na 2.4 g ( เกลือแกง 6 กรัม หรือ ประมาณ 1 ช้อนชา) 2-8 mmHg เพิ่มผัก ผลไม้ ลด ไขมันอิ่มดัว กินผัก ผลไม้ และนมที่มีไขมันตํ่า, ลดไขมันรวม และ ไขมันอิ่มตัว 8-14 mmHg ออกกําลังกาย ออกกําลังกายแบบแอโรบิคสมํ่าเสมอ เช่น เดินเร็วๆ อย่างน้อยวันละ 30 นาที 4 วัน/สัปดาห์ 4-9 mmHg ดื่ม alcohol พอประมาณ ผู้ชาย No more than 2 drinks/day เบียร์ 720 ml, ไวน์ 300 ml วิสกี้ 90 ml/วัน ผู้หญิงหรือผู้ที่รูปร่างเล็กให้ลดขนาดของ alcohol ลงครึ่งหนึ่ง 2-4 mmHg ควบคุมความดันโลหิต DASH: Dietary Approaches to Stop HT ชนิดา ปโชติการ การแนะนําการลดเค็ม • เปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงรส • ใช ้มะนาว พริก เครื่องเทศปรุงอาหารแทนเกลือหรือ นํ้าปลา • ถ ้าซื้ออาหารกระป๋ องต ้องอ่านสลากอาหารเพื่อดู ปริมาณสารอาหารเลือกที่มีเกลือตํ่า • กินอาหารสด เช่น เนื้อสัตว์ ผัก หรือผลไม ้แทนการ รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร • ไม่เติมเกลือหรือนํ้าปลาเพิ่มในอาหารที่ปรุงเสร็จ
  • 6. 26/02/59 6 ชนิดา ปโชติการ • อาหารตากแห ้ง เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็ม หอยเค็ม กุ้ง แห ้ง ปลาแห ้ง • เนื้อสัตว์ปรุงรส ได ้แก่ หมูหยอง หมูแผ่น กุนเชียง • อาหารกึ่งสําเร็จรูป เช่น บะหมี่สําเร็จรูป โจ๊กซอง ซุป ซอง • อาหารสําเร็จรูป เช่น มันฝรั่งแผ่น อาหรกระป๋ อง • เครื่องปรุงรสที่มีเกลือมากเช่น ซุปก ้อน ผงปรุงรส ผงฟู • อาหารหมักดองเค็ม เช่น กะปิ เต ้าหู้ยี้ ปลาร ้า ไตปลา ไข่เค็ม ผักดอง ผลไม ้ดอง การแนะนําการลดเค็ม ชนิดา ปโชติการ การอ่านฉลาก อ่านฉลากโภชนาการ เลือกอาหารที่มีโซเดียม น้อย นํ้าตาน้อย ควรเลือกอาหารว่างที่ โซเดียม < 100 มิลลิกรัมต่อห่อ ที่มา: เอกหทัย แซ่เตีย ชนิดา ปโชติการ 2 16 11 6 อาหารจานสุขภาพ เครื่องปรุง เลขที่ควรจํา =? 6 ชช นํ้าตาล 6ชช นํ้ามัน 1ชช เกลือ 3-4 ชชนํ้าปลา ผัก ½ จาน ข้าว ¼ จาน เนื้อสัตว์ 4-6 ชต ชนิดา ปโชติการ ปิรามิด เบาหวาน ผัก 4-5 ทัพพี ข้าว แป้ง 4-5 ทัพพี ถั่ว 1-2 การออกกําลังกาย และควบคุมนํ้าหนัก ผลไม้ 4-5 ส่วน นํ้ามันพืช3-4 ช้อนชา ถั่วต่างๆ 1-2ทัพพี ธัญพืช 1-2ทัพพี นํ้า 5-6แก้ว กินวันละเท่าไร เนื้อสัตว์ ปลา ไข่ 2 ส่วน วิตามิน หลีกเลี่ยงอาหารที่หวานจัดลดกินเนื้อแดงและเนย คนไข้ไตต้อง ระวังผัก และผลไม้ที่มี โพแทสเซียมสูง และอาจต้อง จํากัดเนื้อสัตว์ นมพร่องมันเนย1 แก้ว ชนิดา ปโชติการ ชนิดา ปโชติการ ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังที่ ยังไม่ได ้ล ้างไต ไม่เป็นโรคไตเรื้อรัง ผู้ที่ฟอกเลือด ผู้ที่ล ้างไตทางหน้าท ้อง กรองได้ปกติ กรองได้ลดลง ต้องฟอกเลือด หรือล้างไตทางหน้าท้อง เปรียบเทียบการทํางานของไต และบทบาท ของอาหาร กรองได้น้อยมากๆ -ยา+ อาหารที่เหมาะสม -กินอาหารและใช้ยาที่เหมาะสม ถูกต้องทําให้ไตเสื่อมช้าลง -สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง -ป้องกันภาวะแทรกซ้อน-ป้ องกันภาวะแทรกซ้อน -สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง บทบาทของอาหาร ที่มา:กัลยา.กาลสัมฤทธิ์ นักกําหนดอาหาร
  • 7. 26/02/59 7 ชนิดา ปโชติการ ผู้ป่ วยเป็ นโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 3b หรือมากกว่า • ควรจํากัดปริมาณโปรตีน(0.6-0.8 กรัม/นนตัว 1 กก/วัน • ติดตามปริมาณนํ้าและเกลือแร่โดยเฉพาะ ระดับ โพแทสเซียม ฟอสฟอรัสในเลือด • ระดับของพลังงานควรจะประมาณ 35 กิโล แคลอรี่ /นํ้าหนักตัว 1 กก /วันใน ผู้ป่ วยที่อายุ น้อยกว่า 60 ปี และ 30 กิโลแคลอรี่ ในผู้ป่ วยที่ อายุมากกว่า 60 ปี ชนิดา ปโชติการ เป้ าหมายในการจัดการด้านโภชนาการ •ชะลอการเสื่อมของไต •ลดอาการยูรีเมีย •ลดความผิดปกติของขบวนการเมตาบอริกซึม •รักษาสมดุลย์ของ fluid และ electrolyte •ผู้ป่ วยอยู่อย่างมีคุณภาพชีวิต ชนิดา ปโชติการ จะจัดอาหารได้อย่างไร? 1. ประเมินความต ้องการโปรตีนและพลังงานให ้ เหมาะกับนํ้าหนักตัวและระยะของการเป็นโรคไต เรื้อรัง 2. วางแผนสัดส่วนอาหาร 5 หมู่ตามความต ้องการ 3. ให ้ความรู้โดยการเอื้ออํานาจให ้ผู้ป่ วย (empowerment) 4. ติดตามและประเมิน 5. ให ้ความรู้เพิ่มเติม ชนิดา ปโชติการ ปริมาณโปรตีน กรัม/ นํ้าหนักตัว 1 กก/วัน ระยะของการเป็ นโรคไตเรื้อรัง โปรตีน 0.8-1.0 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 โปรตีน 0.6-0.8 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 โปรตีน 0.3-0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 โปรตีน 0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน** ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 โปรตีน 1.0-1.5 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผู้ป่วยที่รับการบบัดทดแทนไต ปริมาณโปรตีนที่ต้องการในผู้ป่ วยไตเรื้อรังระยะต่างๆ ที่มา: สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย 2553 ชนิดา ปโชติการ พลังงานที่ต้องการ • อายุ > 60 ปี = 30 kcal /นนตัว 1 kg/day • อายุ < 60 ปี = 35 kcal /นนตัว 1 kg/day • ถ ้าอ ้วน = 20-25 kcal /นนตัว 1 kg/day • ถ ้าผอมมาก = 35-40 kcal /นนตัว 1 kg/day NKF-K/DOQI, 2002 ชนิดา ปโชติการ ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ(คนปกติ) ตัวอย่าง • นํ้าหนัก 60 กิโลกรัม อายุ 65 ปี • โปรตีนที่ควรกิน = 0.8 กรัมต่อนํ้าหนัก ตัว 1 กิโลกรัม • ควรกินโปรตีน 0.8 x 60 = 48 กรัมต่อ วัน • พลังงาน =60 X 30 =1800 แคลลอรี
  • 8. 26/02/59 8 ชนิดา ปโชติการ ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับเมื่อไตเสื่อม ระยะที่ 3bและมากกว่า • นํ้าหนัก 60 กิโลกรัม • โปรตีนที่ควรกิน = 0.6-0.8 กรัมต่อ นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม • ควรกินโปรตีน 0.6 x 60 = 36 กรัมต่อวัน • พลังงาน =60 X 30 =1800 แคลลอรี ชนิดา ปโชติการ อาหารที่ผู้ป่ วยรายนี้ควรได้รับ • โปรตีน 36-40 กรัมต่อวัน 1800 แคลลอรี 2 กรัม sodium • แปลเป็ นอาหารโรคไตเรื้อรังได้ อย่างไร? ชนิดา ปโชติการ ชนิดา ปโชติการ สื่อการสอน Food Model ที่มา: สมาคมนักกําหนดอาหารแห่งประเทศไทย สมาคมนักกําหนดอาหารแห่งประเทศไทย ชนิดา ปโชติการ จําง่ายๆโปรตีนและพลังงานในอาหาร โปรตีน พลังงานเฉลี่ย 7 70 1 1/2 25 70 2 70 ชนิดา ปโชติการ โปรตีนและพลังงานในอาหาร โปรตีน พลังงาน 0 45 0 20 นํ้ามัน 1 ช้อนชา นํ้าตาล 1 ช้อนชา
  • 9. 26/02/59 9 ชนิดา ปโชติการ 2 ชต4 ชต 2 2 3ทัพพี (3) 1 1 2 จานเล็ก (1) 1 1 3 ทัพพี 1 แผนการบริโภค40 กรัมโปรตีน พลังงาน1600Cal 10 ชช 3 3 4 แป้ง เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ แป้งปลอด ไขมัน หมู่อาหาร เช้า กลางวัน เย็น 1 1 2 ชต จํานวนส่วน (โปรตีน) 4ทัพพี (8) 1 8 ชต(28) - นํ้าตาล* 6 ชช 2 2 2 *ถ้าไม่เป็นเบาหวาน ถ้าเป็นเบาหวานใช้แป้งปลอดโปรตีนแทน) ชนิดา ปโชติการ ผลไม้ 1 จาน เล็ก 1 2 4 3 1 แก้ว ส่วนที่ 1 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหารหมวดข้าว แป้ ง ส่วนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหารหมวดเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ส่วนที่ 3และ4 หมายถึง ½ ของจานเป็ นอาหารหมวดผัก การจัดอาหารผู้ป่ วยไตเรื้อรังอย่างง่าย แบ่งจานอาหารขนาดมาตรฐาน 9 นิ้วออกเป็ น 4 ส่วน ชนิดา ปโชติการ ส่วนที่1 จัดอาหารลงจานตามส่วน ผู้ป่ วยควรได้รับพลังงานให้เพียงพอ เพื่อป้ องกัน โปรตีนถูกดึงไปใช้เป็ นพลังงานทําให้เกิดภาวะขาด อาหารได้ ควรบริโภคข้าว แป้ งที่มีดัชนีนํ้าตาลตํ่า อย่างน้อยมื้อละ 2 ทัพพี หลีกเลี่ยงแป้ งที่มีส่วนผสม ของผงฟู เช่น ขนมปัง เบเกอรี ชนิดา ปโชติการ ข้าวแป้ งที่มีฟอสฟอรัสสูง • หมวดข้าว แป้ ง ขนมปัง: • ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีด เบ เกอรี่ • ควรหลีกเลี่ยงเมื่อมีระดับ ฟอสฟอรัสในเลือดสูง ชนิดา ปโชติการ • ส่วนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหาร หมวดเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ • เลือกกิน ปลา เนื้อไก่ เนื้อหมู ไข่ขาว โดย กิน มื้อละ กี่ช้อนโต๊ะ (ขึ้นกับนนํ้าหนักตัว) และระยะของการเป็ นโรคไต ส่วนที่ 2 ชนิดา ปโชติการ ปริมาณ EPA & DHA : เนื้อปลานํ้าจืดไทย (% นําหนัก/นํ้าหนักของกรดไขมันทั้งหมด) ปลานํ้าจืด EPA DHA ปลาช่อน 1.77 5.48 ปลาดุกด ้าน 0.68 5.56 ปลานิล 2.66 7.19 ปลาสลิด 3.39 7.45 ปลากดเหลือง 1.44 7.54 ปลาหมอไทย 2.01 7.77 ปลาเนื้ออ่อน 2.59 9.32 ปลากราย 2.54 13.55 ปริมาณ EPA & DHA : เนื้อปลาทะเลไทย (% นําหนัก/นํ้าหนักของกรดไขมันทั้งหมด) ปลาทะเล EPA DHA ปลากะพงขาว 2.96 18.72 ปลาจาละเม็ดดํา 3.23 19.35 ปลาตาเดียว 1.72 22.77 ปลาช่อนทะเล 1.57 23.36 ปลากระพงแดง 1.97 23.80 ปลาทูแขก 2.66 25.57 ปลาโอลาย 1.18 33.55 ปลาดาบลาว 1.02 36.28 ปลาในไทยที่มี นํ้ามันปลาโอเมก ้า-3
  • 10. 26/02/59 10 ชนิดา ปโชติการ ทําอย่างไรถ้าต้องกินโปรตีนตํ่า แต่แอลบูลมินตํ่า •เพิ่มพลังงานโดย เพิ่มเมนู จากแป้ งปลอด •ดัดแปลงเมนูจากไข่ขาว ชนิดา ปโชติการ ใช้แป้ งโปรตีนตํ่าในการเพิ่มพลังงานแต่ ไม่เพิ่มโปรตีน 1 ทัพพีให้โปรตีนน้อย ให้พลังงาน = 70 แคลอรี •วุ้นเส้น •แป้งมัน •สาคู •เส้นเซี่ยงไฮ้ ชนิดา ปโชติการ • ส่วนที่ 3 และ 4 หมายถึง ½ ของจานเป็ นอาหาร หมวดผัก • ควรเลือกกินผักสุกมื้อละ 2 ทัพพี • ควรเลือกกินผักสีอ่อนๆ เช่น บวบเหลี่ยม แตงกวา (เอาเมล็ดออก) แตงร้าน ฟักเขียว หอมหัวใหญ่ ผักกาดขาว พริกหวาน • หลีกเลี่ยงการกินผักที่มีโพแทสเซียมสูงเมื่อระดับ โพแทสเซียมเกิน 5.5 mg/dl เห็ดโคน ผักโขม ชะอม หน่อไม้ฝรั่ง มันเทศ มันฝรั่ง มะเขือเทศ บร็อคโคลี่ แครอทดิบ ส่วนที่ 3-4 ชนิดา ปโชติการ • ควรเลือกผลไม้วันละ 1-2 จานเล็ก • 1จานเล็ก = ผลไม้ 8-10 ชิ้นคําหรือผลไม้ขนาด กลาง 4 ผลหรือ ผลไม้ขนาดใหญ่ 1 ผล • เลือกกินผลไม้ที่มีโพแทสเซียมตํ่าและปานกลาง ได้แก่ ชมพู่ เงาะ สับปะรด มังคุด องุ่นเขียว • ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง ได้แก่ ทุเรียน กล้วย ลําไย น้อยหน่า ขนุน มะเฟือง แคนตาลูป และ ผลไม้แห้ง ผลไม้ ชนิดา ปโชติการ พลังงาน • แหล่งของพลังงานส่วนใหญ่มาจาการกิน ข้าว แป้ งปลอดโปรตีน นํ้าตาลและนํ้ามัน • พลังงานที่ผู้ป่ วยควรจะได้รับขึ้นอยู่กับ ผู้ป่ วยแต่ละราย • ควรได้รับพลังงานจากอาหารให้เพียงพอ ในแต่ละวันเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดภาวะ กล้ามเนื้อลีบ • ชนิดของไขมันส่วนใหญ่ ควรเป็ นไขมันดี (ไขมันไม่อิ่มตัว) ชนิดา ปโชติการ นํ้ามันที่ควรใช้ในการประกอบอาหาร • นํ้ามันปาล์มไว้ทอด • นํ้ามันรําข้าว นํ้ามันดอกทานตะวัน นํ้ามัน ถั่วเหลือง ใช้สลับกันในการผัด • หลีกเลี่ยงไขมันทรานซ์(เนยขาว) ที่มา: เชาวลิต รัตนกุล
  • 11. 26/02/59 11 ชนิดา ปโชติการ นํ้า ผู้เป็ นโรคไตดื่มนํ้าได้เท่าไร? • ขึ้นกับปริมาตรของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อ วัน – วันละประมาณ 500-1,000 ซี.ซี. + ปริมาตร ของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อวัน – แต่ถ้าปัสสาวะได้น้อยกว่า 500 มิลลิลิตร/ วัน ควรจํากัดนํ้าให้เหลือ 750-1,000 มิลลิลิตร/วัน ชนิดา ปโชติการ เครื่องดื่ม • หลีกเลี่ยง นมเปรี้ยวพร ้อมดื่ม ไอศกรีม เนย หลีกเลี่ยงนํ้าอัดลมสีเข ้ม ชา กาแฟที่ มีรสแก่จัด ช ้อคโกและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ • ปริมาณ= ปริมาตรของปัสสาวะ 24 ชม. + 500 cc 1 แก้ว ชนิดา ปโชติการ กินอาหารปลอดภัย อาหารสด อาหารพร้อมปรุง อาหารสําเร็จรูป ชนิดา ปโชติการ การประเมินโดยใช ้EDA ชนิดา ปโชติการ © Copyright Fresenius Kabi AG • Objective: To be used as a communication tool to educate people about dietary recommendation for pre-dialysis CKD patient. • Design: Educational Website for free downloading educational materials such as Handbook (PDF) and Web Board for asking questions.Websites: www.raktai.org www.nephrochula.com www.nephrothai.org www.thaidietetics.org Communication Channel ชนิดา ปโชติการ สรป • การดูแลโภชนาการในผู้ที่ที่มีภาวะไตเรื้อรังต้อง ประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพที่ทํางานสัมพันธ์ กัน ทราบหน้าที่และบทบาทของกันและกันและ ร่วมกันทํางานเป็ นทีม • ให้ความรู้และคําปรึกษาด้านโภชนบําบัดที่ ถูกต้องและเหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต ของผู้ป่ วย จะช่วยชะลอการเสื่อมของไตใน ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง