SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
RENAL FAILURE<br />ไต มี 2 ข้าง คล้ายรูปถั่ว ขนาดในผู้ใหญ่ ~10-13 ซ . ม . ตำแหน่งอยู่ด้านหลัง บริเวณบั้นเอว ทั้งสองข้าง<br />โดยสรุปหน้าที่ของไตจึงมีทั้งหมดดังนี้คือ<br />ขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหาร รวมทั้งสารพิษต่างๆที่ร่างกาย ได้รับออกมาเป็นปัสสาวะ<br />ขับน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย<br />ควบคุมดุลย์ของน้ำและเกลือแร่ที่สำคัญให้อยู่ในภาวะปกติเสมอ<br />ช่วยสร้างฮอร์โมนที่มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง<br />ช่วยสร้าง วิตามินดี -3 ชนิดแอคทีพ ซึ่งมีผลต่อการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟต<br />ไต<br />โรคไตวาย คือ ภาวะที่ไตทำงานผิดปกติ<br />ไตจะทำหน้าที่หลัก 3 ประการ<br />1. ขับของเสียอันเกิดจากเผาผลาญอาหารประเภทโปรตีน<br />( มีมากในเนื้อสัตว์และอาหารจำพวกถั่ว )<br />ซึ่งของเสยประเภทนี้ได้แก่ ยูเรีย ครีเอตินา กรดยูริค<br />และสารประกอบไนโตรเจนอื่นๆ หากของเสียประเภทนี้<br />คลั่งอยู่ในร่างกายมากเรียกว่า ภาวะยูรีเมีย<br />ซึ่งมักมีอาการสะอึก คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ผิวแห้ง<br />อาจมีหัวใจวายหรือเจ็บหน้าอกจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ<br />หากไม่รักษาจะซึม ชัก หมดสติ และเสียชีวิตได้<br />2. ควบคุมปริมาณน้ำและเกลือแร่ส่วนที่เกินความจำเป็น<br />จะถูกขับออกทางปัสสาวะเช่นโซเดียม โปตัสเซียม<br />แคลเซียม ฟอสฟอรัส<br />3. ผลิตและควบคุมการทำงานของฮอร์โมนเช่นฮอร์โมนที่<br />ควบคุมปริมาณของแคลเซียม ฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้าง<br />เม็ดเลือดแดง ดังนั้นหากไตมีความบกพร่องมากๆผู้ป่วยอาจมีโรคโลหิตจางหรือกระดูกพรุน<br />ภาวะไตวาย<br />คือภาวะที่มีการทำงานของไตลดลง จนเกิดมีการคั่งของของเสียประเภทยูเรียไนโตรเจน และของเสียอื่นๆเกิดขึ้น<br />รู้ได้ด้วยการวัดค่าของเสียเหล่านี้คือค่า BUN และค่า Cr ถ้าทั้งสองตัวมีค่าสูงกว่าปกติ โดยไม่ใช่เกิดจากยาหรือภาวะบางอย่าง โดยทั่วไปจะถือว่า มีภาวะไตวายเกิดขึ้น<br />ไตวายอาจจะเป็นแบบที่มีปัสสาวะมาก คือมากกว่า 400 มิลลิลิตรต่อวัน หรือแบบมีปัสสาวะน้อย คือน้อยกว่า 400 มิลลิลิตรต่อวันก็ได้<br />ในทางการแพทย์แบ่งไตวายเป็น 2 แบบคือ<br />ไตวายฉับพลัน<br />ไตวายเรื้อรัง<br />ไตวายฉับพลัน คือมีการทำงานของไตเป็นเวลารวดเร็วเพียงไม่กี่ชั่วโมงหรือไม่กี่วัน ถ้ารักษาถูกต้องจะกลับสู่ภาวะปกติเวลาประมาณ 3 วัน<br />ในภาวะไตวายฉับพลัน เรียกว่า Pre renal หมายถึงไตวายจากการที่เลือดไปเลี้ยงไตลดลง เช่นมีภาวะเสียเลือด shock ทำให้ความสามารถในการขับของเสียลดลง มีปัสสาวะออกน้อยแต่เนื่องจากยังไม่มีการทำลายเนื้อไต ถ้ารักษาด้วยการให้สารน้ำให้เพียงพอและแก้ไขภาวะเลือดไปเลี้ยงไตลดลงนี้ได้ ไตจะกลับเป็นปกติในเวลาเพียง 24-72 ชม . และมีปัสสาวะออกตามปกติ แต่ถ้ารักษาไม่ทันมีการทำลายของท่อไต แม้จะให้น้ำทัน ไม่สามารถเพิ่มปัสสาวะได้ และอาจทำให้ไตปกติได้ในช่วงสั้นแต่ถ้ารักษาได้ดีและไตไม่เสียหายรุนแรง ก็อาจหายเป็นปกติได้ในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ถึง 3 เดือน ถ้าเกิน 3 เดือนไปแล้วยังไม่ปกติถือว่ามีภาวะไตวายเรื้อรัง<br />สาเหตุ - ภาวะขาดเลือดไปเลี้องไต ได้ยาหรือสารพิษต่อไต HT&DM รักษาไม่เหมาะสม<br />ภาวะไตอักเสบ มีการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ<br />ไตวายเรื้อรัง<br />สาเหตุ<br />ที่พบบ่อยในประเทศไทยคือ DM ,HT ,DLP<br />โรคดังกล่าวถ้าได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง ไม่สามารถ<br />ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่<br />ในเกณฑ์ปกติโรคนี้ในระยะยาวจะส่งผลทำให้เกิดภาวะ<br />ไตวายเรื้องรังได้ ระดับน้ำในเลือดสูงมีผลต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน ยิ่งน้ำตาลในเลือดสูงมากยิ่งมีโอกาสเกิด<br />โรคแทรกซ้อนได้มากความดันโลหิตสูงและภาวะไขมันใน<br />เลือดสูงเป็นปัจจัยช่วยสนับสนุนให้เกิดโรคแทรกซ้อน<br />ทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน ทำให้เกิดอาการเร็วขึ้นรุนแรง<br />มากขึ้น<br />ส่วนภาวะที่พบรองลงมาได้แก่โรคไตอักเสบเรื้อรัง<br />โรคนิ่วไต หรือการใช้ยาบางชนิดที่มีพิษต่อไต โดยเฉพาะ<br />ยาแก้ปวดหากซื้อยากินเองเป็นระยะเวลานาน<br />อาการ<br />1. อาการของโรคไตเรื้อรังในระยะแรกนั้น ของเสียในเลือดอาจจะไม่ได้อยู่ในระดับที่สูง เพราะฉะนั้นผู้ป่วยอาจะไม่มีอาการผิดปกติ แต่ถ้ามีของเสียในร่างกายสูงอาจจะมีอาการผิดปกติเช่น บวมบริเวณใบหน้า ตาหรือขา ปัสสาวะผิดปกติเช่น ลุกมาปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน<br />2. เมื่อเกิดภาวะไตวาย การทำงานของไตจะดน้อยลง จนเกิดการคลั่งของของเสียประเภทยูเรีย ไนโตรเจน และของเสียอื่นๆ<br />ไตอาจจะเป็นแบบที่มีปัสสวะมาก คือ มากกว่า 400ml/day<br />หรือแบบมีปัสสาวะน้อยคือ น้อยกว่า 400ml/day<br />3. ถ้ามีปัสสาวะน้อยผู้ป่วยมักจะบวมเหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้จากการมีสารน้ำคั่งจนหัวใจวาย แต่ถ้าเป็นไตวายแบบมีปัสสาวะมากผู้ป่วยจะไม่เหนื่อยหอบ<br />มากนัก<br />การวินิจฉัย<br />สามารถวินิจฉัยได้จากลักษณะประวัติอาการ การตรวจ<br />ร่างกายอย่างละเอียด ร่วมกับการตรวจเลือดเพื่อ<br />ประเมินการทำหน้าที่ของไต<br />การวินิจฉัยหาสาเหตุที่ทำให้ไตวายจะช่วยในการวาง<br />แผนการรักษาระยะยาวได้เป็นอย่างดี<br />LAB INVESTIGATION<br /> 5-10 mg/dlLab : BUN (Blood Urea Nitrogen) <br /> 0.5-1.5 mg/dl: Cr (Creatinin) <br />BUN/Cr เป็นของเสียที่เกิดจากการทำลายโปรตีนในร่างกาย<br />:creatinin clearance คือหา Cr ที่ขับออกมาจากปัสสาวะ 24 hrs<br />เทียบกับ Cr ในเลือดทำให้ทราบถึงเลือดที่ผ่านการกรองโดยไต<br />ที่ปริมาณกี่ ml/min ค่าปกติไตจะกรองเลือด 100-200 ml/min<br />ถ้าไตเสื่อมลง 50% ไตจะกรองเลือดได้เพียง 50-60 ml/min<br />: UA – Sp.gr ไตเสื่อมไม่สามารถทำให้ปัสสาวะเข้มข้นได้<br />เพราะฉะนั้นค่า Sp.gr < 1.015<br />- ความเป็นกรดด่าง ไตเสื่อมจะขับกรดออกได้น้อย<br />ดังนั้นปัสสาวะจะเป็นด่างมากกว่าปกติ<br />- โปรตีนหรือไข่ขาว ในปัสสาวะปกติจะมีปริมาณน้อยมากจนตรวจไม่พบคือใน 24 hrs จะมีโปรตีนออกมาน้อยกว่า 150 mg ถ้ามากกว่า 150 mg บอกถึงภาวะไตอักเสบหรือมีการรั่วหรือการดูดกลับบกพร่อง<br />- เม็ดเลือดขาว แสดงถึงการมีภาวะการอักเสบ<br />- เม็ดเลือดแดง แสดงถึงภาวะนิ่ว<br />Ultrasound<br />x-ray<br />การรักษา<br />ข้อควรปฏบัติคือ ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ตามคำแนะนำ<br />ของแพท์อย่างเคร่งครัด<br />1. การรักษาในระยะแรก ส่วนใหญ่จะเป็นการรักษา<br />ด้วยยา จุดประสงค์การรักษาด้วยยาไม่ใช่การรักษาให้<br />เนื้อไตที่เสียไปแล้วกลับสภาพทำงานได้ แต่เพื่อรักษา<br />ปัจจัยต่างๆที่จะทำให้ไตนั้นเสื่อมสภาพลง เช่น<br />ควบคุมความดันโลหิต ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญมาก<br />ถ้าควบคุมความดันให้อยู่ในระดับปกติ จะสามารถชลอ<br />ไม่ให้ไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว<br />2. การล้างไตทางหน้าท้อง ( CAPD : Continous Abdominal Peritoneal Dialysis)<br />3. การฟอกเลือดโดยใช้เครื่องไตเทียม (BUN>100mg/dl,Cr>10mg/dl)<br />4. การผ่าตัดเปลี่ยนไต ผู้ป่วยจำเป็นต้องทานยากดภูมิ<br />ต้านทานตลอดชีวิต ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ<br />การป้องกัน<br />คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย<br />1. การดูแลตนเองที่ดีจะช่วยให้ไตเสื่อมสมรรถภาพได้<br />ช้าลง อาการเริ่มแรกที่บ่งชี้ว่าอาจเป็นโรคในระบบ<br />ทางเดินปัสสาวะ ได้แก่อาการบวมที่หน้า หรือเท้า<br />ปัสสาวะเป็นสีคล้ำ สีน้ำล้างเนื้อ หรือเป็นเลือด<br />ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะในเวลากลางคืนมากกว่า 3 ครั้ง<br />ปวดบริเวณหลัง ชายโครง ปวดหรือเวียนศรีษะ<br />2. นอกจากนี้ควรตรวจเช็คดูว่าเป็นความดันโลหิตสูง<br />เบาหวานและโรคเกาต์ หรือไม่ ถ้าเป็นต้องรักษาอย่าง<br />จริงจังและต่อเนื่อง<br />3. อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไต<br />3.1 อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในระยะ<br />เริ่มแรกถึงระยะรุนแรง ( มีค่า Cr 2-8 )<br />อาหารจำกัดโปรตีน<br />คำว่าจำกัดในที่นี้หมายถึง ให้รับประทานแต่น้อย<br />แต่ไม่ได้ห้ามให้รับประทาน คือให้รับประทานได้<br />วันละ 20-25 gm นั่นคือเนื้อสัตว์ ~4 ชต . หรือ<br />หมูย่าง ~ 4 ไม้ ต้องใช้ควบคู่กับการรับประทาน<br />คู่เหมือนของกรดอะมิโนจำเป็น KA (ketoanalogue<br />Of essential amino acid)<br />หรือกรดอะมิโนจำเป็น EAA(essential amino acid)<br />อาหารที่มีโปรตีนสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ ( วัว หมู ปลา )<br />เครื่องในสัตว์ ไข่ นม ถั่ว<br />อาหารจำกัดโซเดียม<br />ใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการบวม ปัสสาวะน้อย หัวใจวาย<br />น้ำท่วมปอด หรือความดันโลหิตสูง<br />อาหารที่มีโซเดียมสูง ได้แก่ เกลือป่น เกลือเม็ด<br />น้ำปลา น้ำบูดู ซอสหอย อาหารดองเค็ม ดองเปรี้ยว<br />อาหารที่มีรสหวานและเค็มจัดเช่น ปลาหวาน<br />อาหารจำกัดโปตัสเซียม<br />อาหารที่มีโปตัสเซียมสูง เช่น เนื้อสัตว์<br />ผัก ได้แก่ หัวผักกาดสีแสด ผักชี ผักที่มีสีเขียวเข้ม<br />ผลไม้ ได้แก่กล้วย ส้ม แตงโม แตงหอม มะละกอ<br />ผลไม้แห้งทุกชนิด เช่น ลูกเกด ลูกพรุน<br />หากผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังขั้นรุนแรงต้องจำกัดปริมาณน้ำดื่ม<br />ปริมาณน้ำดื่มแต่ละวัน = ปริมาณปัสสาวะของเมื่อวาน +500ml<br />3.2 อาหารสำหรับผู้ป่วยเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่อง<br />ไตเทียม<br />อาหารโปรตีนต่ำ 40gm/day ร่วมกับเสริม<br />กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด<br />พยายามใช้ไข่ขาวและปลาเป็นแหล่งโปรตีน<br />หลีกเลี่ยงเครื่องในสัตว์<br />งดอาหารเค็มจำกัดน้ำ<br />งดผลไม้ ยกเว้นเช้าวันฟอกเลือด<br />งดอาหารที่มีฟอสเฟตสูง เช่น เมล็ดพืช นมสด เนย<br />ไข่แดง<br />รับประทานวิตามินบีรวม ซี และกรดโฟลิค<br />
Renal failure
Renal failure
Renal failure
Renal failure
Renal failure
Renal failure
Renal failure
Renal failure
Renal failure

More Related Content

What's hot

5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood programTHANAKORN
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD BrochurePha C
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 

What's hot (20)

สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood program
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 

Viewers also liked

โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisNew Srsn
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
CKD Epidemic Investigation Steps
CKD Epidemic Investigation StepsCKD Epidemic Investigation Steps
CKD Epidemic Investigation StepsRajesh Ludam
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุJit Khasana
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology,
Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology, Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology,
Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology, Dee Evardone
 
Chronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. Gawad
Chronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. GawadChronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. Gawad
Chronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. GawadNephroTube - Dr.Gawad
 

Viewers also liked (17)

โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritis
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
CKD Epidemic Investigation Steps
CKD Epidemic Investigation StepsCKD Epidemic Investigation Steps
CKD Epidemic Investigation Steps
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุ
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology,
Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology, Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology,
Chronic Kidney Disease, CKD, Nephrology,
 
Chronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. Gawad
Chronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. GawadChronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. Gawad
Chronic Kidney Disease (CKD) - At a Glance - Dr. Gawad
 

Similar to Renal failure

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5
การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5
การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5ssuser220d27
 
โรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอลโรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอล1234_
 
Gastrointestinal disease.doc review
Gastrointestinal disease.doc  reviewGastrointestinal disease.doc  review
Gastrointestinal disease.doc reviewNarupon Sonsak
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
9789740329213
97897403292139789740329213
9789740329213CUPress
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 

Similar to Renal failure (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
Enzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee PaoEnzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee Pao
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
Dm
DmDm
Dm
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5
การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5
การดูแลระบบปัสสาวะ ม.5
 
โรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอลโรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอล
 
Gastrointestinal disease.doc review
Gastrointestinal disease.doc  reviewGastrointestinal disease.doc  review
Gastrointestinal disease.doc review
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
9789740329213
97897403292139789740329213
9789740329213
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 

Renal failure

  • 1. RENAL FAILURE<br />ไต มี 2 ข้าง คล้ายรูปถั่ว ขนาดในผู้ใหญ่ ~10-13 ซ . ม . ตำแหน่งอยู่ด้านหลัง บริเวณบั้นเอว ทั้งสองข้าง<br />โดยสรุปหน้าที่ของไตจึงมีทั้งหมดดังนี้คือ<br />ขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหาร รวมทั้งสารพิษต่างๆที่ร่างกาย ได้รับออกมาเป็นปัสสาวะ<br />ขับน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย<br />ควบคุมดุลย์ของน้ำและเกลือแร่ที่สำคัญให้อยู่ในภาวะปกติเสมอ<br />ช่วยสร้างฮอร์โมนที่มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง<br />ช่วยสร้าง วิตามินดี -3 ชนิดแอคทีพ ซึ่งมีผลต่อการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟต<br />ไต<br />โรคไตวาย คือ ภาวะที่ไตทำงานผิดปกติ<br />ไตจะทำหน้าที่หลัก 3 ประการ<br />1. ขับของเสียอันเกิดจากเผาผลาญอาหารประเภทโปรตีน<br />( มีมากในเนื้อสัตว์และอาหารจำพวกถั่ว )<br />ซึ่งของเสยประเภทนี้ได้แก่ ยูเรีย ครีเอตินา กรดยูริค<br />และสารประกอบไนโตรเจนอื่นๆ หากของเสียประเภทนี้<br />คลั่งอยู่ในร่างกายมากเรียกว่า ภาวะยูรีเมีย<br />ซึ่งมักมีอาการสะอึก คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ผิวแห้ง<br />อาจมีหัวใจวายหรือเจ็บหน้าอกจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ<br />หากไม่รักษาจะซึม ชัก หมดสติ และเสียชีวิตได้<br />2. ควบคุมปริมาณน้ำและเกลือแร่ส่วนที่เกินความจำเป็น<br />จะถูกขับออกทางปัสสาวะเช่นโซเดียม โปตัสเซียม<br />แคลเซียม ฟอสฟอรัส<br />3. ผลิตและควบคุมการทำงานของฮอร์โมนเช่นฮอร์โมนที่<br />ควบคุมปริมาณของแคลเซียม ฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้าง<br />เม็ดเลือดแดง ดังนั้นหากไตมีความบกพร่องมากๆผู้ป่วยอาจมีโรคโลหิตจางหรือกระดูกพรุน<br />ภาวะไตวาย<br />คือภาวะที่มีการทำงานของไตลดลง จนเกิดมีการคั่งของของเสียประเภทยูเรียไนโตรเจน และของเสียอื่นๆเกิดขึ้น<br />รู้ได้ด้วยการวัดค่าของเสียเหล่านี้คือค่า BUN และค่า Cr ถ้าทั้งสองตัวมีค่าสูงกว่าปกติ โดยไม่ใช่เกิดจากยาหรือภาวะบางอย่าง โดยทั่วไปจะถือว่า มีภาวะไตวายเกิดขึ้น<br />ไตวายอาจจะเป็นแบบที่มีปัสสาวะมาก คือมากกว่า 400 มิลลิลิตรต่อวัน หรือแบบมีปัสสาวะน้อย คือน้อยกว่า 400 มิลลิลิตรต่อวันก็ได้<br />ในทางการแพทย์แบ่งไตวายเป็น 2 แบบคือ<br />ไตวายฉับพลัน<br />ไตวายเรื้อรัง<br />ไตวายฉับพลัน คือมีการทำงานของไตเป็นเวลารวดเร็วเพียงไม่กี่ชั่วโมงหรือไม่กี่วัน ถ้ารักษาถูกต้องจะกลับสู่ภาวะปกติเวลาประมาณ 3 วัน<br />ในภาวะไตวายฉับพลัน เรียกว่า Pre renal หมายถึงไตวายจากการที่เลือดไปเลี้ยงไตลดลง เช่นมีภาวะเสียเลือด shock ทำให้ความสามารถในการขับของเสียลดลง มีปัสสาวะออกน้อยแต่เนื่องจากยังไม่มีการทำลายเนื้อไต ถ้ารักษาด้วยการให้สารน้ำให้เพียงพอและแก้ไขภาวะเลือดไปเลี้ยงไตลดลงนี้ได้ ไตจะกลับเป็นปกติในเวลาเพียง 24-72 ชม . และมีปัสสาวะออกตามปกติ แต่ถ้ารักษาไม่ทันมีการทำลายของท่อไต แม้จะให้น้ำทัน ไม่สามารถเพิ่มปัสสาวะได้ และอาจทำให้ไตปกติได้ในช่วงสั้นแต่ถ้ารักษาได้ดีและไตไม่เสียหายรุนแรง ก็อาจหายเป็นปกติได้ในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ถึง 3 เดือน ถ้าเกิน 3 เดือนไปแล้วยังไม่ปกติถือว่ามีภาวะไตวายเรื้อรัง<br />สาเหตุ - ภาวะขาดเลือดไปเลี้องไต ได้ยาหรือสารพิษต่อไต HT&DM รักษาไม่เหมาะสม<br />ภาวะไตอักเสบ มีการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ<br />ไตวายเรื้อรัง<br />สาเหตุ<br />ที่พบบ่อยในประเทศไทยคือ DM ,HT ,DLP<br />โรคดังกล่าวถ้าได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง ไม่สามารถ<br />ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่<br />ในเกณฑ์ปกติโรคนี้ในระยะยาวจะส่งผลทำให้เกิดภาวะ<br />ไตวายเรื้องรังได้ ระดับน้ำในเลือดสูงมีผลต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน ยิ่งน้ำตาลในเลือดสูงมากยิ่งมีโอกาสเกิด<br />โรคแทรกซ้อนได้มากความดันโลหิตสูงและภาวะไขมันใน<br />เลือดสูงเป็นปัจจัยช่วยสนับสนุนให้เกิดโรคแทรกซ้อน<br />ทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน ทำให้เกิดอาการเร็วขึ้นรุนแรง<br />มากขึ้น<br />ส่วนภาวะที่พบรองลงมาได้แก่โรคไตอักเสบเรื้อรัง<br />โรคนิ่วไต หรือการใช้ยาบางชนิดที่มีพิษต่อไต โดยเฉพาะ<br />ยาแก้ปวดหากซื้อยากินเองเป็นระยะเวลานาน<br />อาการ<br />1. อาการของโรคไตเรื้อรังในระยะแรกนั้น ของเสียในเลือดอาจจะไม่ได้อยู่ในระดับที่สูง เพราะฉะนั้นผู้ป่วยอาจะไม่มีอาการผิดปกติ แต่ถ้ามีของเสียในร่างกายสูงอาจจะมีอาการผิดปกติเช่น บวมบริเวณใบหน้า ตาหรือขา ปัสสาวะผิดปกติเช่น ลุกมาปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน<br />2. เมื่อเกิดภาวะไตวาย การทำงานของไตจะดน้อยลง จนเกิดการคลั่งของของเสียประเภทยูเรีย ไนโตรเจน และของเสียอื่นๆ<br />ไตอาจจะเป็นแบบที่มีปัสสวะมาก คือ มากกว่า 400ml/day<br />หรือแบบมีปัสสาวะน้อยคือ น้อยกว่า 400ml/day<br />3. ถ้ามีปัสสาวะน้อยผู้ป่วยมักจะบวมเหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้จากการมีสารน้ำคั่งจนหัวใจวาย แต่ถ้าเป็นไตวายแบบมีปัสสาวะมากผู้ป่วยจะไม่เหนื่อยหอบ<br />มากนัก<br />การวินิจฉัย<br />สามารถวินิจฉัยได้จากลักษณะประวัติอาการ การตรวจ<br />ร่างกายอย่างละเอียด ร่วมกับการตรวจเลือดเพื่อ<br />ประเมินการทำหน้าที่ของไต<br />การวินิจฉัยหาสาเหตุที่ทำให้ไตวายจะช่วยในการวาง<br />แผนการรักษาระยะยาวได้เป็นอย่างดี<br />LAB INVESTIGATION<br /> 5-10 mg/dlLab : BUN (Blood Urea Nitrogen) <br /> 0.5-1.5 mg/dl: Cr (Creatinin) <br />BUN/Cr เป็นของเสียที่เกิดจากการทำลายโปรตีนในร่างกาย<br />:creatinin clearance คือหา Cr ที่ขับออกมาจากปัสสาวะ 24 hrs<br />เทียบกับ Cr ในเลือดทำให้ทราบถึงเลือดที่ผ่านการกรองโดยไต<br />ที่ปริมาณกี่ ml/min ค่าปกติไตจะกรองเลือด 100-200 ml/min<br />ถ้าไตเสื่อมลง 50% ไตจะกรองเลือดได้เพียง 50-60 ml/min<br />: UA – Sp.gr ไตเสื่อมไม่สามารถทำให้ปัสสาวะเข้มข้นได้<br />เพราะฉะนั้นค่า Sp.gr < 1.015<br />- ความเป็นกรดด่าง ไตเสื่อมจะขับกรดออกได้น้อย<br />ดังนั้นปัสสาวะจะเป็นด่างมากกว่าปกติ<br />- โปรตีนหรือไข่ขาว ในปัสสาวะปกติจะมีปริมาณน้อยมากจนตรวจไม่พบคือใน 24 hrs จะมีโปรตีนออกมาน้อยกว่า 150 mg ถ้ามากกว่า 150 mg บอกถึงภาวะไตอักเสบหรือมีการรั่วหรือการดูดกลับบกพร่อง<br />- เม็ดเลือดขาว แสดงถึงการมีภาวะการอักเสบ<br />- เม็ดเลือดแดง แสดงถึงภาวะนิ่ว<br />Ultrasound<br />x-ray<br />การรักษา<br />ข้อควรปฏบัติคือ ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ตามคำแนะนำ<br />ของแพท์อย่างเคร่งครัด<br />1. การรักษาในระยะแรก ส่วนใหญ่จะเป็นการรักษา<br />ด้วยยา จุดประสงค์การรักษาด้วยยาไม่ใช่การรักษาให้<br />เนื้อไตที่เสียไปแล้วกลับสภาพทำงานได้ แต่เพื่อรักษา<br />ปัจจัยต่างๆที่จะทำให้ไตนั้นเสื่อมสภาพลง เช่น<br />ควบคุมความดันโลหิต ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญมาก<br />ถ้าควบคุมความดันให้อยู่ในระดับปกติ จะสามารถชลอ<br />ไม่ให้ไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว<br />2. การล้างไตทางหน้าท้อง ( CAPD : Continous Abdominal Peritoneal Dialysis)<br />3. การฟอกเลือดโดยใช้เครื่องไตเทียม (BUN>100mg/dl,Cr>10mg/dl)<br />4. การผ่าตัดเปลี่ยนไต ผู้ป่วยจำเป็นต้องทานยากดภูมิ<br />ต้านทานตลอดชีวิต ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ<br />การป้องกัน<br />คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย<br />1. การดูแลตนเองที่ดีจะช่วยให้ไตเสื่อมสมรรถภาพได้<br />ช้าลง อาการเริ่มแรกที่บ่งชี้ว่าอาจเป็นโรคในระบบ<br />ทางเดินปัสสาวะ ได้แก่อาการบวมที่หน้า หรือเท้า<br />ปัสสาวะเป็นสีคล้ำ สีน้ำล้างเนื้อ หรือเป็นเลือด<br />ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะในเวลากลางคืนมากกว่า 3 ครั้ง<br />ปวดบริเวณหลัง ชายโครง ปวดหรือเวียนศรีษะ<br />2. นอกจากนี้ควรตรวจเช็คดูว่าเป็นความดันโลหิตสูง<br />เบาหวานและโรคเกาต์ หรือไม่ ถ้าเป็นต้องรักษาอย่าง<br />จริงจังและต่อเนื่อง<br />3. อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไต<br />3.1 อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในระยะ<br />เริ่มแรกถึงระยะรุนแรง ( มีค่า Cr 2-8 )<br />อาหารจำกัดโปรตีน<br />คำว่าจำกัดในที่นี้หมายถึง ให้รับประทานแต่น้อย<br />แต่ไม่ได้ห้ามให้รับประทาน คือให้รับประทานได้<br />วันละ 20-25 gm นั่นคือเนื้อสัตว์ ~4 ชต . หรือ<br />หมูย่าง ~ 4 ไม้ ต้องใช้ควบคู่กับการรับประทาน<br />คู่เหมือนของกรดอะมิโนจำเป็น KA (ketoanalogue<br />Of essential amino acid)<br />หรือกรดอะมิโนจำเป็น EAA(essential amino acid)<br />อาหารที่มีโปรตีนสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ ( วัว หมู ปลา )<br />เครื่องในสัตว์ ไข่ นม ถั่ว<br />อาหารจำกัดโซเดียม<br />ใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการบวม ปัสสาวะน้อย หัวใจวาย<br />น้ำท่วมปอด หรือความดันโลหิตสูง<br />อาหารที่มีโซเดียมสูง ได้แก่ เกลือป่น เกลือเม็ด<br />น้ำปลา น้ำบูดู ซอสหอย อาหารดองเค็ม ดองเปรี้ยว<br />อาหารที่มีรสหวานและเค็มจัดเช่น ปลาหวาน<br />อาหารจำกัดโปตัสเซียม<br />อาหารที่มีโปตัสเซียมสูง เช่น เนื้อสัตว์<br />ผัก ได้แก่ หัวผักกาดสีแสด ผักชี ผักที่มีสีเขียวเข้ม<br />ผลไม้ ได้แก่กล้วย ส้ม แตงโม แตงหอม มะละกอ<br />ผลไม้แห้งทุกชนิด เช่น ลูกเกด ลูกพรุน<br />หากผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังขั้นรุนแรงต้องจำกัดปริมาณน้ำดื่ม<br />ปริมาณน้ำดื่มแต่ละวัน = ปริมาณปัสสาวะของเมื่อวาน +500ml<br />3.2 อาหารสำหรับผู้ป่วยเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่อง<br />ไตเทียม<br />อาหารโปรตีนต่ำ 40gm/day ร่วมกับเสริม<br />กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด<br />พยายามใช้ไข่ขาวและปลาเป็นแหล่งโปรตีน<br />หลีกเลี่ยงเครื่องในสัตว์<br />งดอาหารเค็มจำกัดน้ำ<br />งดผลไม้ ยกเว้นเช้าวันฟอกเลือด<br />งดอาหารที่มีฟอสเฟตสูง เช่น เมล็ดพืช นมสด เนย<br />ไข่แดง<br />รับประทานวิตามินบีรวม ซี และกรดโฟลิค<br />